พบผลลัพธ์ทั้งหมด 124 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1049/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ธนาคารไม่ใช่พ่อค้าตาม ปพพ.มาตรา 165(1) อายุความฟ้อง 2 ปีไม่ใช้กับคดีนี้ สัญญาค้ำประกันไม่ปิดอากรแสตมป์ใช้ได้
คำว่าพ่อค้าตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 165(1) ต้องถือตามความรู้สึกของประชาชนธรรมดาทั่วๆ ไป เข้าใจกัน คือหมายถึงบุคคลที่ประกอบการค้าโดยทำการซื้อสินค้ามาแล้วขายไปเป็นปกติธุระ ไม่หมายความถึงผู้ประกอบการค้า ซึ่งไม่ได้ทำการซื้อและขายสินค้า ธนาคารพาณิชย์ซึ่งประกอบกิจการตามพระราชบัญญัติการธนาคารพาณิชย์ ไม่ใช่พ่อค้าตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(1) จึงไม่อยู่ในบังคับอายุความ 2 ปีตามบทมาตราดังกล่าว
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทำสัญญาค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้องจำเลยให้การรับว่า ลงชื่อเป็นผู้ค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้องจริง แต่ต่อสู้ว่าลงชื่อในฐานะกรรมการกระทำการแทนบริษัทนิติบุคคล ไม่มีเจตนาค้ำประกันเป็นส่วนตัว ตามคำให้การจำเลยถือได้ว่า จำเลยรับว่าได้ทำสัญญาค้ำประกันจริง แม้สัญญาค้ำประกันนั้นจะมิได้ปิดอากรแสตมป์ ซึ่งตามประมวลรัษฎากรห้ามรับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่ง คดีก็ไม่จำเป็นต้องอาศัยสัญญาค้ำประกันเป็นพยานหลักฐาน เพราะมีประเด็นแต่เพียงว่าจำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันเป็นส่วนตัวหรือไม่
การผ่อนเวลาชำระหนี้ให้แก่ลูกหนี้ซึ่งทำให้ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดนั้น จะต้องมีการตกลงผ่อนเวลากันแน่นอนและมีผลว่า ในระหว่างผ่อนเวลานั้นเจ้าหนี้จะใช้สิทธิเรียกร้องหรือฟ้องร้องมิได้ หากเพียงแต่เมื่อหนี้ถึงกำหนดชำระ เจ้าหนี้ไม่ได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้ยังถือไม่ได้ว่า เป็นการผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้ เพราะเจ้าหนี้อาจใช้สิทธิเรียกร้องเมื่อไรก็ได้
การที่หนี้ถึงกำหนดชำระแล้ว เจ้าหนี้ปล่อยเวลาให้ล่วงเลยมานานโดยมิได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้นั้น เป็นสิทธิของเจ้าหนี้โดยชอบ มิใช่เป็นการกระทำละเมิดต่อผู้ค้ำประกัน (ข้อกฎหมายตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 11/2512)
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทำสัญญาค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้องจำเลยให้การรับว่า ลงชื่อเป็นผู้ค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้องจริง แต่ต่อสู้ว่าลงชื่อในฐานะกรรมการกระทำการแทนบริษัทนิติบุคคล ไม่มีเจตนาค้ำประกันเป็นส่วนตัว ตามคำให้การจำเลยถือได้ว่า จำเลยรับว่าได้ทำสัญญาค้ำประกันจริง แม้สัญญาค้ำประกันนั้นจะมิได้ปิดอากรแสตมป์ ซึ่งตามประมวลรัษฎากรห้ามรับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่ง คดีก็ไม่จำเป็นต้องอาศัยสัญญาค้ำประกันเป็นพยานหลักฐาน เพราะมีประเด็นแต่เพียงว่าจำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันเป็นส่วนตัวหรือไม่
การผ่อนเวลาชำระหนี้ให้แก่ลูกหนี้ซึ่งทำให้ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดนั้น จะต้องมีการตกลงผ่อนเวลากันแน่นอนและมีผลว่า ในระหว่างผ่อนเวลานั้นเจ้าหนี้จะใช้สิทธิเรียกร้องหรือฟ้องร้องมิได้ หากเพียงแต่เมื่อหนี้ถึงกำหนดชำระ เจ้าหนี้ไม่ได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้ยังถือไม่ได้ว่า เป็นการผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้ เพราะเจ้าหนี้อาจใช้สิทธิเรียกร้องเมื่อไรก็ได้
