พบผลลัพธ์ทั้งหมด 159 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1124/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฝากเงินกับผู้ประกอบการธนาคารพาณิชย์โดยไม่ได้รับอนุญาต สิทธิการเรียกร้องเงินฝากของผู้ฝากที่ไม่ร่วมรู้
การประกอบกิจการรับฝากเงินซึ่งต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถาม โดยให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ฝากเป็นดอกเบี้ย และใช้ประโยชน์เงินฝากนั้นในการให้พ่อค้าและผู้รู้จักชอบพอกู้ยืมโดยเรียกค่านายหน้าค่ารางวัล และดอกเบี้ยจากผู้กู้ยืมมีจำนวนสูงกว่าดอกเบี้ยที่จะจ่ายแก่ผู้ฝาก หากกระทำเป็นปกติธุระย่อมเป็นการประกอบการธนาคารพาณิชย์ ซึ่งจะต้องได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
การใดอันมีวัตถุที่ประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายซึ่งตกเป็นโมฆะกรรมนั้น ในสัญญาซึ่งเป็นนิติกรรมทำโดยบุคคลสองฝ่าย ประโยชน์อันเป็นผลสุดท้ายที่ทั้งสองฝ่ายต้องการ คู่กรณีทั้งสองฝ่ายจะต้องร่วมรู้กัน จึงจะเป็นวัตถุที่ประสงค์ของนิติกรรมสัญญานั้น ถ้าคู่สัญญาแต่ฝ่ายเดียวรู้ถึงการกระทำของตนว่าเป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย โดยอีกฝ่ายมิได้ร่วมรู้ด้วย จะถือว่านิติกรรมสัญญานั้นมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมายหาได้ไม่
แม้ผู้รับฝากเงินจะประกอบการธนาคารพาณิชย์โดยมิได้รับอนุญาต แต่ผู้ฝากมิได้ร่วมรู้ในการกระทำของผู้รับฝากซึ่งมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย ดังนี้ นิติกรรมรับฝากเงินระหว่างผู้ฝากกับผู้รับฝากย่อมไม่เป็นโมฆะ ผู้ฝากมีสิทธิเรียกเงินฝากคืนจากผู้รับฝากได้
คดีล้มละลายที่ได้ยื่นฟ้องก่อนวันที่พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2511 ใช้บังคับ และยังค้างพิจารณาอยู่ในศาลหรืออยู่ในระหว่างปฏิบัติการของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ แม้จะมีการอุทธรณ์ฎีกา คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลหลังจากใช้บังคับพระราชบัญญัติฉบับนี้แล้ว ค่าธรรมเนียมในการอุทธรณ์ฎีกาก็ยังคงเสียตามอัตราเดิมที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483
การใดอันมีวัตถุที่ประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายซึ่งตกเป็นโมฆะกรรมนั้น ในสัญญาซึ่งเป็นนิติกรรมทำโดยบุคคลสองฝ่าย ประโยชน์อันเป็นผลสุดท้ายที่ทั้งสองฝ่ายต้องการ คู่กรณีทั้งสองฝ่ายจะต้องร่วมรู้กัน จึงจะเป็นวัตถุที่ประสงค์ของนิติกรรมสัญญานั้น ถ้าคู่สัญญาแต่ฝ่ายเดียวรู้ถึงการกระทำของตนว่าเป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย โดยอีกฝ่ายมิได้ร่วมรู้ด้วย จะถือว่านิติกรรมสัญญานั้นมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมายหาได้ไม่
แม้ผู้รับฝากเงินจะประกอบการธนาคารพาณิชย์โดยมิได้รับอนุญาต แต่ผู้ฝากมิได้ร่วมรู้ในการกระทำของผู้รับฝากซึ่งมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย ดังนี้ นิติกรรมรับฝากเงินระหว่างผู้ฝากกับผู้รับฝากย่อมไม่เป็นโมฆะ ผู้ฝากมีสิทธิเรียกเงินฝากคืนจากผู้รับฝากได้
