พบผลลัพธ์ทั้งหมด 42 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 821/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจำหน่ายคดีจากสารบบเนื่องจากคู่ความไม่มาศาลโดยไม่แจ้งเหตุ ศาลต้องพิจารณาเหตุสมควรและให้โอกาสคู่ความหาทนายใหม่
ในวันนัดสืบพยานโจทก์นัดแรก คู่ความทั้งสองฝ่ายไม่มาศาลโดยไม่แจ้งเหตุขัดข้อง ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้จำหน่ายคดีจากสารบบความคำสั่งนี้ไม่มีบทบัญญัติห้ามอุทธรณ์หรือให้เป็นที่สุดเมื่อโจทก์มิได้ยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ โจทก์ย่อมมีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งศาลดังกล่าวนั้นได้
โจทก์ไม่มาศาลเพราะทนายโจทก์ขอถอนตัวโดยตัวความไม่ทราบเรื่องและเข้าใจผิดคิดว่าทนายของตนทำหน้าที่อยู่กรณีดังนี้จะถือว่าโจทก์จงใจขาดนัดไม่ได้ คดีมีเหตุสมควรที่ศาลจะเลื่อนการพิจารณาไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 203
โจทก์ไม่มาศาลเพราะทนายโจทก์ขอถอนตัวโดยตัวความไม่ทราบเรื่องและเข้าใจผิดคิดว่าทนายของตนทำหน้าที่อยู่กรณีดังนี้จะถือว่าโจทก์จงใจขาดนัดไม่ได้ คดีมีเหตุสมควรที่ศาลจะเลื่อนการพิจารณาไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 203
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1692/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งศาลเพิกถอนคำสั่งจำหน่ายคดีที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย: สิทธิในการอุทธรณ์และฎีกา
คำสั่งศาลชั้นต้นที่สั่งให้เพิกถอนคำสั่งจำหน่ายคดี ไม่เป็นคำสั่งระหว่างพิจารณาอันต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 226 (1) จำเลยจึงอุทธรณ์และฎีกาคำสั่งดังกล่าวนี้ได้
ศาลชั้นต้นสั่งจำหน่ายคดีเพราะศาลหลงผิดว่าโจทก์และจำเลยขาดนัดพิจารณา คำสั่งดังกล่าวย่อมไม่มีผลบังคับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 200 และถือได้ว่าเป็นกรณีที่ศาลชั้นต้นไม่ได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ว่าด้วยเรื่องการพิจารณาโดยขาดนัดศาลชั้นต้นจึงมีอำนาจสั่งเพิกถอนการพิจารณาที่ผิดระเบียบโดยหลงผิดนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 27
(วรรคแรก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 16/2516)
ศาลชั้นต้นสั่งจำหน่ายคดีเพราะศาลหลงผิดว่าโจทก์และจำเลยขาดนัดพิจารณา คำสั่งดังกล่าวย่อมไม่มีผลบังคับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 200 และถือได้ว่าเป็นกรณีที่ศาลชั้นต้นไม่ได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ว่าด้วยเรื่องการพิจารณาโดยขาดนัดศาลชั้นต้นจึงมีอำนาจสั่งเพิกถอนการพิจารณาที่ผิดระเบียบโดยหลงผิดนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 27
(วรรคแรก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 16/2516)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1692/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งเพิกถอนคำสั่งจำหน่ายคดี: จำเลยมีสิทธิอุทธรณ์และฎีกาได้หากคำสั่งจำหน่ายคดีเป็นการหลงผิด