การที่หนี้ถึงกำหนดชำระแล้ว เจ้าหนี้ปล่อยเวลาให้ล่วงเลยมานานโดยมิได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้นั้น เป็นสิทธิของเจ้าหนี้โดยชอบ มิใช่เป็นการกระทำละเมิดต่อผู้ค้ำประกัน (ข้อกฎหมายตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 11/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1049/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ธนาคารพาณิชย์ไม่ใช่พ่อค้าตามประมวลกฎหมายแพ่งฯ อายุความฟ้องคดีไม่ขาด การผ่อนเวลาชำระหนี้ไม่ถือเป็นการละเมิด
คำว่าพ่อค้าตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 165(1) ต้องถือตามความรู้สึกของประชาชนธรรมดาทั่วๆ ไป เข้าใจกัน. คือหมายถึงบุคคลที่ประกอบการค้าโดยทำการซื้อสินค้ามาแล้วขายไปเป็นปกติธุระ. ไม่หมายความถึงผู้ประกอบการค้า ซึ่งไม่ได้ทำการซื้อและขายสินค้า.ธนาคารพาณิชย์ซึ่งประกอบกิจการตามพระราชบัญญัติการธนาคารพาณิชย์. ไม่ใช่พ่อค้าตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 165(1). จึงไม่อยู่ในบังคับอายุความ 2 ปีตามบทมาตราดังกล่าว.
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทำสัญญาค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้อง. จำเลยให้การรับว่า ลงชื่อเป็นผู้ค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้องจริง. แต่ต่อสู้ว่าลงชื่อในฐานะกรรมการกระทำการแทนบริษัทนิติบุคคล. ไม่มีเจตนาค้ำประกันเป็นส่วนตัว. ตามคำให้การจำเลยถือได้ว่า จำเลยรับว่าได้ทำสัญญาค้ำประกันจริง. แม้สัญญาค้ำประกันนั้นจะมิได้ปิดอากรแสตมป์. ซึ่งตามประมวลรัษฎากรห้ามรับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่ง. คดีก็ไม่จำเป็นต้องอาศัยสัญญาค้ำประกันเป็นพยานหลักฐาน. เพราะมีประเด็นแต่เพียงว่าจำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันเป็นส่วนตัวหรือไม่.
การผ่อนเวลาชำระหนี้ให้แก่ลูกหนี้ซึ่งทำให้ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดนั้น. จะต้องมีการตกลงผ่อนเวลากันแน่นอนและมีผลว่า ในระหว่างผ่อนเวลานั้นเจ้าหนี้จะใช้สิทธิเรียกร้องหรือฟ้องร้องมิได้. หากเพียงแต่เมื่อหนี้ถึงกำหนดชำระ เจ้าหนี้ไม่ได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้.ยังถือไม่ได้ว่า. เป็นการผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้.เพราะเจ้าหนี้อาจใช้สิทธิเรียกร้องเมื่อไรก็ได้.
การที่หนี้ถึงกำหนดชำระแล้ว. เจ้าหนี้ปล่อยเวลาให้ล่วงเลยมานานโดยมิได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้นั้น.เป็นสิทธิของเจ้าหนี้โดยชอบ. มิใช่เป็นการกระทำละเมิดต่อผู้ค้ำประกัน. (ข้อกฎหมายตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่11/2512).
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยทำสัญญาค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้อง. จำเลยให้การรับว่า ลงชื่อเป็นผู้ค้ำประกันตามสำเนาเอกสารท้ายฟ้องจริง. แต่ต่อสู้ว่าลงชื่อในฐานะกรรมการกระทำการแทนบริษัทนิติบุคคล. ไม่มีเจตนาค้ำประกันเป็นส่วนตัว. ตามคำให้การจำเลยถือได้ว่า จำเลยรับว่าได้ทำสัญญาค้ำประกันจริง. แม้สัญญาค้ำประกันนั้นจะมิได้ปิดอากรแสตมป์. ซึ่งตามประมวลรัษฎากรห้ามรับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่ง. คดีก็ไม่จำเป็นต้องอาศัยสัญญาค้ำประกันเป็นพยานหลักฐาน. เพราะมีประเด็นแต่เพียงว่าจำเลยได้ทำสัญญาค้ำประกันเป็นส่วนตัวหรือไม่.