คดีล้มละลายที่ได้ยื่นฟ้องก่อนวันที่พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2511 ใช้บังคับ และยังค้างพิจารณาอยู่ในศาลหรืออยู่ในระหว่างปฏิบัติการของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ แม้จะมีการอุทธรณ์ฎีกา คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลหลังจากใช้บังคับพระราชบัญญัติฉบับนี้แล้ว ค่าธรรมเนียมในการอุทธรณ์ฎีกาก็ยังคงเสียตามอัตราเดิมที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1124/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับฝากเงินประกอบการธนาคารพาณิชย์โดยไม่ได้รับอนุญาตและผลกระทบต่อสิทธิผู้ฝาก เงินฝากไม่เป็นโมฆะหากผู้ฝากไม่รู้
การประกอบกิจการรับฝากเงินซึ่งต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถาม โดยให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ฝากเป็นดอกเบี้ย และใช้ประโยชน์เงินฝากนั้นในการให้พ่อค้าและผู้รู้จักชอบพอกู้ยืมโดยเรียกค่านายหน้าค่ารางวัล และดอกเบี้ยจากผู้กู้ยืมมีจำนวนสูงกว่าดอกเบี้ยที่จะจ่ายแก่ผู้ฝาก หากกระทำเป็นปกติธุระย่อมเป็นการประกอบการธนาคารพาณิชย์ซึ่งจะต้องได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
การใดอันมีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายซึ่งตกเป็นโมฆะกรรมนั้น ในสัญญาซึ่งเป็นนิติกรรมทำโดยบุคคลสองฝ่าย ประโยชน์อันเป็นผลสุดท้ายที่ทั้งสองฝ่ายต้องการคู่กรณีทั้งสองฝ่ายจะต้องร่วมรู้กัน จึงจะเป็นวัตถุที่ประสงค์ของนิติกรรมสัญญานั้นถ้าคู่สัญญาแต่ฝ่ายเดียวรู้ถึงการกระทำของตนว่าเป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย โดยอีกฝ่ายมิได้ร่วมรู้ด้วย จะถือว่านิติกรรมสัญญานั้นมีวัตถุที่ประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมายหาได้ไม่
แม้ผู้รับฝากเงินจะประกอบการธนาคารพาณิชย์โดยมิได้รับอนุญาตแต่ผู้ฝากมิได้ร่วมรู้ ในการกระทำของผู้รับฝากซึ่งมีวัตถุที่ประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย ดังนี้นิติกรรมรับฝากเงินระหว่างผู้ฝากกับผู้รับฝากย่อมไม่เป็นโมฆะ ผู้ฝากมีสิทธิเรียกเงินฝากคืนจากผู้รับฝากได้
คดีล้มละลายที่ได้ยื่นฟ้องก่อนวันที่พระราชบัญญัติล้มละลาย(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2511 ใช้บังคับ และยังค้างพิจารณาอยู่ในศาลหรืออยู่ในระหว่างปฏิบัติการของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ แม้จะมีการอุทธรณ์ฎีกา คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลหลังจากใช้บังคับพระราชบัญญัติฉบับนี้แล้ว ค่าธรรมเนียมในการอุทธรณ์ฎีกาก็ยังคงเสียตามอัตราเดิมที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483
การใดอันมีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายซึ่งตกเป็นโมฆะกรรมนั้น ในสัญญาซึ่งเป็นนิติกรรมทำโดยบุคคลสองฝ่าย ประโยชน์อันเป็นผลสุดท้ายที่ทั้งสองฝ่ายต้องการคู่กรณีทั้งสองฝ่ายจะต้องร่วมรู้กัน จึงจะเป็นวัตถุที่ประสงค์ของนิติกรรมสัญญานั้นถ้าคู่สัญญาแต่ฝ่ายเดียวรู้ถึงการกระทำของตนว่าเป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย โดยอีกฝ่ายมิได้ร่วมรู้ด้วย จะถือว่านิติกรรมสัญญานั้นมีวัตถุที่ประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมายหาได้ไม่
แม้ผู้รับฝากเงินจะประกอบการธนาคารพาณิชย์โดยมิได้รับอนุญาตแต่ผู้ฝากมิได้ร่วมรู้ ในการกระทำของผู้รับฝากซึ่งมีวัตถุที่ประสงค์เป็นการต้องห้ามโดยกฎหมาย ดังนี้นิติกรรมรับฝากเงินระหว่างผู้ฝากกับผู้รับฝากย่อมไม่เป็นโมฆะ ผู้ฝากมีสิทธิเรียกเงินฝากคืนจากผู้รับฝากได้
คดีล้มละลายที่ได้ยื่นฟ้องก่อนวันที่พระราชบัญญัติล้มละลาย(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2511 ใช้บังคับ และยังค้างพิจารณาอยู่ในศาลหรืออยู่ในระหว่างปฏิบัติการของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ แม้จะมีการอุทธรณ์ฎีกา คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลหลังจากใช้บังคับพระราชบัญญัติฉบับนี้แล้ว ค่าธรรมเนียมในการอุทธรณ์ฎีกาก็ยังคงเสียตามอัตราเดิมที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 685/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจ้างเฝ้ารักษาไม้ของกลางเป็นสัญญาจ้างแรงงาน ไม่ใช่สัญญาฝากทรัพย์ อายุความ 10 ปี
กรมป่าไม้ทำสัญญาจ้างผู้รับจ้างเฝ้ารักษาไม้ของกลาง ซึ่งเจ้าพนักงานป่าไม้จับได้และยังอยู่ที่คอที่ถูกตัดโค่นในป่า ระบุชื่อสัญญาว่า "สัญญาจ้างเฝ้ารักษา" มีข้อสัญญาว่าผู้รับจ้างยอมรับเฝ้ารักษาไม้ของกลางโดยคิดอัตราค่าจ้างเป็นรายท่อนต่อเดือน นับแต่วันทำสัญญา ถ้าไม้ซึ่งรับจ้างเฝ้ารักษาขาดหายหรือเป็นอันตราย ผู้รับจ้างยอมให้ปรับไหมเป็นรายท่อนตามจำนวนที่สูญหายหรือเป็นอันตราย ระหว่างเวลาที่ผู้รับจ้างรับผิดชอบเฝ้ารักษา กรมป่าไม้ผู้จ้างอาจชนไม้ของกลางทั้งหมดหรือแต่บางส่วนไปจากที่เดิมในเวลาใด ๆ ก็ได้ แต่ต้องแจ้งให้ผู้รับจ้างทราบและทำใบรับไม้ให้ไว้ สัญญานี้เป็นสัญญาจ้างแรงงาน มิใช่สัญญาฝากทรัพย์ เพราะอำนาจการครอบครองไม้ของกลางยังอยู่แก่กรมป่าไม้ผู้จ้าง ผู้รับจ้างเพียงแต่เฝ้ารักษาระวังมิให้ผู้ใดมาลักหรือเกิดภัยพิบัติ ไม้ของกลางยังอยู่ในป่าตามเดิม ผู้รับจ้างมิได้ชักลากไปเก็บไว้ในความอารักขาของตน
สิทธิเรียกร้องค่าปรับตามสัญญาจ้างแรงงาน กฎหมายมิได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นโดยเฉพาะ จึงอยู่ในบังคับอายุความทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164 ซึ่งมีกำหนดสิบปี
สิทธิเรียกร้องค่าปรับตามสัญญาจ้างแรงงาน กฎหมายมิได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นโดยเฉพาะ จึงอยู่ในบังคับอายุความทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164 ซึ่งมีกำหนดสิบปี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 685/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจ้างเฝ้ารักษาไม้ของกลางเป็นสัญญาจ้างแรงงาน ไม่ใช่สัญญาฝากทรัพย์ อายุความ 10 ปี
