พบผลลัพธ์ทั้งหมด 163 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3627/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิกถอนนิติกรรมซื้อขายหลังการให้โดยเสน่หาและการประพฤติเนรคุณ ศาลจำกัดขอบเขตการเพิกถอนเฉพาะจำเลยที่ 1
โจทก์ยกที่ดินพิพาทให้แก่จำเลยที่ 1 โดยเสน่หา แล้วจำเลยที่ 1 โอนขายให้แก่จำเลยที่ 2 ที่ 3 โจทก์ฟ้องถอนคืนการให้เพราะเหตุจำเลยที่ 1 ประพฤติเนรคุณ และขอให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขายที่ดินพิพาทระหว่างจำเลยที่ 1 กับจำเลยที่ 2 และที่ 3 โดยอ้างว่าเป็นการสมยอมกันเพื่อฉ้อฉลโจทก์ เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าจำเลยที่ 2 และที่ 3 รับซื้อที่ดินพิพาทมาโดยสุจริต โจทก์ก็ไม่มีสิทธิขอให้เพิกถอนนิติกรรมดังกล่าวได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 237
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขายที่ดินพิพาทระหว่างจำเลยที่ 1 กับจำเลยที่ 2 และที่ 3 ให้จำเลยที่ 1 คืนที่ดินพิพาทแก่โจทก์ จำเลยที่ 1 ซึ่งขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณากับมิได้อุทธรณ์ คงอุทธรณ์เฉพาะจำเลยที่ 2 และที่ 3 ดังนี้ คดีระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ได้ถึงที่สุดตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นแล้วศาลอุทธรณ์จะพิพากษายกฟ้องโจทก์ตลอดไปถึงจำเลยที่ 1 ด้วยไม่ได้
ศาลชั้นต้นพิพากษาให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขายที่ดินพิพาทระหว่างจำเลยที่ 1 กับจำเลยที่ 2 และที่ 3 ให้จำเลยที่ 1 คืนที่ดินพิพาทแก่โจทก์ จำเลยที่ 1 ซึ่งขาดนัดยื่นคำให้การและขาดนัดพิจารณากับมิได้อุทธรณ์ คงอุทธรณ์เฉพาะจำเลยที่ 2 และที่ 3 ดังนี้ คดีระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ได้ถึงที่สุดตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นแล้วศาลอุทธรณ์จะพิพากษายกฟ้องโจทก์ตลอดไปถึงจำเลยที่ 1 ด้วยไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3351/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
บทบัญญัติมาตรา 13 พ.ร.บ.การรถไฟฯ ไม่ใช่ข้ออ้างปฏิเสธหนี้ แต่ใช้บังคับคดีเมื่อจำเป็น สิทธิฟ้องร้องกับบังคับคดีเป็นคนละส่วน
มาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติการรถไฟแห่งประเทศไทย ๆ ไม่ใช่บทบัญญัติที่มีไว้เพื่อประโยชน์ในการปฏิเสธหนี้ในทุกกรณี แต่เป็นบทบัญญัติที่มีไว้ใช้ในชั้นบังคับคดีในกรณีที่มีความจำเป็นต้องบังคับคดีเท่านั้น ที่จำเลยยกมาตรา 13 ขึ้นต่อสู้เพื่อปฏิเสธความรับผิดไม่จ่ายค่าชดเชยตามฟ้องโดยอ้างว่าเป็นการพ้นวิสัยที่ศาลจะพิพากษาให้โจทก์ชนะคดีจึงไม่ถูกต้อง เพราะสิทธิในการฟ้องร้องกับปัญหาในการบังคับคดีเป็นคนละเรื่องกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1182/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดทางละเมิดจากอุบัติเหตุทางรถยนต์, การจัดการสินบริคณห์, และขอบเขตความรับผิดของประกันภัย
คำฟ้องเรียกค่าเสียหายในคดีละเมิดได้บรรยายชัดแจ้งพอสมควรว่าโจทก์ได้รับความเสียหายอย่างไร ค่าเสียหายแต่ละรายการเป็นจำนวนเงินเท่าใด จึงไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม เพราะหลักฐานและรายละเอียดเกี่ยวกับค่าเสียหายเป็นเรื่องที่โจทก์จะนำสืบในชั้นพิจารณา
ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 เดิมสามีเป็นผู้จัดการสินบริคณห์และมีสิทธิฟ้องคดีเกี่ยวกับการสงวนบำรุงรักษาหรือการใด ๆ เพื่อประโยชน์แก่สินบริคณห์ โจทก์สมรสกับภริยาก่อนใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ได้ตรวจชำระใหม่ จึงมีอำนาจฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนในมูลละเมิด เพื่อความเสียหายที่เกิดแก่ทรัพย์สินอันเป็นการฟ้องคดีเพื่อประโยชน์แก่สินบริคณห์ได้ เพราะบทบัญญัติบรรพ 5 ที่ตรวจชำระใหม่ ไม่กระทบกระเทือนถึงอำนาจจัดการสินบริคณห์ที่คู่สมรสได้มีอยู่แล้ว