การผ่อนเวลาชำระหนี้ให้แก่ลูกหนี้ซึ่งทำให้ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดนั้น. จะต้องมีการตกลงผ่อนเวลากันแน่นอนและมีผลว่า ในระหว่างผ่อนเวลานั้นเจ้าหนี้จะใช้สิทธิเรียกร้องหรือฟ้องร้องมิได้. หากเพียงแต่เมื่อหนี้ถึงกำหนดชำระ เจ้าหนี้ไม่ได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้.ยังถือไม่ได้ว่า. เป็นการผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้.เพราะเจ้าหนี้อาจใช้สิทธิเรียกร้องเมื่อไรก็ได้.
การที่หนี้ถึงกำหนดชำระแล้ว. เจ้าหนี้ปล่อยเวลาให้ล่วงเลยมานานโดยมิได้เรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้นั้น.เป็นสิทธิของเจ้าหนี้โดยชอบ. มิใช่เป็นการกระทำละเมิดต่อผู้ค้ำประกัน. (ข้อกฎหมายตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่11/2512).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1958/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยกข้อต่อสู้เรื่องสัญญาประนีประนอมยอมความระงับหนี้ค้ำประกัน: การให้การไม่ชัดเจนทำให้ประเด็นไม่เกิด
คำให้การของจำเลยมิได้กล่าวโดยชัดแจ้งว่าสัญญาประนีประนอมระหว่างโจทก์กับลูกหนี้ในคดีเรื่องก่อน ทำให้หนี้ตามสัญญากู้ระงับสิ้นไป อันทำให้จำเลยผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 คำให้การจำเลยกล่าวแต่เพียงว่าสัญญาประนีประนอมยอมผ่อนเวลาชำระหนี้ให้แก่ ส. ลูกหนี้ทำให้จำเลยหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 700 เท่านั้น ยิ่งกว่านั้น ในการชี้สองสถาน จำเลยยังแถลงรับว่า ที่จำเลยไม่ต้องรับผิดก็เพราะโจทก์ยอมผ่อนเวลาให้ ส. โดยจำเลยมิได้ยินยอม การที่โจทก์นำคดีมาฟ้องจำเลยอีกทั้งที่โจทก์ได้ฟ้อง ส. และทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันแล้ว ย่อมเป็นฟ้องซ้ำ ดังนี้ คำแถลงรับของจำเลยประกอบคำให้การสู้คดี ทำให้เห็นได้ชัดแจ้งว่า จำเลยมิได้ประสงค์จะยกประเด็นข้อกฎหมายว่าสัญญาประนีประนอมยอมความทำให้หนี้เดิมระงับ อันทำให้ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 ขึ้นสู้คดี จำเลยจึงมิได้บรรยายไว้โดยชัดแจ้งในคำให้การเพียงแต่จำเลยสรุปไว้ท้ายคำให้การว่า จำเลยไม่ต้องรับผิดโดยหลักกฎหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 698, 850, 851, 852 ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 177 จึงไม่ทำให้เกิดประเด็นข้อนี้
เมื่อถือว่าจำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่าสัญญาประนีประนอมยอมความทำให้หนี้เดิมระงับ ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 แล้ว การที่ศาลชั้นต้นหยิบยกประเด็นข้อนี้ขึ้นวินิจฉัยยกฟ้องโจทก์ จึงเป็นการนอกประเด็น คู่ความจะยกประเด็นข้อนี้ขึ้นอุทธรณ์ฎีกาต่อมาไม่ได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 25/2511)
เมื่อถือว่าจำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่าสัญญาประนีประนอมยอมความทำให้หนี้เดิมระงับ ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 แล้ว การที่ศาลชั้นต้นหยิบยกประเด็นข้อนี้ขึ้นวินิจฉัยยกฟ้องโจทก์ จึงเป็นการนอกประเด็น คู่ความจะยกประเด็นข้อนี้ขึ้นอุทธรณ์ฎีกาต่อมาไม่ได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 25/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1958/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การให้การต่อสู้คดีของผู้ค้ำประกัน และผลของการไม่ยกประเด็นระงับหนี้ตามสัญญาประนีประนอม