กรมป่าไม้ทำสัญญาจ้างผู้รับจ้างเฝ้ารักษาไม้ของกลางซึ่งเจ้าพนักงานป่าไม้จับได้และยังอยู่ที่ตอที่ถูกตัดโค่นในป่าระบุชื่อสัญญาว่า 'สัญญาจ้างเฝ้ารักษา' มีข้อสัญญาว่าผู้รับจ้างยอมรับเฝ้ารักษาไม้ของกลางโดยคิดอัตราค่าจ้างเป็นรายท่อนต่อเดือนนับแต่วันทำสัญญาถ้าไม้ซึ่งรับจ้างเฝ้ารักษาขาดหายหรือเป็นอันตรายผู้รับจ้างยอมให้ปรับไหมเป็นรายท่อนตามจำนวนที่สูญหายหรือเป็นอันตราย ระหว่างเวลาที่ผู้รับจ้างรับผิดชอบเฝ้ารักษากรมป่าไม้ผู้จ้างอาจขนไม้ของกลางทั้งหมดหรือแต่บางส่วนไปจากที่เดิมในเวลาใดๆ ก็ได้แต่ต้องแจ้งให้ผู้รับจ้างทราบและทำใบรับไม้ให้ไว้ สัญญานี้เป็นสัญญาจ้างแรงงานมิใช่สัญญาฝากทรัพย์ เพราะอำนาจการครอบครองไม้ของกลางยังอยู่แก่กรมป่าไม้ผู้จ้างผู้รับจ้างเพียงแต่เฝ้ารักษาระวังมิให้ผู้ใดมาลักหรือเกิดภัยพิบัติไม้ของกลางยังอยู่ในป่าตามเดิม ผู้รับจ้างมิได้ชักลากไปเก็บไว้ในความอารักขาของตน
สิทธิเรียกร้องค่าปรับตามสัญญาจ้างแรงงาน กฎหมายมิได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นโดยเฉพาะจึงอยู่ในบังคับอายุความทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164 ซึ่งมีกำหนดสิบปี
สิทธิเรียกร้องค่าปรับตามสัญญาจ้างแรงงาน กฎหมายมิได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นโดยเฉพาะจึงอยู่ในบังคับอายุความทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164 ซึ่งมีกำหนดสิบปี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 685/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจ้างเฝ้ารักษาไม้ของกลาง: สัญญาจ้างแรงงาน มิใช่สัญญาฝากทรัพย์ อายุความ 10 ปี
กรมป่าไม้ทำสัญญาจ้างผู้รับจ้างเฝ้ารักษาไม้ของกลาง. ซึ่งเจ้าพนักงานป่าไม้จับได้และยังอยู่ที่ตอที่ถูกตัดโค่นในป่า. ระบุชื่อสัญญาว่า 'สัญญาจ้างเฝ้ารักษา' มีข้อสัญญาว่าผู้รับจ้างยอมรับเฝ้ารักษาไม้ของกลางโดยคิดอัตราค่าจ้างเป็นรายท่อนต่อเดือน. นับแต่วันทำสัญญา. ถ้าไม้ซึ่งรับจ้างเฝ้ารักษาขาดหายหรือเป็นอันตราย. ผู้รับจ้างยอมให้ปรับไหมเป็นรายท่อนตามจำนวนที่สูญหายหรือเป็นอันตราย. ระหว่างเวลาที่ผู้รับจ้างรับผิดชอบเฝ้ารักษา. กรมป่าไม้ผู้จ้างอาจขนไม้ของกลางทั้งหมดหรือแต่บางส่วนไปจากที่เดิมในเวลาใดๆ ก็ได้. แต่ต้องแจ้งให้ผู้รับจ้างทราบและทำใบรับไม้ให้ไว้. สัญญานี้เป็นสัญญาจ้างแรงงาน. มิใช่สัญญาฝากทรัพย์. เพราะอำนาจการครอบครองไม้ของกลางยังอยู่แก่กรมป่าไม้ผู้จ้าง. ผู้รับจ้างเพียงแต่เฝ้ารักษาระวัง.มิให้ผู้ใดมาลักหรือเกิดภัยพิบัติ. ไม้ของกลางยังอยู่ในป่าตามเดิม. ผู้รับจ้างมิได้ชักลากไปเก็บไว้ในความอารักขาของตน.
สิทธิเรียกร้องค่าปรับตามสัญญาจ้างแรงงาน. กฎหมายมิได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นโดยเฉพาะ. จึงอยู่ในบังคับอายุความทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164 ซึ่งมีกำหนดสิบปี.