โจทก์จำเป็นที่จะต้องได้รับการผ่าตัดมือและเท้าอีกครั้งหนึ่งเพื่อให้สามารถใช้การได้เป็นปกติ แต่โจทก์กะประมาณค่าใช้จ่ายในการผ่าตัดโดยปราศจากพยานสนับสนุน เป็นการพ้นวิสัยที่ศาลจะหยั่งรู้ได้แน่นอนความเสียหายมีเพียงใด ศาลจึงมีอำนาจกำหนดค่าเสียหายในส่วนนี้ และสงวนสิทธิที่จะแก้ไขคำพิพากษาภายในกำหนดเวลาใดเวลาหนึ่งได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 444 วรรคสอง
จำเลย ที่ 2 ผู้เอาประกันภัยจะปฏิบัติผิดเงื่อนไขในกรมธรรม์ประกันภัยหรือไม่ เป็นเรื่องที่จำเลยที่ 3 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยจะว่ากล่าวเอาแก่จำเลย ที่ 2 ผู้เป็นคู่สัญญา แต่จะยกเหตุดังกล่าวมาอ้างเพื่อปฏิเสธความรับผิดต่อโจทก์ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกและมีสิทธิได้รับประโยชน์ตามสัญญาระหว่างจำเลย ที่ 2 กับจำเลย ที่ 3 หาได้ไม่
เมื่อศาลฎีกาวินิจฉัยให้ลดค่าเสียหายซึ่งจำเลย ที่ 2 จะต้องชดใช้ให้โจทก์น้อยลง และการชำระหนี้ไม่อาจแบ่งแยกได้ จึงมีอำนาจพิพากษาให้มีผลถึงจำเลย ที่ 1 ซึ่งมิได้ฎีกาด้วยได้
ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 เดิมสามีเป็นผู้จัดการสินบริคณห์และมีสิทธิฟ้องคดีเกี่ยวกับการสงวนบำรุงรักษาหรือการใด ๆ เพื่อประโยชน์แก่สินบริคณห์ โจทก์สมรสกับภริยาก่อนใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ได้ตรวจชำระใหม่ จึงมีอำนาจฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนในมูลละเมิด เพื่อความเสียหายที่เกิดแก่ทรัพย์สินอันเป็นการฟ้องคดีเพื่อประโยชน์แก่สินบริคณห์ได้ เพราะบทบัญญัติบรรพ 5 ที่ตรวจชำระใหม่ ไม่กระทบกระเทือนถึงอำนาจจัดการสินบริคณห์ที่คู่สมรสได้มีอยู่แล้ว
โจทก์จำเป็นที่จะต้องได้รับการผ่าตัดมือและเท้าอีกครั้งหนึ่งเพื่อให้สามารถใช้การได้เป็นปกติ แต่โจทก์กะประมาณค่าใช้จ่ายในการผ่าตัดโดยปราศจากพยานสนับสนุน เป็นการพ้นวิสัยที่ศาลจะหยั่งรู้ได้แน่นอนความเสียหายมีเพียงใด ศาลจึงมีอำนาจกำหนดค่าเสียหายในส่วนนี้ และสงวนสิทธิที่จะแก้ไขคำพิพากษาภายในกำหนดเวลาใดเวลาหนึ่งได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 444 วรรคสอง
จำเลย ที่ 2 ผู้เอาประกันภัยจะปฏิบัติผิดเงื่อนไขในกรมธรรม์ประกันภัยหรือไม่ เป็นเรื่องที่จำเลยที่ 3 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยจะว่ากล่าวเอาแก่จำเลย ที่ 2 ผู้เป็นคู่สัญญา แต่จะยกเหตุดังกล่าวมาอ้างเพื่อปฏิเสธความรับผิดต่อโจทก์ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกและมีสิทธิได้รับประโยชน์ตามสัญญาระหว่างจำเลย ที่ 2 กับจำเลย ที่ 3 หาได้ไม่
เมื่อศาลฎีกาวินิจฉัยให้ลดค่าเสียหายซึ่งจำเลย ที่ 2 จะต้องชดใช้ให้โจทก์น้อยลง และการชำระหนี้ไม่อาจแบ่งแยกได้ จึงมีอำนาจพิพากษาให้มีผลถึงจำเลย ที่ 1 ซึ่งมิได้ฎีกาด้วยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1182/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ละเมิดจากการขับรถประมาท, ค่าเสียหาย, การจัดการสินบริคณห์, การรับประกันภัย, และความรับผิดของผู้เกี่ยวข้อง