คำให้การของจำเลยมิได้กล่าวโดยชัดแจ้งว่าสัญญาประนีประนอมระหว่างโจทก์กับลูกหนี้ในคดีเรื่องก่อน ทำให้หนี้ตามสัญญากู้ระงับสิ้นไป อันทำให้จำเลยผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 คำให้การจำเลยกล่าวแต่เพียงว่าสัญญาประนีประนอมยอมผ่อนเวลาชำระหนี้ให้แก่ ส. ลูกหนี้ทำให้จำเลยหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 700 เท่านั้น ยิ่งกว่านั้น ในการชี้สองสถาน จำเลยยังแถลงรับว่า ที่จำเลยไม่ต้องรับผิดก็เพราะโจทก์ยอมผ่อนเวลาให้ ส. โดยจำเลยมิได้ยินยอม การที่โจทก์นำคดีมาฟ้องจำเลยอีกทั้งที่โจทก์ได้ฟ้อง ส. และทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันแล้ว ย่อมเป็นฟ้องซ้ำ ดังนี้ คำแถลงรับของจำเลยประกอบคำให้การสู้คดี ทำให้เห็นได้ชัดแจ้งว่า จำเลยมิได้ประสงค์จะยกประเด็นข้อกฎหมายว่าสัญญาประนีประนอมยอมความทำให้หนี้เดิมระงับ อันทำให้ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 ขึ้นสู้คดี จำเลยจึงมิได้บรรยายไว้โดยชัดแจ้งในคำให้การเพียงแต่จำเลยสรุปไว้ท้ายคำให้การว่า จำเลยไม่ต้องรับผิดโดยหลักกฎหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 698,850,851,852 ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 177 จึงไม่ทำให้เกิดประเด็นข้อนี้
เมื่อถือว่าจำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่าสัญญาประนีประนอมยอมความทำให้หนี้เดิมระงับ ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 แล้วการที่ศาลชั้นต้นหยิบยกประเด็นข้อนี้ขึ้นวินิจฉัยยกฟ้องโจทก์ จึงเป็นการนอกประเด็น คู่ความจะยกประเด็นข้อนี้ขึ้นอุทธรณ์ฎีกาต่อมาไม่ได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 25/2511)
เมื่อถือว่าจำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่าสัญญาประนีประนอมยอมความทำให้หนี้เดิมระงับ ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 แล้วการที่ศาลชั้นต้นหยิบยกประเด็นข้อนี้ขึ้นวินิจฉัยยกฟ้องโจทก์ จึงเป็นการนอกประเด็น คู่ความจะยกประเด็นข้อนี้ขึ้นอุทธรณ์ฎีกาต่อมาไม่ได้
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 25/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1958/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การให้การของผู้ค้ำประกัน สัญญาประนีประนอม และประเด็นข้อกฎหมายที่มิได้ยกขึ้นต่อสู้ การวินิจฉัยนอกประเด็น
คำให้การของจำเลยมิได้กล่าวโดยชัดแจ้งว่าสัญญาประนีประนอมระหว่างโจทก์กับลูกหนี้ในคดีเรื่องก่อน ทำให้หนี้ตามสัญญากู้ระงับสิ้นไป อันทำให้จำเลยผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698. คำให้การจำเลยกล่าวแต่เพียงว่าสัญญาประนีประนอมยอมผ่อนเวลาชำระหนี้ให้แก่ ส. ลูกหนี้.ทำให้จำเลยหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 700 เท่านั้น. ยิ่งกว่านั้น ในการชี้สองสถาน จำเลยยังแถลงรับว่า ที่จำเลยไม่ต้องรับผิดก็เพราะโจทก์ยอมผ่อนเวลาให้ ส. โดยจำเลยมิได้ยินยอม. การที่โจทก์นำคดีมาฟ้องจำเลยอีกทั้งที่โจทก์ได้ฟ้อง ส. และทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันแล้ว ย่อมเป็นฟ้องซ้ำ. ดังนี้ คำแถลงรับของจำเลยประกอบคำให้การสู้คดี ทำให้เห็นได้ชัดแจ้งว่า จำเลยมิได้ประสงค์จะยกประเด็นข้อกฎหมายว่าสัญญาประนีประนอมยอมความทำให้หนี้เดิมระงับ. อันทำให้ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 ขึ้นสู้คดี. จำเลยจึงมิได้บรรยายไว้โดยชัดแจ้งในคำให้การเพียงแต่จำเลยสรุปไว้ท้ายคำให้การว่า จำเลยไม่ต้องรับผิดโดยหลักกฎหมายแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 698,850,851,852. ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 177 จึงไม่ทำให้เกิดประเด็นข้อนี้.