สิทธิเรียกร้องค่าปรับตามสัญญาจ้างแรงงาน. กฎหมายมิได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นโดยเฉพาะ. จึงอยู่ในบังคับอายุความทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164 ซึ่งมีกำหนดสิบปี.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1981/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายข้าวเปลือก, เบี้ยปรับ, และผลกระทบของประกาศห้ามตกข้าวที่ถูกยกเลิก
ประกาศห้ามมิให้ตกข้าวแก่ชาวนา จ.ศ.1239 นั้น ได้มีประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์รวบรวมข้อบัญญัติต่างๆ ในทางแพ่งทั้งหมดขึ้นใช้บังคับแล้ว และตามมาตรา 656 แห่งประมวลกฎหมายดังกล่าวก็ได้บัญญัติคุ้มครองมิให้เอาของชำระหนี้แทนเงินด้วยการคิดราคาของต่ำกว่าราคาท้องตลาดนั้นอยู่แล้ว ประกาศห้ามมิให้ตกข้าวแก่ชาวนา จ.ศ.1239 จึงเป็นอันถูกยกเลิกไม่ใช้บังคับต่อไป
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยตกลงจะขายข้าวเปลือกแก่โจทก์และได้รับเงินไปแล้วโดยได้ทำสัญญารับฝากข้าวเปลือกไว้ ถึงหากจะฟังว่าสัญญารับฝากข้าวเปลือกเป็นนิติกรรมอำพราง โจทก์ก็ขอให้บังคับตามสัญญาจะซื้อขายได้
ตกลงซื้อข้าวเปลือกราคาหนึ่ง และมีข้อสัญญาว่า หากผู้ขายไม่ส่งมอบตามกำหนดจะต้องใช้ราคาข้าวเปลือกสูงขึ้นเป็นอีกราคาหนึ่ง ย่อมมีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับฐานผิดสัญญา หากกำหนดไว้สูงเกินส่วน ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้
(ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่28/2511)
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยตกลงจะขายข้าวเปลือกแก่โจทก์และได้รับเงินไปแล้วโดยได้ทำสัญญารับฝากข้าวเปลือกไว้ ถึงหากจะฟังว่าสัญญารับฝากข้าวเปลือกเป็นนิติกรรมอำพราง โจทก์ก็ขอให้บังคับตามสัญญาจะซื้อขายได้
ตกลงซื้อข้าวเปลือกราคาหนึ่ง และมีข้อสัญญาว่า หากผู้ขายไม่ส่งมอบตามกำหนดจะต้องใช้ราคาข้าวเปลือกสูงขึ้นเป็นอีกราคาหนึ่ง ย่อมมีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับฐานผิดสัญญา หากกำหนดไว้สูงเกินส่วน ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้
(ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่28/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1981/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายข้าวเปลือก, สัญญาฝากทรัพย์เป็นนิติกรรมอำพราง, เบี้ยปรับสูงเกินควร, ประกาศห้ามตกข้าวถูกยกเลิก
ประกาศห้ามมิให้ตกข้าวแก่ชาวนา จ.ศ.1239 นั้น ได้มีประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์รวบรวมข้อบัญญัติต่างๆ ในทางแพ่งทั้งหมดขึ้นใช้บังคับแล้ว และตามมาตรา 656 แห่งประมวลกฎหมายดังกล่าวก็ได้บัญญัติคุ้มครองมิให้เอาของชำระหนี้แทนเงินด้วยการคิดราคาของต่ำกว่าราคาท้องตลาดนั้นอยู่แล้ว ประกาศห้ามมิให้ตกข้าวแก่ชาวนา จ.ศ.1239 จึงเป็นอันถูกยกเลิกไม่ใช้บังคับต่อไป