คำฟ้องเรียกค่าเสียหายในคดีละเมิดได้บรรยายชัดแจ้งพอสมควรว่าโจทก์ได้รับความเสียหายอย่างไร ค่าเสียหายแต่ละรายการเป็นจำนวนเงินเท่าใดจึงไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุมเพราะหลักฐานและรายละเอียดเกี่ยวกับค่าเสียหายเป็นเรื่องที่โจทก์จะนำสืบในชั้นพิจารณา ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ5เดิมสามีเป็นผู้จัดการสินบริคณห์และมีสิทธิฟ้องคดีเกี่ยวกับการสงวนบำรุงรักษาหรือการใดๆเพื่อประโยชน์แก่สินบริคณห์ โจทก์สมรสกับภริยาก่อนใช้บทบัญญัติบรรพ5แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ได้ตรวจชำระใหม่จึงมีอำนาจฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนในมูลละเมิดเพื่อความเสียหายที่เกิดแก่ทรัพย์สินอันเป็นการฟ้องคดีเพื่อประโยชน์แก่สินบริคณห์ได้เพราะบทบัญญัติบรรพ5ที่ตรวจชำระใหม่ไม่กระทบกระเทือนถึงอำนาจจัดการสินบริคณห์ที่คู่สมรสได้มีอยู่แล้ว โจทก์จำเป็นที่จะต้องได้รับการผ่าตัดมือและเท้าอีกครั้งหนึ่งเพื่อให้สามารถใช้การได้เป็นปกติแต่โจทก์กะประมาณค่าใช้จ่ายในการผ่าตัดโดยปราศจากพยานสนับสนุนเป็นการพ้นวิสัยที่ศาลจะหยั่งรู้ได้แน่นอนความเสียหายมีเพียงใดศาลจึงมีอำนาจกำหนดค่าเสียหายในส่วนนี้และสงวนสิทธิที่จะแก้ไขคำพิพากษาภายในกำหนดเวลาใดเวลาหนึ่งได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 444 วรรคสอง จำเลย ที่ 2 ผู้เอาประกันภัยจะปฏิบัติผิดเงื่อนไขในกรมธรรม์ประกันภัยหรือไม่เป็นเรื่องที่จำเลย ที่ 3 ซึ่งเป็นผู้รับประกันภัยจะว่ากล่าวเอาแก่จำเลย ที่ 2 ผู้เป็นคู่สัญญาแต่จะยกเหตุดังกล่าวมาอ้างเพื่อปฏิเสธความรับผิดต่อโจทก์ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกและมีสิทธิได้รับประโยชน์ตามสัญญาระหว่างจำเลย ที่ 2 กับจำเลย ที่ 3 หาได้ไม่ เมื่อศาลฎีกาวินิจฉัยให้ลดค่าเสียหายซึ่งจำเลย ที่ 2 จะต้องชดใช้ให้โจทก์น้อยลงและการชำระหนี้ไม่อาจแบ่งแยกได้จึงมีอำนาจพิพากษาให้มีผลถึงจำเลย ที่ 1 ซึ่งมิได้ฎีกาด้วยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3945/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคิดดอกเบี้ยทบต้นในสัญญากู้ยืมและขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกัน
โจทก์มอบให้ทนายมีหนังสือบอกกล่าวให้จำเลยชำระหนี้กู้ เบิกเงินเกินบัญชี และไถ่ถอนจำนองให้เสร็จสิ้นภายใน 30 วัน นับแต่ วันที่ได้รับหนังสือจำเลยได้รับหนังสือบอกกล่าววันที่ 18 สิงหาคม 2522 ถือได้ว่ามีการเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัดตั้งแต่วันที่ครบกำหนดตามที่ บอกกล่าวคือในวันที่ 17 กันยายน 2522 โจทก์จึงมีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบต้นเพียงวันที่ 17 กันยายน 2522 ต่อจากนั้นคงคิดได้แต่ดอกเบี้ยตามธรรมดา
ผู้ค้ำประกันย่อมต้องรับผิดตามสัญญาค้ำประกันเพียงเท่าที่ตนยอมค้ำประกัน ข้อสัญญาที่ผู้รับจำนองค้ำประกันมีสิทธิบังคับจำนองสำหรับหนี้ต้นเงินที่เกินวงเงินจำนองค้ำประกันด้วยนั้น เป็นการให้ผู้ค้ำประกันต้องรับผิดเกินกว่าที่ตนยอมค้ำประกัน ผู้ค้ำประกันจึงไม่ต้องรับผิดในต้นเงินที่เกินกว่าที่กำหนดไว้ในสัญญาค้ำประกัน
จำเลยที่ 2 ทำสัญญาค้ำประกันจำเลยที่ 1 ในวงเงิน 30,000 บาทปรากฏตามสัญญาบัญชีเดินสะพัดของจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้โจทก์ครั้งสุดท้ายในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2520 เป็นเงิน 16,031 บาท69 สตางค์โจทก์มีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบต้นตั้งแต่วันนี้ ส่วนวิธีคิดดอกเบี้ยทบต้นเพื่อให้ผู้ค้ำประกันรับผิดนั้นต้องดูรายการที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้โจทก์เต็มตามวงเงินที่ค้ำประกันเป็นวันเริ่มต้นคิดดอกเบี้ยทบต้น ปรากฏตามรายการบัญชีเดินสะพัดว่าจำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้โจทก์เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2520 เป็นเงิน 43,031 บาท 69 สตางค์ จึงให้ถือเอา วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2520 เป็นวันเริ่มต้นคิดดอกเบี้ยทบต้นในต้นเงิน 30,000 บาท ตามสัญญาค้ำประกันของจำเลยที่ 2 จนถึงวันที่ 17 กันยายน 2522 อันเป็นวันสุดท้ายที่โจทก์มีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบต้น ต่อจากนั้นให้คิดดอกเบี้ยตามปกติ