เมื่อถือว่าจำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่าสัญญาประนีประนอมยอมความทำให้หนี้เดิมระงับ ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 แล้ว. การที่ศาลชั้นต้นหยิบยกประเด็นข้อนี้ขึ้นวินิจฉัยยกฟ้องโจทก์ จึงเป็นการนอกประเด็น. คู่ความจะยกประเด็นข้อนี้ขึ้นอุทธรณ์ฎีกาต่อมาไม่ได้. (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 25/2511).
เมื่อถือว่าจำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่าสัญญาประนีประนอมยอมความทำให้หนี้เดิมระงับ ผู้ค้ำประกันหลุดพ้นจากความรับผิดตามมาตรา 698 แล้ว. การที่ศาลชั้นต้นหยิบยกประเด็นข้อนี้ขึ้นวินิจฉัยยกฟ้องโจทก์ จึงเป็นการนอกประเด็น. คู่ความจะยกประเด็นข้อนี้ขึ้นอุทธรณ์ฎีกาต่อมาไม่ได้. (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 25/2511).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1853/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เช็คโดยชอบ แม้ผู้สั่งจ่ายไม่มีเงินฝาก ผู้สลักหลัง/อาวัลร่วมรับผิด แม้มีการถอนฟ้องคดีอาญา
ผู้สั่งจ่ายเช็คไม่มีเงินฝากธนาคาร แต่ออกเช็คโดยใช้แบบพิมพ์เช็คของบุคคลอื่นเมื่อทำเป็นหนังสือตราสารซึ่งมีรายการครบถ้วนบริบูรณ์ตามลักษณะที่บัญญัติไว้ในมาตรา 987, 988 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ย่อมเป็นเช็คโดยชอบหากผู้ทรงนำไปขึ้นเงินจากธนาคารไม่ได้ ผู้สั่งจ่ายและผู้สลักหลังหรือผู้รับประกันด้วยอาวัลย่อมต้องร่วมกันรับผิดต่อผู้ทรง
การที่ผู้ทรงเช็คเคยฟ้องผู้สั่งจ่ายเป็นคดีอาญา แล้วถอนฟ้องเสีย โดยยอมผ่อนเวลาให้ผู้สั่งจ่ายใช้เงินตามเช็คนั้น ไม่เป็นเหตุให้ผู้สลักหลังหรือรับประกันด้วยอาวัลหลุดพ้นจากความรับผิด เพราะต้องร่วมกันรับผิดต่อผู้ทรง
(ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยตามแนวคำพิพากษาฎีกาที่ 1017/2507 ซึ่งวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่)
การที่ผู้ทรงเช็คเคยฟ้องผู้สั่งจ่ายเป็นคดีอาญา แล้วถอนฟ้องเสีย โดยยอมผ่อนเวลาให้ผู้สั่งจ่ายใช้เงินตามเช็คนั้น ไม่เป็นเหตุให้ผู้สลักหลังหรือรับประกันด้วยอาวัลหลุดพ้นจากความรับผิด เพราะต้องร่วมกันรับผิดต่อผู้ทรง
(ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยตามแนวคำพิพากษาฎีกาที่ 1017/2507 ซึ่งวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1853/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เช็คที่ออกโดยไม่มีเงินฝากแต่มีรายการครบถ้วนสมบูรณ์ ผู้สั่งจ่ายและผู้สลักหลังต้องรับผิดร่วมกันต่อผู้ทรง
ผู้สั่งจ่ายเช็คไม่มีเงินฝากธนาคาร แต่ออกเช็คโดยใช้แบบพิมพ์เช็คของบุคคลอื่นเมื่อทำเป็นหนังสือตราสารซึ่งมีรายการครบถ้วนบริบูรณ์ตามลักษณะที่บัญญัติไว้ในมาตรา 987,988 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ย่อมเป็นเช็คโดยชอบหากผู้ทรงนำไปขึ้นเงินจากธนาคารไม่ได้ ผู้สั่งจ่ายและผู้สลักหลังหรือผู้รับประกันด้วยอาวัลย่อมต้องร่วมกันรับผิดต่อผู้ทรง