คำสั่งศาลชั้นต้นที่สั่งให้เพิกถอนคำสั่งจำหน่ายคดี ไม่เป็นคำสั่งระหว่างพิจารณาอันต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226(1) จำเลยจึงอุทธรณ์และฎีกาคำสั่งดังกล่าวนี้ได้
ศาลชั้นต้นสั่งจำหน่ายคดีเพราะศาลหลงผิดว่าโจทก์และจำเลยขาดนัดพิจารณา คำสั่งดังกล่าวย่อมไม่มีผลบังคับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 200 และถือได้ว่าเป็นกรณีที่ศาลชั้นต้นไม่ได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ว่าด้วยเรื่องการพิจารณาโดยขาดนัดศาลชั้นต้นจึงมีอำนาจสั่งเพิกถอนการพิจารณาที่ผิดระเบียบโดยหลงผิดนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 27 (วรรคแรก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 16/2516)
ศาลชั้นต้นสั่งจำหน่ายคดีเพราะศาลหลงผิดว่าโจทก์และจำเลยขาดนัดพิจารณา คำสั่งดังกล่าวย่อมไม่มีผลบังคับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 200 และถือได้ว่าเป็นกรณีที่ศาลชั้นต้นไม่ได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ว่าด้วยเรื่องการพิจารณาโดยขาดนัดศาลชั้นต้นจึงมีอำนาจสั่งเพิกถอนการพิจารณาที่ผิดระเบียบโดยหลงผิดนั้นได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 27 (วรรคแรก วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 16/2516)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1165/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขาดนัดพิจารณา - สิทธิขอพิจารณาคดีใหม่ - การจำหน่ายคดี - ฟ้องคดีใหม่
เมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้จำหน่ายคดีเพราะโจทก์จำเลยขาดนัดพิจารณา การที่โจทก์ร้องขอให้ศาลดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปหรือขอให้นัดสืบพยานจำเลยซึ่งมีหน้าที่นำสืบก่อนต่อไปโดยอ้างเหตุว่าโจทก์ไม่จงใจขาดนัดนั้น ก็คือการขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่นั่นเอง
คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาโดยไม่จงใจ มีสิทธิขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ได้เฉพาะใน 2 กรณี คือ ในระหว่างการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว ถ้าคู่ความที่ขาดนัดมาศาลภายหลังที่ศาลเริ่มต้นสืบพยานของคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งไปบ้างแล้วและศาลเห็นว่าคู่ความฝ่ายนั้นไม่จงใจขาดนัด หรือมีเหตุอันสมควร ศาลจึงจะสั่งให้พิจารณาคดีใหม่ ซึ่งถ้าเป็นจำเลยขาดนัดพิจารณาโดยขาดนัดยื่นคำให้การด้วยก็ยอมให้ยื่น คำให้การได้ด้วย แต่ถ้าคู่ความที่ขาดนัดพิจารณานั้นคงขาดนัดตลอดไปจนศาลพิจารณาคดีฝ่ายเดียวไปเสร็จสิ้นแล้ว และพิพากษาให้คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาแพ้คดีในประเด็นพิพาทคู่ความซึ่งแพ้คดีโดยไม่จงใจขาดนัด ยังมีสิทธิขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ได้ เว้นแต่จะต้องด้วยข้อห้ามตามกฎหมาย
การขอให้พิจารณาคดีใหม่ใน 2 กรณีดังกล่าวแล้ว กฎหมายกำหนดเวลาที่จะขอให้พิจารณาใหม่ไว้ทั้ง 2 กรณี และการขอให้พิจารณาคดีใหม่จะต้องมีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียวเป็นหลักสำคัญข้อแรก ถ้าคดีไม่มีการพิจารณาฝ่ายเดียวแล้วคู่ความที่ขาดนัดจะขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ไม่ได้ แม้คู่ความฝ่ายนั้นจะไม่จงใจขาดนัดก็ตาม