การที่จำเลยที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ในฐานะผู้ค้ำประกันต้องรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมจึงเป็นหนี้ที่ไม่อาจแบ่งแยกได้ ดังนั้นแม้จำเลยที่ 4 จะมิได้ฎีกาศาลฎีกาก็มีอำนาจพิพากษาให้มีผลถึงจำเลยที่ 4 ได้
ผู้ค้ำประกันย่อมต้องรับผิดตามสัญญาค้ำประกันเพียงเท่าที่ตนยอมค้ำประกัน ข้อสัญญาที่ผู้รับจำนองค้ำประกันมีสิทธิบังคับจำนองสำหรับหนี้ต้นเงินที่เกินวงเงินจำนองค้ำประกันด้วยนั้น เป็นการให้ผู้ค้ำประกันต้องรับผิดเกินกว่าที่ตนยอมค้ำประกัน ผู้ค้ำประกันจึงไม่ต้องรับผิดในต้นเงินที่เกินกว่าที่กำหนดไว้ในสัญญาค้ำประกัน
จำเลยที่ 2 ทำสัญญาค้ำประกันจำเลยที่ 1 ในวงเงิน 30,000 บาทปรากฏตามสัญญาบัญชีเดินสะพัดของจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้โจทก์ครั้งสุดท้ายในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2520 เป็นเงิน 16,031 บาท69 สตางค์โจทก์มีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบต้นตั้งแต่วันนี้ ส่วนวิธีคิดดอกเบี้ยทบต้นเพื่อให้ผู้ค้ำประกันรับผิดนั้นต้องดูรายการที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้โจทก์เต็มตามวงเงินที่ค้ำประกันเป็นวันเริ่มต้นคิดดอกเบี้ยทบต้น ปรากฏตามรายการบัญชีเดินสะพัดว่าจำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้โจทก์เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2520 เป็นเงิน 43,031 บาท 69 สตางค์ จึงให้ถือเอา วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2520 เป็นวันเริ่มต้นคิดดอกเบี้ยทบต้นในต้นเงิน 30,000 บาท ตามสัญญาค้ำประกันของจำเลยที่ 2 จนถึงวันที่ 17 กันยายน 2522 อันเป็นวันสุดท้ายที่โจทก์มีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบต้น ต่อจากนั้นให้คิดดอกเบี้ยตามปกติ
การที่จำเลยที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ในฐานะผู้ค้ำประกันต้องรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมจึงเป็นหนี้ที่ไม่อาจแบ่งแยกได้ ดังนั้นแม้จำเลยที่ 4 จะมิได้ฎีกาศาลฎีกาก็มีอำนาจพิพากษาให้มีผลถึงจำเลยที่ 4 ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3945/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนี้ค้ำประกัน, ดอกเบี้ยทบต้น, ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกัน, หนี้ร่วม
โจทก์มอบให้ทนายมีหนัสือบอกกล่าวให้จำเลยชำระหนี้กู้เบิกเงินเกินบัญชี และไถ่ถอนจำนองให้เสร็จสิ้นภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือ จำเลยได้รับหนังสือบอกกล่าววันที่ 18 สิงหาคม 2522 ถือได้ว่ามีการเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัดตั้งแต่วันที่ครบกำหนดตามที่บอกกล่าวคือในวันที่ 17 กันยายน 2522 โจทก์จึงมีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบต้นเพียงวันที่ 17 กันยายน 2522 ต่อจากนั้นคงคิดได้แต่ดอกเบี้ยตามธรรมดา
ผู้ค้ำประกันย่อมต้องรับผิดตามสัญญาค้ำประกันเพียงเท่าที่ตนยอมค้ำประกัน ข้อสัญญาที่ผู้รับจำนองค้ำประกันมีสิทธิบังคับจำนองสำหรับหนี้ต้นเงินที่เกินวงเงินจำนองค้ำประกันด้วยนั้น เป็นการให้ผู้ค้ำประกันต้องรับผิดเกินกว่าที่ตนยอมค้ำประกัน ผู้ค้ำประกันจึงไม่ต้องรับผิดในต้นเงินที่เกินกว่าที่กำหนดไว้ในสัญญาค้ำประกัน