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยตกลงจะขายข้าวเปลือกแก่โจทก์และได้รับเงินไปแล้วโดยได้ทำสัญญารับฝากข้าวเปลือกไว้ ถึงหากจะฟังว่าสัญญารับฝากข้าวเปลือกเป็นนิติกรรมอำพราง โจทก์ก็ขอให้บังคับตามสัญญาจะซื้อขายได้
ตกลงซื้อข้าวเปลือกราคาหนึ่ง และมีข้อสัญญาว่า หากผู้ขายไม่ส่งมอบตามกำหนดจะต้องใช้ราคาข้าวเปลือกสูงขึ้นเป็นอีกราคาหนึ่ง ย่อมมีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับฐานผิดสัญญา หากกำหนดไว้สูงเกินส่วน ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้
(ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 28/2511)
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยตกลงจะขายข้าวเปลือกแก่โจทก์และได้รับเงินไปแล้วโดยได้ทำสัญญารับฝากข้าวเปลือกไว้ ถึงหากจะฟังว่าสัญญารับฝากข้าวเปลือกเป็นนิติกรรมอำพราง โจทก์ก็ขอให้บังคับตามสัญญาจะซื้อขายได้
ตกลงซื้อข้าวเปลือกราคาหนึ่ง และมีข้อสัญญาว่า หากผู้ขายไม่ส่งมอบตามกำหนดจะต้องใช้ราคาข้าวเปลือกสูงขึ้นเป็นอีกราคาหนึ่ง ย่อมมีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับฐานผิดสัญญา หากกำหนดไว้สูงเกินส่วน ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้
(ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 28/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1981/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายข้าวเปลือก สัญญาฝากทรัพย์ และเบี้ยปรับ กรณีประกาศห้ามตกข้าวเป็นโมฆะ
ประกาศห้ามมิให้ตกข้าวแก่ชาวนา จ.ศ.1239 นั้น. ได้มีประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์รวบรวมข้อบัญญัติต่างๆ ในทางแพ่งทั้งหมดขึ้นใช้บังคับแล้ว. และตามมาตรา 656 แห่งประมวลกฎหมายดังกล่าวก็ได้บัญญัติคุ้มครองมิให้เอาของชำระหนี้แทนเงินด้วยการคิดราคาของต่ำกว่าราคาท้องตลาดนั้นอยู่แล้ว. ประกาศห้ามมิให้ตกข้าวแก่ชาวนา จ.ศ.1239 จึงเป็นอันถูกยกเลิกไม่ใช้บังคับต่อไป.
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยตกลงจะขายข้าวเปลือกแก่โจทก์และได้รับเงินไปแล้วโดยได้ทำสัญญารับฝากข้าวเปลือกไว้. ถึงหากจะฟังว่าสัญญารับฝากข้าวเปลือกเป็นนิติกรรมอำพราง โจทก์ก็ขอให้บังคับตามสัญญาจะซื้อขายได้.
ตกลงซื้อข้าวเปลือกราคาหนึ่ง และมีข้อสัญญาว่า หากผู้ขายไม่ส่งมอบตามกำหนดจะต้องใช้ราคาข้าวเปลือกสูงขึ้นเป็นอีกราคาหนึ่ง. ย่อมมีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับฐานผิดสัญญา หากกำหนดไว้สูงเกินส่วน ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้. (ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่28/2511).
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยตกลงจะขายข้าวเปลือกแก่โจทก์และได้รับเงินไปแล้วโดยได้ทำสัญญารับฝากข้าวเปลือกไว้. ถึงหากจะฟังว่าสัญญารับฝากข้าวเปลือกเป็นนิติกรรมอำพราง โจทก์ก็ขอให้บังคับตามสัญญาจะซื้อขายได้.