การที่ผู้ทรงเช็คเคยฟ้องผู้สั่งจ่ายเป็นคดีอาญา แล้วถอนฟ้องเสีย โดยยอมผ่อนเวลาให้ผู้สั่งจ่ายใช้เงินตามเช็คนั้น ไม่เป็นเหตุให้ผู้สลักหลังหรือรับประกันด้วยอาวัลหลุดพ้นจากความรับผิด เพราะต้องร่วมกันรับผิดต่อผู้ทรง (ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยตามแนวคำพิพากษาฎีกาที่ 1017/2507 ซึ่งวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่)
การที่ผู้ทรงเช็คเคยฟ้องผู้สั่งจ่ายเป็นคดีอาญา แล้วถอนฟ้องเสีย โดยยอมผ่อนเวลาให้ผู้สั่งจ่ายใช้เงินตามเช็คนั้น ไม่เป็นเหตุให้ผู้สลักหลังหรือรับประกันด้วยอาวัลหลุดพ้นจากความรับผิด เพราะต้องร่วมกันรับผิดต่อผู้ทรง (ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยตามแนวคำพิพากษาฎีกาที่ 1017/2507 ซึ่งวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1853/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เช็คโดยชอบแม้ไม่มีเงินฝาก ผู้สั่งจ่ายและผู้สลักหลังร่วมรับผิดต่อผู้ทรง
ผู้สั่งจ่ายเช็คไม่มีเงินฝากธนาคาร. แต่ออกเช็คโดยใช้แบบพิมพ์เช็คของบุคคลอื่นเมื่อทำเป็นหนังสือตราสารซึ่งมีรายการครบถ้วนบริบูรณ์ตามลักษณะที่บัญญัติไว้ในมาตรา 987, 988 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ย่อมเป็นเช็คโดยชอบ.หากผู้ทรงนำไปขึ้นเงินจากธนาคารไม่ได้. ผู้สั่งจ่ายและผู้สลักหลังหรือผู้รับประกันด้วยอาวัลย่อมต้องร่วมกันรับผิดต่อผู้ทรง.
การที่ผู้ทรงเช็คเคยฟ้องผู้สั่งจ่ายเป็นคดีอาญา แล้วถอนฟ้องเสีย โดยยอมผ่อนเวลาให้ผู้สั่งจ่ายใช้เงินตามเช็คนั้น. ไม่เป็นเหตุให้ผู้สลักหลังหรือรับประกันด้วยอาวัลหลุดพ้นจากความรับผิด เพราะต้องร่วมกันรับผิดต่อผู้ทรง. (ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยตามแนวคำพิพากษาฎีกาที่ 1017/2507 ซึ่งวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่).
การที่ผู้ทรงเช็คเคยฟ้องผู้สั่งจ่ายเป็นคดีอาญา แล้วถอนฟ้องเสีย โดยยอมผ่อนเวลาให้ผู้สั่งจ่ายใช้เงินตามเช็คนั้น. ไม่เป็นเหตุให้ผู้สลักหลังหรือรับประกันด้วยอาวัลหลุดพ้นจากความรับผิด เพราะต้องร่วมกันรับผิดต่อผู้ทรง. (ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยตามแนวคำพิพากษาฎีกาที่ 1017/2507 ซึ่งวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1124/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญากู้ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ ผู้ให้กู้มีสิทธิเรียกได้เสมอ การนำสืบเพิ่มเติมข้อความในสัญญาเป็นไปตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
สัญญากู้ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ ผู้ให้กู้ย่อมมีสิทธิเรียกให้ผู้กู้ชำระหนี้เมื่อใดก็ได้ และการที่ผู้กู้นำพยานบุคคลมาสืบว่า การกู้รายนี้มีข้อตกลงกำหนดเวลาชำระหนี้คืน 3 เดือน ตามเช็คล่วงหน้าที่ผู้กู้ได้ออกให้ผู้ให้กู้ยึดถือไว้นั้น เป็นการนำสืบเพิ่มเติมข้อความในเอกสารสัญญากู้ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94