จำเลยที่ 2 ทำสัญญาค้ำประกันจำเลยที่ 1 ในวงเงิน 30,000 บาท ปรากฏตามสัญญาบัญชีเดินสะพัดของจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้โจทก์ครั้งสุดท้ายในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2520 เป็นเงิน 16,031 บาท 69 สตางค์ โจทก์มีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบต้นตั้งแต่วันนี้ ส่วนวิธีคิดดอกเบี้ยทบต้นเพื่อให้ผู้ค้ำประกันรับผิดนั้นต้องดูรายการที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้โจทก์เต็มตามวงเงินที่ค้ำประกันเป็นวันเริ่มต้นคิดดอกเบี้ยทบต้น ปรากฏตามรายการบัญชีเดินสะพัดว่าจำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้โจทก์เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2520 เป็นเงิน 43,031 บาท 69 สตางค์ จึงให้ถือเอาวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2520 เป็นวันเริ่มต้นคิดดอกเบี้ยทบต้นในต้นเงิน 30,000 บาท ตามสัญญาค้ำประกันของจำเลยที่ 2 จนถึงวันที่ 17 กันยายน 2522 อันเป็นวันสุดท้ายที่โจทก์มีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบต้น ต่อจากนั้นให้คิดดอกเบี้ยตามปกติ
การที่จำเลยที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ในฐานะผู้ค้ำประกันต้องรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมจึงเป็นหนี้ที่ไม่อาจแบ่งแยกได้ ดังนั้นแม้จำเลยที่ 4 จะมิได้ฎีกา ศาลฎีกาก็มีอำนาจพิพากษาให้มีผลถึงจำเลยที่ 4 ได้
ผู้ค้ำประกันย่อมต้องรับผิดตามสัญญาค้ำประกันเพียงเท่าที่ตนยอมค้ำประกัน ข้อสัญญาที่ผู้รับจำนองค้ำประกันมีสิทธิบังคับจำนองสำหรับหนี้ต้นเงินที่เกินวงเงินจำนองค้ำประกันด้วยนั้น เป็นการให้ผู้ค้ำประกันต้องรับผิดเกินกว่าที่ตนยอมค้ำประกัน ผู้ค้ำประกันจึงไม่ต้องรับผิดในต้นเงินที่เกินกว่าที่กำหนดไว้ในสัญญาค้ำประกัน
จำเลยที่ 2 ทำสัญญาค้ำประกันจำเลยที่ 1 ในวงเงิน 30,000 บาท ปรากฏตามสัญญาบัญชีเดินสะพัดของจำเลยที่ 1 ว่า จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้โจทก์ครั้งสุดท้ายในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2520 เป็นเงิน 16,031 บาท 69 สตางค์ โจทก์มีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบต้นตั้งแต่วันนี้ ส่วนวิธีคิดดอกเบี้ยทบต้นเพื่อให้ผู้ค้ำประกันรับผิดนั้นต้องดูรายการที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้โจทก์เต็มตามวงเงินที่ค้ำประกันเป็นวันเริ่มต้นคิดดอกเบี้ยทบต้น ปรากฏตามรายการบัญชีเดินสะพัดว่าจำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้โจทก์เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2520 เป็นเงิน 43,031 บาท 69 สตางค์ จึงให้ถือเอาวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2520 เป็นวันเริ่มต้นคิดดอกเบี้ยทบต้นในต้นเงิน 30,000 บาท ตามสัญญาค้ำประกันของจำเลยที่ 2 จนถึงวันที่ 17 กันยายน 2522 อันเป็นวันสุดท้ายที่โจทก์มีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบต้น ต่อจากนั้นให้คิดดอกเบี้ยตามปกติ
การที่จำเลยที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 ในฐานะผู้ค้ำประกันต้องรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมจึงเป็นหนี้ที่ไม่อาจแบ่งแยกได้ ดังนั้นแม้จำเลยที่ 4 จะมิได้ฎีกา ศาลฎีกาก็มีอำนาจพิพากษาให้มีผลถึงจำเลยที่ 4 ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1980/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การมอบอำนาจไม่ชอบด้วยกฎหมายส่งผลให้กระบวนพิจารณาคดีเป็นโมฆะ
เมื่อศาลชั้นต้นส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้จำเลยเพื่อทำคำให้การแก้คดีแล้ว จำเลยโดย ป. ผู้รับมอบอำนาจได้แต่งตั้งให้ ส. เป็นทนายความของจำเลย ส. ยื่นคำให้การของจำเลยและดำเนินกระบวนพิจารณาแทนจำเลยต่อมาจนเสร็จคดี แต่ไม่ปรากฏว่าจำเลยได้มอบอำนาจให้ บ. ดำเนินคดีแทน ดังนั้นการที่ บ. เข้ามาดำเนินคดีแทนจำเลยก็ดี แต่งตั้งให้ ส.เป็นทนายจำเลยก็ดี และการที่ ส. ดำเนินกระบวนพิจารณาแทนจำเลยต่อมาจนเสร็จคดีก็ดี จึงเป็นการกระทำของบุคคลภายนอกที่ไม่มีอำนาจดำเนินกระบวนพิจารณาแทน จำเลย การดำเนินกระบวนพิจารณาของบุคคลดังกล่าวจึงเป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมายและไม่ผูกพันจำเลย