ตกลงซื้อข้าวเปลือกราคาหนึ่ง และมีข้อสัญญาว่า หากผู้ขายไม่ส่งมอบตามกำหนดจะต้องใช้ราคาข้าวเปลือกสูงขึ้นเป็นอีกราคาหนึ่ง. ย่อมมีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับฐานผิดสัญญา หากกำหนดไว้สูงเกินส่วน ศาลมีอำนาจลดลงเป็นจำนวนที่พอสมควรได้. (ปัญหาตามวรรคแรกวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่28/2511).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1866/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับเงินไปซื้อของแทนผู้อื่น หากนำไปใช้ส่วนตัว ถือเป็นการยักยอก
การที่จำเลยรับมอบเงินจากผู้เสียหายเพื่อซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกให้ผู้เสียหายเช่นนี้ แม้จะไม่มีกำหนดเวลาว่าจำเลยจะต้องซื้อเมื่อใด ก็ไม่มีลักษณะเป็นการฝากทรัพย์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 657 และ 672 เพราะไม่ใช่เป็นการมอบเงินให้เก็บรักษาไว้ในอารักขาของจำเลยแล้วจำเลยจะคืนให้ จริงอยู่จำเลยอาจนำธนบัตรฉบับอื่นหรือเหรียญกษาปณ์อันอื่นไปซื้อได้ แต่นั่นเป็นเพราะธนบัตรและเหรียญกษาปณ์เป็นเงินตราที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมายด้วยกันตามพระราชบัญญัติเงินตราฯ จะนำธนบัตรฉบับไหนไปซื้อ ก็สมประโยชน์ของผู้เสียหาย และย่อมไม่ใช่การกระทำโดยทุจริตด้วยเหตุนี้เงินจำนวน 15,000 บาท ที่ผู้เสียหายมอบให้จำเลยครอบครอง จึงยังเป็นของผู้เสียหายอยู่จนกว่าจำเลยจะได้ซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกให้ผู้เสียหายแล้ว อีกประการหนึ่งการที่จำเลยไม่นำเงินของผู้เสียหายที่ตนครอบครองอยู่ไปซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกตามที่ได้รับมอบหมาย บางกรณีอาจเป็นเพียงผิดสัญญาในทางแพ่งได้ก็จริง แต่ทั้งนี้ต้องไม่ใช่เป็นการเบียดบังเอาเงินนั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุจริต หากเป็นการเบียดบังเอาเงินนั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุจริตแล้ว ย่อมเป็นความผิดฐานยักยอก โดยเฉพาะคดีนี้ข้อเท็จจริงฟังได้ดังกล่าวข้างต้นว่าจำเลยมีเจตนาทุจริตเบียดบังยักยอกเงินจำนวนนี้ไว้เป็นประโยชน์ของจำเลยเอง จำเลยจึงต้องมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1866/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับเงินเพื่อซื้อของแทน ยักยอกทรัพย์เจตนาทุจริต ความผิดฐานยักยอก
การที่จำเลยรับมอบเงินจากผู้เสียหายเพื่อซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกให้ผู้เสียหายเช่นนี้ แม้จะไม่มีกำหนดเวลาว่าจำเลยจะต้องซื้อเมื่อใด ก็ไม่มีลักษณะเป็นการฝากทรัพย์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 657 และ 672 เพราะไม่ใช่เป็นการมอบเงินให้เก็บรักษาไว้ในอารักขาของจำเลยแล้วจำเลยจะคืนให้ จริงอยู่จำเลยอาจนำธนบัตรฉบับอื่นหรือเหรียญกษาปณ์อันอื่นไปซื้อได้ แต่นั่นเป็นเพราะธนบัตรและเหรียญกษาปณ์เป็นเงินตราที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมายด้วยกันตามพระราชบัญญัติเงินตราฯ จะนำธนบัตรฉบับไหนไปซื้อ ก็สมประโยชน์ของผู้เสียหาย และย่อมไม่ใช่การกระทำโดยทุจริตด้วยเหตุนี้เงินจำนวน 15,000 บาท ที่ผู้เสียหายมอบให้จำเลยครอบครอง จึงยังเป็นของผู้เสียหายอยู่จนกว่าจำเลยจะได้ซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกให้ผู้เสียหายแล้ว อีกประการหนึ่งการที่จำเลยไม่นำเงินของผู้เสียหายที่ตนครอบครองอยู่ไปซื้อข้าวเปลือกและปอฟอกตามที่ได้รับมอบหมาย บางกรณีอาจเป็นเพียงผิดสัญญาในทางแพ่งได้ก็จริง แต่ทั้งนี้ต้องไม่ใช่เป็นการเบียดบังเอาเงินนั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุจริต หากเป็นการเบียดบังเอาเงินนั้นเป็นของตนหรือบุคคลที่สามโดยทุจริตแล้ว ย่อมเป็นความผิดฐานยักยอก โดยเฉพาะคดีนี้ข้อเท็จจริงฟังได้ดังกล่าวข้างต้นว่าจำเลยมีเจตนาทุจริตเบียดบังยักยอกเงินจำนวนนี้ไว้เป็นประโยชน์ของจำเลยเอง จำเลยจึงต้องมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352