คำว่า 'ขาดนัดพิจารณา' ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 200 ต้องถือตามมาตรา 197 วรรคสอง ถ้าคู่ความไม่มาศาลในวันที่ศาลเริ่มต้นสืบพยาน.โดยมิได้ขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องต่อศาล มาตรา 197 วรรคสอง ให้ถือว่าคู่ความฝ่ายนั้นขาดนัดพิจารณาโดยไม่มีข้อที่ศาลจะต้องพิจารณาว่า คู่ความฝ่ายนั้นขาดนัดพิจารณาโดยจงใจหรือ ไม่จงใจ เพราะการขาดนัดโดยจงใจหรือไม่จงใจจะ กล่าวอ้างกันได้เฉพาะเมื่อมีการพิจารณาฝ่ายเดียวและมีการขอให้พิจารณาคดีใหม่เท่านั้น
เมื่อโจทก์จำเลยขาดนัดพิจารณาตามมาตรา 197 วรรคสอง และศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้จำหน่ายคดีตามมาตรา 200 เสร็จสิ้นไปแล้ว ย่อมไม่มีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว.อันจะทำให้โจทก์มีสิทธิขอให้พิจารณาคดีใหม่ได้ สิทธิของโจทก์มีอยู่ทางเดียวตามมาตรา 200 วรรคสอง คือ ฟ้องคดีใหม่ภายในอายุความเท่านั้นไม่มีสิทธิร้องขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ เพราะไม่มีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว และที่ มาตรา 200 ให้สิทธิโจทก์ฟ้องใหม่ได้ ย่อมแสดงอยู่แล้วว่าโจทก์ไม่มีสิทธิขอให้พิจารณาใหม่ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 11/2515)
คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาโดยไม่จงใจ มีสิทธิขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ได้เฉพาะใน 2 กรณี คือ ในระหว่างการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว ถ้าคู่ความที่ขาดนัดมาศาลภายหลังที่ศาลเริ่มต้นสืบพยานของคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งไปบ้างแล้วและศาลเห็นว่าคู่ความฝ่ายนั้นไม่จงใจขาดนัด หรือมีเหตุอันสมควร ศาลจึงจะสั่งให้พิจารณาคดีใหม่ ซึ่งถ้าเป็นจำเลยขาดนัดพิจารณาโดยขาดนัดยื่นคำให้การด้วยก็ยอมให้ยื่น คำให้การได้ด้วย แต่ถ้าคู่ความที่ขาดนัดพิจารณานั้นคงขาดนัดตลอดไปจนศาลพิจารณาคดีฝ่ายเดียวไปเสร็จสิ้นแล้ว และพิพากษาให้คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาแพ้คดีในประเด็นพิพาทคู่ความซึ่งแพ้คดีโดยไม่จงใจขาดนัด ยังมีสิทธิขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ได้ เว้นแต่จะต้องด้วยข้อห้ามตามกฎหมาย
การขอให้พิจารณาคดีใหม่ใน 2 กรณีดังกล่าวแล้ว กฎหมายกำหนดเวลาที่จะขอให้พิจารณาใหม่ไว้ทั้ง 2 กรณี และการขอให้พิจารณาคดีใหม่จะต้องมีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียวเป็นหลักสำคัญข้อแรก ถ้าคดีไม่มีการพิจารณาฝ่ายเดียวแล้วคู่ความที่ขาดนัดจะขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ไม่ได้ แม้คู่ความฝ่ายนั้นจะไม่จงใจขาดนัดก็ตาม
คำว่า 'ขาดนัดพิจารณา' ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 200 ต้องถือตามมาตรา 197 วรรคสอง ถ้าคู่ความไม่มาศาลในวันที่ศาลเริ่มต้นสืบพยาน.โดยมิได้ขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องต่อศาล มาตรา 197 วรรคสอง ให้ถือว่าคู่ความฝ่ายนั้นขาดนัดพิจารณาโดยไม่มีข้อที่ศาลจะต้องพิจารณาว่า คู่ความฝ่ายนั้นขาดนัดพิจารณาโดยจงใจหรือ ไม่จงใจ เพราะการขาดนัดโดยจงใจหรือไม่จงใจจะ กล่าวอ้างกันได้เฉพาะเมื่อมีการพิจารณาฝ่ายเดียวและมีการขอให้พิจารณาคดีใหม่เท่านั้น