กรณีดังกล่าวข้างต้นเป็นเรื่องที่มิได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งในข้อที่มุ่งหมายจะยังให้การเป็นไปด้วยความยุติธรรม และเป็นข้อกฎหมายที่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 27 แม้จะไม่มีคู่ความฝ่ายใดยกขึ้นอ้าง เมื่อความปรากฏแก่ศาลฎีกา ศาลฎีกาย่อมมีอำนาจยกปัญหานี้ขึ้นวินิจฉัยและให้เพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ไม่ชอบนั้นได้ เมื่อปรากฏว่าจำเลยทั้งหมดถูกฟ้องให้รับผิดร่วมกันอันเป็นหนี้ร่วม ก็สมควรให้ยกคำพิพากษาของศาลล่างตลอดไปถึงจำเลยอื่นด้วย
(วรรคสองอ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 345/2520)
กรณีดังกล่าวข้างต้นเป็นเรื่องที่มิได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งในข้อที่มุ่งหมายจะยังให้การเป็นไปด้วยความยุติธรรม และเป็นข้อกฎหมายที่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 27 แม้จะไม่มีคู่ความฝ่ายใดยกขึ้นอ้าง เมื่อความปรากฏแก่ศาลฎีกา ศาลฎีกาย่อมมีอำนาจยกปัญหานี้ขึ้นวินิจฉัยและให้เพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ไม่ชอบนั้นได้ เมื่อปรากฏว่าจำเลยทั้งหมดถูกฟ้องให้รับผิดร่วมกันอันเป็นหนี้ร่วม ก็สมควรให้ยกคำพิพากษาของศาลล่างตลอดไปถึงจำเลยอื่นด้วย
(วรรคสองอ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 345/2520)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1980/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การมอบอำนาจไม่ชอบด้วยกฎหมาย: การดำเนินคดีโดยผู้ไม่มีอำนาจส่งผลให้กระบวนการพิจารณาเป็นโมฆะ
เมื่อศาลชั้นต้นส่งหมายเรียกและสำเนาคำฟ้องให้จำเลยเพื่อทำคำให้การแก้คดีแล้ว จำเลยโดย ป. ผู้รับมอบอำนาจได้แต่งตั้งให้ ส.เป็นทนายความของจำเลย ส. ยื่นคำให้การของจำเลยและดำเนินกระบวนพิจารณาแทนจำเลยต่อมาจนเสร็จคดีแต่ไม่ปรากฏว่าจำเลยได้มอบอำนาจให้ ป. ดำเนินคดีแทนดังนั้น การที่ บ. เข้ามาดำเนินคดีแทนจำเลยก็ดี แต่งตั้งให้ ส. เป็นทนายจำเลยก็ดี และการที่ ส.ดำเนินกระบวนพิจารณาแทนจำเลยต่อมาจนเสร็จคดีก็ดี จึงเป็นการกระทำของบุคคลภายนอกที่ไม่มีอำนาจดำเนินกระบวนพิจารณาแทน จำเลย การดำเนินกระบวนพิจารณาของบุคคลดังกล่าวจึงเป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมายและไม่ผูกพันจำเลย
กรณีดังกล่าวข้างต้นเป็นเรื่องที่มิได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งในข้อที่มุ่งหมายจะยังให้การเป็นไปด้วยความยุติธรรม และเป็นข้อกฎหมายที่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 27 แม้จะไม่มีคู่ความฝ่ายใดยกขึ้นอ้าง เมื่อความปรากฏแก่ศาลฎีกา ศาลฎีกาย่อมมีอำนาจยกปัญหานี้ขึ้นวินิจฉัยและให้เพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ไม่ชอบนั้นได้ เมื่อปรากฏว่าจำเลยทั้งหมดถูกฟ้องให้รับผิดร่วมกันอันเป็นหนี้ร่วม ก็สมควรให้ยกคำพิพากษาของศาลล่างตลอดไปถึงจำเลยอื่นด้วย (วรรคสองอ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 345/2520)
กรณีดังกล่าวข้างต้นเป็นเรื่องที่มิได้ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งในข้อที่มุ่งหมายจะยังให้การเป็นไปด้วยความยุติธรรม และเป็นข้อกฎหมายที่เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 27 แม้จะไม่มีคู่ความฝ่ายใดยกขึ้นอ้าง เมื่อความปรากฏแก่ศาลฎีกา ศาลฎีกาย่อมมีอำนาจยกปัญหานี้ขึ้นวินิจฉัยและให้เพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ไม่ชอบนั้นได้ เมื่อปรากฏว่าจำเลยทั้งหมดถูกฟ้องให้รับผิดร่วมกันอันเป็นหนี้ร่วม ก็สมควรให้ยกคำพิพากษาของศาลล่างตลอดไปถึงจำเลยอื่นด้วย (วรรคสองอ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 345/2520)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 819/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาการศึกษาทุนรัฐบาล ความรับผิดของลูกหนี้และผู้ค้ำประกัน การลดเบี้ยปรับ