เอกสารหมาย ล.6 ที่โจทก์ผู้ให้กู้มีถึงจำเลยแจ้งกำหนดเวลาชำระหนี้ให้จำเลยทราบถือได้แต่เพียงเป็นหลักฐานที่โจทก์เรียกให้จำเลยชำระหนี้ภายในเวลาที่โจทก์กำหนดไว้เท่านั้นจะถือเป็นหลักฐานว่าโจทก์จำเลยตกลงกำหนดเวลาชำระหนี้แน่นอนแล้วหาได้ไม่
เมื่อหนี้ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ การค้ำประกันก็มิใช่การค้ำประกันหนี้อันจะต้องชำระ ณ เวลามีกำหนดแน่นอน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 700 แม้ผู้ให้กู้จะผ่อนเวลาให้ลูกหนี้ ผู้ค้ำประกันก็หาหลุดพ้นความรับผิดไม่
โจทก์มิได้ฟ้องเรียกร้องเอาดอกเบี้ย แต่เมื่อฟังได้ว่าการกู้มีดอกเบี้ย ผู้กู้จึงต้องชำระดอกเบี้ยอยู่ และก่อนฟ้องโจทก์ได้รับชำระหนี้จากจำเลยด้วยสิ่งของเป็นเงิน 8,725 บาท โจทก์จึงฟ้องเรียกให้จำเลยชำระเฉพาะต้นเงินกู้ ดังนี้ การที่ศาลจัดใช้เงิน 8,725 บาท ที่โจทก์ได้รับชำระหนี้ก่อนฟ้องเป็นใช้ดอกเบี้ยเสียก่อน ส่วนเหลือใช้เป็นการชำระต้นเงินกู้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 329 แล้วพิพากษาให้จำเลยรับผิดชำระต้นเงินกู้ที่ยังค้างให้โจทก์น้อยกว่าที่โจทก์ขอนั้น ดังนี้หาเป็นการพิพากษาเกินคำขอไม่
สัญญากู้มีข้อความว่า จำเลยยอมให้ดอกเบี้ยแก่โจทก์ แต่อัตราดอกเบี้ยมิได้กำหนดลงไว้จึงต้องใช้อัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 7
เอกสารหมาย ล.6 ที่โจทก์ผู้ให้กู้มีถึงจำเลยแจ้งกำหนดเวลาชำระหนี้ให้จำเลยทราบถือได้แต่เพียงเป็นหลักฐานที่โจทก์เรียกให้จำเลยชำระหนี้ภายในเวลาที่โจทก์กำหนดไว้เท่านั้นจะถือเป็นหลักฐานว่าโจทก์จำเลยตกลงกำหนดเวลาชำระหนี้แน่นอนแล้วหาได้ไม่
เมื่อหนี้ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ การค้ำประกันก็มิใช่การค้ำประกันหนี้อันจะต้องชำระ ณ เวลามีกำหนดแน่นอน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 700 แม้ผู้ให้กู้จะผ่อนเวลาให้ลูกหนี้ ผู้ค้ำประกันก็หาหลุดพ้นความรับผิดไม่
โจทก์มิได้ฟ้องเรียกร้องเอาดอกเบี้ย แต่เมื่อฟังได้ว่าการกู้มีดอกเบี้ย ผู้กู้จึงต้องชำระดอกเบี้ยอยู่ และก่อนฟ้องโจทก์ได้รับชำระหนี้จากจำเลยด้วยสิ่งของเป็นเงิน 8,725 บาท โจทก์จึงฟ้องเรียกให้จำเลยชำระเฉพาะต้นเงินกู้ ดังนี้ การที่ศาลจัดใช้เงิน 8,725 บาท ที่โจทก์ได้รับชำระหนี้ก่อนฟ้องเป็นใช้ดอกเบี้ยเสียก่อน ส่วนเหลือใช้เป็นการชำระต้นเงินกู้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 329 แล้วพิพากษาให้จำเลยรับผิดชำระต้นเงินกู้ที่ยังค้างให้โจทก์น้อยกว่าที่โจทก์ขอนั้น ดังนี้หาเป็นการพิพากษาเกินคำขอไม่
สัญญากู้มีข้อความว่า จำเลยยอมให้ดอกเบี้ยแก่โจทก์ แต่อัตราดอกเบี้ยมิได้กำหนดลงไว้จึงต้องใช้อัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 7
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1124/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ไม่มีกำหนดเวลาชำระ ผู้ให้กู้มีสิทธิเรียกเก็บได้เสมอ การค้ำประกันไม่หลุดพ้นแม้มีการผ่อนเวลา