เมื่อโจทก์จำเลยขาดนัดพิจารณาตามมาตรา 197 วรรคสอง และศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้จำหน่ายคดีตามมาตรา 200 เสร็จสิ้นไปแล้ว ย่อมไม่มีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว.อันจะทำให้โจทก์มีสิทธิขอให้พิจารณาคดีใหม่ได้ สิทธิของโจทก์มีอยู่ทางเดียวตามมาตรา 200 วรรคสอง คือ ฟ้องคดีใหม่ภายในอายุความเท่านั้นไม่มีสิทธิร้องขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ เพราะไม่มีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว และที่ มาตรา 200 ให้สิทธิโจทก์ฟ้องใหม่ได้ ย่อมแสดงอยู่แล้วว่าโจทก์ไม่มีสิทธิขอให้พิจารณาใหม่ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 11/2515)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1165/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดพิจารณาคดี: สิทธิในการฟ้องคดีใหม่ vs. การขอให้พิจารณาคดีใหม่
เมื่อศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้จำหน่ายคดีเพราะโจทก์จำเลยขาดนัดพิจารณา การที่โจทก์ร้องขอให้ศาลดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปหรือขอให้นัดสืบพยานจำเลยซึ่งมีหน้าที่นำสืบก่อนต่อไปโดยอ้างเหตุว่าโจทก์ไม่จงใจขาดนัดนั้น ก็คือการขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่นั่นเอง
คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาโดยไม่จงใจ มีสิทธิขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ได้เฉพาะใน 2 กรณี คือ ในระหว่างการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว ถ้าคู่ความที่ขาดนัดมาศาลภายหลังที่ศาลเริ่มต้นสืบพยานของคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งไปบ้างแล้วและศาลเห็นว่าคู่ความฝ่ายนั้นไม่จงใจขาดนัด หรือมีเหตุอันสมควร ศาลจึงจะสั่งให้พิจารณาคดีใหม่ ซึ่งถ้าเป็นจำเลยขาดนัดพิจารณาโดยขาดนัดยื่นคำให้การด้วยก็ยอมให้ยื่นคำให้การได้ด้วย แต่ถ้าคู่ความที่ขาดนัดพิจารณานั้นคงขาดนัดตลอดไปจนศาลพิจารณาคดีฝ่ายเดียวไปเสร็จสิ้นแล้วและพิพากษาให้คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาแพ้คดีในประเด็นพิพาทคู่ความซึ่งแพ้คดีโดยไม่จงใจขาดนัด ยังมีสิทธิขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ได้ เว้นแต่จะต้องด้วยข้อห้ามตามกฎหมาย
การขอให้พิจารณาคดีใหม่ใน 2 กรณีดังกล่าวแล้ว กฎหมายกำหนดเวลาที่จะขอให้พิจารณาใหม่ไว้ทั้ง 2 กรณี และการขอให้พิจารณาคดีใหม่จะต้องมีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียวเป็นหลักสำคัญข้อแรก ถ้าคดีไม่มีการพิจารณาฝ่ายเดียวแล้วคู่ความที่ขาดนัดจะขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ไม่ได้ แม้คู่ความฝ่ายนั้นจะไม่จงใจขาดนัดก็ตาม
คำว่า 'ขาดนัดพิจารณา' ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 200 ต้องถือตามมาตรา 197 วรรคสอง ถ้าคู่ความไม่มาศาลในวันที่ศาลเริ่มต้นสืบพยาน.โดยมิได้ขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องต่อศาล มาตรา 197 วรรคสอง ให้ถือว่าคู่ความฝ่ายนั้นขาดนัดพิจารณา โดยไม่มีข้อที่ศาลจะต้องพิจารณาว่า คู่ความฝ่ายนั้นขาดนัดพิจารณาโดยจงใจหรือ ไม่จงใจเพราะการขาดนัดโดยจงใจหรือไม่จงใจ จะกล่าวอ้างกันได้เฉพาะเมื่อมีการพิจารณาฝ่ายเดียวและมีการขอให้พิจารณาคดีใหม่เท่านั้น