ขณะทำสัญญากับจำเลย ภ. ดำรงตำแหน่งรองเลขาธิการสภาการศึกษาแห่งชาติ ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ คือโจทก์ ซึ่งมีฐานะเป็นกรมในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี การลงนามในสัญญาดังกล่าวเป็นการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ตามระเบียบแบบแผนและตามที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการของโจทก์ ดังนี้ถือได้ว่า ภ. ได้กระทำการไปในฐานะเป็นผู้ที่ได้รับมอบหมายจากโจทก์มีอำนาจลงนามในสัญญาแทนโจทก์ได้โดยชอบ โดยไม่จำต้องมีการมอบอำนาจเพื่อการนี้อีก
เงินทุนมูลนิธิฟอร์ดมอบให้แก่รัฐบาลไทยเพื่อเป็นการช่วยเหลือในการจัดส่งข้าราชการไปศึกษาอบรมและฝึกงาน ณต่างประเทศ เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการไทยเมื่อโจทก์ติดต่อจนได้รับทุนมาแล้วได้จัดส่งจำเลยที่ 1 ไปศึกษาณ ต่างประเทศ โดยโจทก์จำเลยทำสัญญากันว่า เมื่อเสร็จการศึกษาแล้วจำเลยที่ 1 จะต้องกลับมารับราชการในสังกัดโจทก์ ดังนี้ วัตถุประสงค์ของสัญญาที่ทำกันไว้หาได้ขัดต่อกฎหมายหรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนไม่ จำเลยที่ 1 จึงต้องผูกพันตามข้อสัญญาที่ทำไว้
จำเลยที่ 1 ได้ชำระเงินเดือนที่ได้รับไปจากโจทก์พร้อมด้วยเบี้ยปรับอีกหนึ่งเท่าของเงินเดือนคืนให้แก่โจทก์อันเป็นการบรรเทาความเสียหายให้แก่โจทก์ส่วนหนึ่งแล้วจำเลยที่ 2 เป็นแต่เพียงผู้ค้ำประกัน จำเลยที่ 2 ยอมตนเข้าผูกพันค้ำประกันจำเลยที่ 1 ก็เพื่อประโยชน์แก่การศึกษาของจำเลยที่ 1 และประโยชน์อันจะพึงมีแก่โจทก์โดยส่วนรวมแต่ถ่ายเดียว จึงมีเหตุผลที่ควรได้รับความเห็นใจ เห็นได้ว่าในกรณีเช่นนี้การคิดเอาเบี้ยปรับจากจำเลยที่ 2 อีกเท่าหนึ่งของจำนวนเงินทุนที่ต้องชดใช้คืนน่าจะสูงเกินส่วน สมควรลดเบี้ยปรับเฉพาะส่วนนี้ลงกึ่งหนึ่ง
จำเลยที่ 2 ผู้ค้ำประกันฎีกาขอให้ลดจำนวนเบี้ยปรับแต่เพียงผู้เดียวเมื่อศาลฎีกาเห็นสมควรลดเบี้ยปรับและกรณีเป็นหนี้ร่วมกันจะแบ่งแยกมิได้ ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาให้เป็นคุณแก่จำเลยที่ 1 ได้
เงินทุนมูลนิธิฟอร์ดมอบให้แก่รัฐบาลไทยเพื่อเป็นการช่วยเหลือในการจัดส่งข้าราชการไปศึกษาอบรมและฝึกงาน ณต่างประเทศ เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการไทยเมื่อโจทก์ติดต่อจนได้รับทุนมาแล้วได้จัดส่งจำเลยที่ 1 ไปศึกษาณ ต่างประเทศ โดยโจทก์จำเลยทำสัญญากันว่า เมื่อเสร็จการศึกษาแล้วจำเลยที่ 1 จะต้องกลับมารับราชการในสังกัดโจทก์ ดังนี้ วัตถุประสงค์ของสัญญาที่ทำกันไว้หาได้ขัดต่อกฎหมายหรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนไม่ จำเลยที่ 1 จึงต้องผูกพันตามข้อสัญญาที่ทำไว้
จำเลยที่ 1 ได้ชำระเงินเดือนที่ได้รับไปจากโจทก์พร้อมด้วยเบี้ยปรับอีกหนึ่งเท่าของเงินเดือนคืนให้แก่โจทก์อันเป็นการบรรเทาความเสียหายให้แก่โจทก์ส่วนหนึ่งแล้วจำเลยที่ 2 เป็นแต่เพียงผู้ค้ำประกัน จำเลยที่ 2 ยอมตนเข้าผูกพันค้ำประกันจำเลยที่ 1 ก็เพื่อประโยชน์แก่การศึกษาของจำเลยที่ 1 และประโยชน์อันจะพึงมีแก่โจทก์โดยส่วนรวมแต่ถ่ายเดียว จึงมีเหตุผลที่ควรได้รับความเห็นใจ เห็นได้ว่าในกรณีเช่นนี้การคิดเอาเบี้ยปรับจากจำเลยที่ 2 อีกเท่าหนึ่งของจำนวนเงินทุนที่ต้องชดใช้คืนน่าจะสูงเกินส่วน สมควรลดเบี้ยปรับเฉพาะส่วนนี้ลงกึ่งหนึ่ง