สัญญากู้ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ ผู้ให้กู้ย่อมมีสิทธิเรียกให้ผู้กู้ชำระหนี้เมื่อใดก็ได้ และการที่ผู้กู้นำพยานบุคคลมาสืบว่า การกู้รายนี้มีข้อตกลงกำหนดเวลาชำระหนี้คืน 3 เดือน ตามเช็คล่วงหน้าที่ผู้กู้ได้ออกให้ผู้ให้กู้ยึดถือไว้นั้น เป็นการนำสืบเพิ่มเติมข้อความในเอกสารสัญญากู้ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 94
เอกสารหมาย ล.6 ที่โจทก์ผู้ให้กู้มีถึงจำเลยแจ้งกำหนดเวลาชำระหนี้ให้จำเลยทราบถือได้แต่เพียงเป็นหลักฐานที่โจทก์เรียกให้จำเลยชำระหนี้ภายในเวลาที่โจทก์กำหนดไว้เท่านั้น จะถือเป็นหลักฐานว่าโจทก์จำเลยตกลงกำหนดเวลาชำระหนี้แน่นอนแล้วหาได้ไม่
เมื่อหนี้ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ การค้ำประกันก็มิใช่การค้ำประกันหนี้อันจะต้องชำระ ณ เวลามีกำหนดแน่นอน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 700 แม้ผู้ให้กู้จะผ่อนเวลาให้ลูกหนี้ ผู้ค้ำประกันก็หาหลุดพ้นความรับผิดไม่
โจทก์มิได้ฟ้องเรียกร้องเอาดอกเบี้ย แต่เมื่อฟังได้ว่าการกู้มีดอกเบี้ย ผู้กู้จึงต้องชำระดอกเบี้ยอยู่ และก่อนฟ้องโจทก์ได้รับชำระหนี้จากจำเลยด้วยสิ่งของเป็นเงิน 8,725 บาท โจทก์จึงฟ้องเรียกให้จำเลยชำระเฉพาะต้นเงินกู้ ดังนี้ การที่ศาลจัดใช้เงิน 8,725 บาท ที่โจทก์ได้รับชำระหนี้ก่อนฟ้องเป็นใช้ดอกเบี้ยเสียก่อน ส่วนเหลือใช้เป็นการชำระต้นเงินกู้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 329 แล้วพิพากษาให้จำเลยรับผิดชำระต้นเงินกู้ที่ยังค้างให้โจทก์น้อยกว่าที่โจทก์ขอนั้น ดังนี้หาเป็นการพิพากษาเกินคำขอไม่
สัญญากู้มีข้อความว่า จำเลยยอมให้ดอกเบี้ยแก่โจทก์แต่อัตราดอกเบี้ยมิได้กำหนดลงไว้จึงต้องใช้อัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 7
เอกสารหมาย ล.6 ที่โจทก์ผู้ให้กู้มีถึงจำเลยแจ้งกำหนดเวลาชำระหนี้ให้จำเลยทราบถือได้แต่เพียงเป็นหลักฐานที่โจทก์เรียกให้จำเลยชำระหนี้ภายในเวลาที่โจทก์กำหนดไว้เท่านั้น จะถือเป็นหลักฐานว่าโจทก์จำเลยตกลงกำหนดเวลาชำระหนี้แน่นอนแล้วหาได้ไม่
เมื่อหนี้ไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ การค้ำประกันก็มิใช่การค้ำประกันหนี้อันจะต้องชำระ ณ เวลามีกำหนดแน่นอน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 700 แม้ผู้ให้กู้จะผ่อนเวลาให้ลูกหนี้ ผู้ค้ำประกันก็หาหลุดพ้นความรับผิดไม่
โจทก์มิได้ฟ้องเรียกร้องเอาดอกเบี้ย แต่เมื่อฟังได้ว่าการกู้มีดอกเบี้ย ผู้กู้จึงต้องชำระดอกเบี้ยอยู่ และก่อนฟ้องโจทก์ได้รับชำระหนี้จากจำเลยด้วยสิ่งของเป็นเงิน 8,725 บาท โจทก์จึงฟ้องเรียกให้จำเลยชำระเฉพาะต้นเงินกู้ ดังนี้ การที่ศาลจัดใช้เงิน 8,725 บาท ที่โจทก์ได้รับชำระหนี้ก่อนฟ้องเป็นใช้ดอกเบี้ยเสียก่อน ส่วนเหลือใช้เป็นการชำระต้นเงินกู้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 329 แล้วพิพากษาให้จำเลยรับผิดชำระต้นเงินกู้ที่ยังค้างให้โจทก์น้อยกว่าที่โจทก์ขอนั้น ดังนี้หาเป็นการพิพากษาเกินคำขอไม่
สัญญากู้มีข้อความว่า จำเลยยอมให้ดอกเบี้ยแก่โจทก์แต่อัตราดอกเบี้ยมิได้กำหนดลงไว้จึงต้องใช้อัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 7