เมื่อโจทก์จำเลยขาดนัดพิจารณาตามมาตรา 197 วรรคสองและศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้จำหน่ายคดีตามมาตรา 200 เสร็จสิ้นไปแล้ว ย่อมไม่มีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว.อันจะทำให้โจทก์มีสิทธิขอให้พิจารณาคดีใหม่ได้ สิทธิของโจทก์มีอยู่ทางเดียวตามมาตรา 200 วรรคสอง คือ ฟ้องคดีใหม่ภายในอายุความเท่านั้นไม่มีสิทธิร้องขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ เพราะไม่มีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว และที่ มาตรา 200 ให้สิทธิโจทก์ฟ้องใหม่ได้ ย่อมแสดงอยู่แล้วว่าโจทก์ไม่มีสิทธิขอให้พิจารณาใหม่
(วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 11/2515)
คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาโดยไม่จงใจ มีสิทธิขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ได้เฉพาะใน 2 กรณี คือ ในระหว่างการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว ถ้าคู่ความที่ขาดนัดมาศาลภายหลังที่ศาลเริ่มต้นสืบพยานของคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งไปบ้างแล้วและศาลเห็นว่าคู่ความฝ่ายนั้นไม่จงใจขาดนัด หรือมีเหตุอันสมควร ศาลจึงจะสั่งให้พิจารณาคดีใหม่ ซึ่งถ้าเป็นจำเลยขาดนัดพิจารณาโดยขาดนัดยื่นคำให้การด้วยก็ยอมให้ยื่นคำให้การได้ด้วย แต่ถ้าคู่ความที่ขาดนัดพิจารณานั้นคงขาดนัดตลอดไปจนศาลพิจารณาคดีฝ่ายเดียวไปเสร็จสิ้นแล้วและพิพากษาให้คู่ความที่ขาดนัดพิจารณาแพ้คดีในประเด็นพิพาทคู่ความซึ่งแพ้คดีโดยไม่จงใจขาดนัด ยังมีสิทธิขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ได้ เว้นแต่จะต้องด้วยข้อห้ามตามกฎหมาย
การขอให้พิจารณาคดีใหม่ใน 2 กรณีดังกล่าวแล้ว กฎหมายกำหนดเวลาที่จะขอให้พิจารณาใหม่ไว้ทั้ง 2 กรณี และการขอให้พิจารณาคดีใหม่จะต้องมีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียวเป็นหลักสำคัญข้อแรก ถ้าคดีไม่มีการพิจารณาฝ่ายเดียวแล้วคู่ความที่ขาดนัดจะขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ไม่ได้ แม้คู่ความฝ่ายนั้นจะไม่จงใจขาดนัดก็ตาม
คำว่า 'ขาดนัดพิจารณา' ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 200 ต้องถือตามมาตรา 197 วรรคสอง ถ้าคู่ความไม่มาศาลในวันที่ศาลเริ่มต้นสืบพยาน.โดยมิได้ขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องต่อศาล มาตรา 197 วรรคสอง ให้ถือว่าคู่ความฝ่ายนั้นขาดนัดพิจารณา โดยไม่มีข้อที่ศาลจะต้องพิจารณาว่า คู่ความฝ่ายนั้นขาดนัดพิจารณาโดยจงใจหรือ ไม่จงใจเพราะการขาดนัดโดยจงใจหรือไม่จงใจ จะกล่าวอ้างกันได้เฉพาะเมื่อมีการพิจารณาฝ่ายเดียวและมีการขอให้พิจารณาคดีใหม่เท่านั้น