จำเลยที่ 2 ผู้ค้ำประกันฎีกาขอให้ลดจำนวนเบี้ยปรับแต่เพียงผู้เดียวเมื่อศาลฎีกาเห็นสมควรลดเบี้ยปรับและกรณีเป็นหนี้ร่วมกันจะแบ่งแยกมิได้ ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาให้เป็นคุณแก่จำเลยที่ 1 ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 819/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจลงนามสัญญา, สัญญาค้ำประกัน, และการลดเบี้ยปรับจากสัญญาที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย
ขณะทำสัญญากับจำเลย ภ. ดำรงตำแหน่งรองเลขาธิการสภาการศึกษาแห่งชาติ ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ คือโจทก์ ซึ่งมีฐานะเป็นกรมในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี การลงนามในสัญญาดังกล่าวเป็นการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ตามระเบียบแบบแผนและตามที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการของโจทก์ ดังนี้ถือได้ว่า ภ. ได้กระทำการไปในฐานะเป็นผู้ที่ได้รับมอบหมายจากโจทก์มีอำนาจลงนามในสัญญาแทนโจทก์ได้โดยชอบ โดยไม่จำต้องมีการมอบอำนาจเพื่อการนี้อีก
เงินทุนมูลนิธิฟอร์ดมอบให้แก่รัฐบาลไทยเพื่อเป็นการช่วยเหลือในการจัดส่งข้าราชการไปศึกษาอบรมและฝึกงาน ณ ต่างประเทศเพื่อประโยชน์แก่ทางราชการไทยเมื่อโจทก์ติดต่อจนได้รับทุนมาแล้วได้จัดส่งจำเลยที่ 1 ไปศึกษา ณ ต่างประเทศ โดยโจทก์จำเลยทำสัญญากันว่า เมื่อเสร็จการศึกษาแล้วจำเลยที่ 1 จะต้องกลับมารับราชการในสังกัดโจทก์ ดังนี้ วัตถุประสงค์ของสัญญาที่ทำกันไว้หาได้ขัดต่อกฎหมายหรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนไม่ จำเลยที่ 1 จึงต้องผูกพันตามข้อสัญญาที่ทำไว้
จำเลยที่ 1 ได้ชำระเงินเดือนที่ได้รับไปจากโจทก์พร้อมด้วยเบี้ยปรับอีกหนึ่งเท่าของเงินเดือนคืนให้แก่โจทก์ อันเป็นการบรรเทาความเสียหายให้แก่โจทก์ส่วนหนึ่งแล้ว จำเลยที่ 2 เป็นแต่เพียงผู้ค้ำประกัน จำเลยที่ 2 ยอมตนเข้าผูกพันค้ำประกันจำเลยที่ 1 ก็เพื่อประโยชน์แก่การศึกษาของจำเลยที่ 1 และประโยชน์อันจะพึงมีแก่โจทก์โดยส่วนรวมแต่ถ่ายเดียว จึงมีเหตุผลที่ควรได้รับความเห็นใจ เห็นได้ว่าในกรณีเช่นนี้การคิดเอาเบี้ยปรับจากจำเลยที่ 2 อีกเท่าหนึ่งของจำนวนเงินทุนที่ต้องชดใช้คืนน่าจะสูงเกินส่วน สมควรลดเบี้ยปรับเฉพาะส่วนนี้ลงกึ่งหนึ่ง
จำเลยที่ 2 ผู้ค้ำประกันฎีกาขอให้ลดจำนวนเบี้ยปรับแต่เพียงผู้เดียวเมื่อศาลฎีกาเห็นสมควรลดเบี้ยปรับและกรณีเป็นหนี้ร่วมกันจะแบ่งแยกมิได้ ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาให้เป็นคุณแก่จำเลยที่ 1 ได้
เงินทุนมูลนิธิฟอร์ดมอบให้แก่รัฐบาลไทยเพื่อเป็นการช่วยเหลือในการจัดส่งข้าราชการไปศึกษาอบรมและฝึกงาน ณ ต่างประเทศเพื่อประโยชน์แก่ทางราชการไทยเมื่อโจทก์ติดต่อจนได้รับทุนมาแล้วได้จัดส่งจำเลยที่ 1 ไปศึกษา ณ ต่างประเทศ โดยโจทก์จำเลยทำสัญญากันว่า เมื่อเสร็จการศึกษาแล้วจำเลยที่ 1 จะต้องกลับมารับราชการในสังกัดโจทก์ ดังนี้ วัตถุประสงค์ของสัญญาที่ทำกันไว้หาได้ขัดต่อกฎหมายหรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนไม่ จำเลยที่ 1 จึงต้องผูกพันตามข้อสัญญาที่ทำไว้
จำเลยที่ 1 ได้ชำระเงินเดือนที่ได้รับไปจากโจทก์พร้อมด้วยเบี้ยปรับอีกหนึ่งเท่าของเงินเดือนคืนให้แก่โจทก์ อันเป็นการบรรเทาความเสียหายให้แก่โจทก์ส่วนหนึ่งแล้ว จำเลยที่ 2 เป็นแต่เพียงผู้ค้ำประกัน จำเลยที่ 2 ยอมตนเข้าผูกพันค้ำประกันจำเลยที่ 1 ก็เพื่อประโยชน์แก่การศึกษาของจำเลยที่ 1 และประโยชน์อันจะพึงมีแก่โจทก์โดยส่วนรวมแต่ถ่ายเดียว จึงมีเหตุผลที่ควรได้รับความเห็นใจ เห็นได้ว่าในกรณีเช่นนี้การคิดเอาเบี้ยปรับจากจำเลยที่ 2 อีกเท่าหนึ่งของจำนวนเงินทุนที่ต้องชดใช้คืนน่าจะสูงเกินส่วน สมควรลดเบี้ยปรับเฉพาะส่วนนี้ลงกึ่งหนึ่ง
จำเลยที่ 2 ผู้ค้ำประกันฎีกาขอให้ลดจำนวนเบี้ยปรับแต่เพียงผู้เดียวเมื่อศาลฎีกาเห็นสมควรลดเบี้ยปรับและกรณีเป็นหนี้ร่วมกันจะแบ่งแยกมิได้ ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาให้เป็นคุณแก่จำเลยที่ 1 ได้