เมื่อโจทก์จำเลยขาดนัดพิจารณาตามมาตรา 197 วรรคสองและศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้จำหน่ายคดีตามมาตรา 200 เสร็จสิ้นไปแล้ว ย่อมไม่มีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว.อันจะทำให้โจทก์มีสิทธิขอให้พิจารณาคดีใหม่ได้ สิทธิของโจทก์มีอยู่ทางเดียวตามมาตรา 200 วรรคสอง คือ ฟ้องคดีใหม่ภายในอายุความเท่านั้นไม่มีสิทธิร้องขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่ เพราะไม่มีการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว และที่ มาตรา 200 ให้สิทธิโจทก์ฟ้องใหม่ได้ ย่อมแสดงอยู่แล้วว่าโจทก์ไม่มีสิทธิขอให้พิจารณาใหม่
(วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 11/2515)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 42/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคดีใหม่หลังขาดนัด - พฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้ - การส่งคำบังคับ
ศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดีไปโดยจำเลยขาดนัด จำเลยร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่ เมื่อปรากฎว่าจำเลยมิได้จงใจขาดนัดและศาลชั้นต้นสั่งให้พิจารณาคดีใหม่ คำสั่งนี้เป็นคำสั่งภายหลังเมื่อศาลพิพากษาแล้ว ฉะนั้น จึงไม่เป็นคำสั่งในระหว่างพิจารณา โจทก์ย่อมอุทธรณ์ฎีกาได้
การที่จำเลยไปอยู่ต่างประเทศโดยไม่ทราบว่าตนถูกฟ้องและถูกศาลพิพากษาให้แพ้คดีย่อมถือได้ว่าเป็นพฤติการณ์นอกเหนือที่ไม่อาจบังคับได้ จำเลยจึงอาจยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208
การที่จำเลยไปอยู่ต่างประเทศโดยไม่ทราบว่าตนถูกฟ้องและถูกศาลพิพากษาให้แพ้คดีย่อมถือได้ว่าเป็นพฤติการณ์นอกเหนือที่ไม่อาจบังคับได้ จำเลยจึงอาจยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 208
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 42/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคดีใหม่เมื่อจำเลยขาดนัดโดยมีเหตุสุดวิสัยและยื่นคำขอภายในกรอบเวลาที่กฎหมายกำหนด
ศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดีไปโดยจำเลยขาดนัด จำเลยร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่เมื่อปรากฏว่าจำเลยมิได้จงใจขาดนัดและศาลชั้นต้นสั่งให้พิจารณาใหม่ คำสั่งนี้เป็นคำสั่งภายหลังเมื่อศาลพิพากษาแล้ว ฉะนั้น จึงไม่เป็นคำสั่งในระหว่างพิจารณา โจทก์ย่อมอุทธรณ์ฎีกาได้
การที่จำเลยไปอยู่ต่างประเทศโดยไม่ทราบว่าตนถูกฟ้องและถูกศาลพิพากษาให้แพ้คดี ย่อมถือได้ว่าเป็นพฤติการณ์นอกเหนือที่ไม่อาจบังคับได้ จำเลยจึงอาจยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 208
การที่จำเลยไปอยู่ต่างประเทศโดยไม่ทราบว่าตนถูกฟ้องและถูกศาลพิพากษาให้แพ้คดี ย่อมถือได้ว่าเป็นพฤติการณ์นอกเหนือที่ไม่อาจบังคับได้ จำเลยจึงอาจยื่นคำขอให้พิจารณาใหม่ได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 208
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 863/2504 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดพิจารณาเมื่อส่งประเด็นไปสืบพยาน แม้แถลงจะตามประเด็นไปแล้ว การไม่ไปถือเป็นการสละสิทธิ์ ไม่ใช่ขาดนัด
วันที่ศาลเริ่มต้นทำการสืบพยานเป็นวันแรกในคดีนั้น คู่ความฝ่ายใดไม่มาศาล ไม่ว่าตนจะมีหน้าที่นำพยานเข้าสืบหรือไม่ก็ตาม ก็เป็นการขาดนัดพิจารณาตามความหมายแพ่งกฎหมายแล้ว
การส่งประเด็นไปสืบพยานนั้นเป็นสิทธิของคู่ความที่จะตามประเด็นไปหรือไม่ไปก็ได้ ฉะนั้น แม้จะได้แถลงต่อศาลว่าจะตามประเด็นไป แต่แล้วต่อมามิได้ไปตามกำหนดนัด ก็หาทำให้เป็นผู้ขาดนัดพิจารณาไม่
ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 19/2504
การส่งประเด็นไปสืบพยานนั้นเป็นสิทธิของคู่ความที่จะตามประเด็นไปหรือไม่ไปก็ได้ ฉะนั้น แม้จะได้แถลงต่อศาลว่าจะตามประเด็นไป แต่แล้วต่อมามิได้ไปตามกำหนดนัด ก็หาทำให้เป็นผู้ขาดนัดพิจารณาไม่
ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 19/2504
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1318/2495
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกเฉยไม่ดำเนินคดี: ศาลมีอำนาจจำหน่ายคดีได้เมื่อโจทก์ละเลย
การที่โจทก์ไม่มาศาลในวันนัดพร้อมกันนั้น จะเรียกว่าโจทก์ขาดนัดพิจารณาไม่ได้
โจทก์จำเลยขอให้ศาลงดการพิจารณาไว้รอฟังผลของอีกคดีหนึ่ง เมื่อคดีนั้นได้ผลอย่างใดจะมาแถลงให้ศาลทราบ ครั้นเมื่อคดีนั้นพิพากษาถึงที่สุดแล้ว โจทก์ก็หาได้กระทำประการใดไม่ จนเวลาล่วงเลยไปร่วมปี และซ้ำเมื่อจำเลยยื่นคำแถลงให้ศาลทราบ ศาลนัดโจทก์จำเลยมาพร้อมกันโจทก์ได้รับหมายแล้ว ก็ยังหามาศาลไม่การละเลยของโจทก์ เช่นนี้ เรียกได้ว่า โจทก์เพิกเฉยไม่ดำเนินคดีได้แล้วและถือว่าเป็นการเพิกเฉยไม่ดำเนินคดีภายในเวลาตามที่ศาลเห็นสมควรกำหนดตามความในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 174(2) ด้วยซึ่งศาลมีอำนาจสั่งจำหน่ายคดีโจทก์เสียได้แล้ว
อำนาจสั่งจำหน่ายคดีนั้นกฎหมายให้ศาลไว้เพื่อใช้ตามควรแก่กรณี ไม่ใช่บังคับว่าจะต้องจำหน่ายเสมอไป ศาลย่อมพิจารณาตามสมควรแก่พฤติการณ์(อ้างคำสั่งคำร้องฎีกาที่ 57/2493) ฉะนั้นอำนาจที่จะสั่งนั้นอย่างหนึ่งสมควรสั่งหรือไม่นั้นอีกอย่างหนึ่ง
โจทก์จำเลยขอให้ศาลงดการพิจารณาไว้รอฟังผลของอีกคดีหนึ่ง เมื่อคดีนั้นได้ผลอย่างใดจะมาแถลงให้ศาลทราบ ครั้นเมื่อคดีนั้นพิพากษาถึงที่สุดแล้ว โจทก์ก็หาได้กระทำประการใดไม่ จนเวลาล่วงเลยไปร่วมปี และซ้ำเมื่อจำเลยยื่นคำแถลงให้ศาลทราบ ศาลนัดโจทก์จำเลยมาพร้อมกันโจทก์ได้รับหมายแล้ว ก็ยังหามาศาลไม่การละเลยของโจทก์ เช่นนี้ เรียกได้ว่า โจทก์เพิกเฉยไม่ดำเนินคดีได้แล้วและถือว่าเป็นการเพิกเฉยไม่ดำเนินคดีภายในเวลาตามที่ศาลเห็นสมควรกำหนดตามความในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 174(2) ด้วยซึ่งศาลมีอำนาจสั่งจำหน่ายคดีโจทก์เสียได้แล้ว
อำนาจสั่งจำหน่ายคดีนั้นกฎหมายให้ศาลไว้เพื่อใช้ตามควรแก่กรณี ไม่ใช่บังคับว่าจะต้องจำหน่ายเสมอไป ศาลย่อมพิจารณาตามสมควรแก่พฤติการณ์(อ้างคำสั่งคำร้องฎีกาที่ 57/2493) ฉะนั้นอำนาจที่จะสั่งนั้นอย่างหนึ่งสมควรสั่งหรือไม่นั้นอีกอย่างหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 249/2489
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การไม่ไปศาลของผู้คัดค้านการเลือกตั้งและการดำเนินการตามกระบวนการสอบสวนของศาล
คดีคัดค้านการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร ผู้คัดค้านไม่ไปศาลในวันนัดสืบพะยานครั้งแรก แต่ได้ยื่นคำร้องขอเลื่อนคดีและขอให้ศาลซึ่งตนมีภูมิลำเนาโทรเลขขอเลื่อนและส่งคำร้องไปยังศาลเจ้าของคดีก่อนวันนัดหนึ่งวันดังนี้ ศาลฎีกาสั่งให้ศาลชั้นต้นสอบสวนแล้วสั่งตามกระบวนความ