พบผลลัพธ์ทั้งหมด 339 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 791/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าปรับในสัญญา, ความเสียหายจากการผิดสัญญา, เหตุสุดวิสัย, และการซื้อของทดแทน
เหตุสุดวิสัยที่จำเลยอ้างมานั้นเกิดขึ้นภายหลังจากที่จำเลยผิดสัญญาส่งเหล็กให้แก่โจทก์แล้วประมาณ 7 เดือน จำเลยอ้างเหตุนี้ขึ้นเป็นข้อแก้ตัวเพื่อจะไม่ต้องรับผิดตามสัญญาหาได้ไม่
การให้ค่าสินไหมทดแทนความเสียหายในกรณีผิดสัญญานั้นก็เพื่อที่จะชดใช้และให้ความพอใจแก่ฝ่ายที่ไม่ผิดสัญญาสำหรับความเสียหายที่ฝ่ายนั้นได้รับจริง ๆ กฎหมายไม่ประสงค์ให้มีการค้ากำไรในการผิดสัญญา
เบี้ยปรับนั้นก็คือค่าเสียหายที่คู่สัญญาตกลงกันไว้ล่วงหน้านั่นเองเบี้ยปรับจึงเป็นส่วนหนึ่งของค่าเสียหาย โดยเหตุนี้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 383 จึงบัญญัติไว้ว่า ถ้าเบี้ยปรับนั้นสูงเกินส่วน ศาลจะลดลงก็ได้และตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 380 วรรคสอง ก็บัญญัติไว้ว่า ให้เจ้าหนี้เรียกค่าเสียหายได้เต็มจำนวนที่เสียไป โดยให้คิดเบี้ยปรับรวมอยู่ในนั้นด้วย คือให้ถือว่าเบี้ยปรับเป็นจำนวนน้อยที่สุดของค่าเสียหาย
เมื่อศาลพิพากษาให้โจทก์ได้รับค่าเสียหายเต็มจำนวนที่โจทก์ได้รับความเสียหายแล้ว โจทก์จะเรียกร้องให้จำเลยเสียเบี้ยปรับให้โจทก์อีกไม่ได้เพราะเป็นการเรียกร้องที่นอกเหนือไปจากความเสียหายที่โจทก์ได้รับขัดต่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 380 วรรคสอง
จำเลยผิดสัญญาไม่ส่งของให้โจทก์ตามกำหนด แต่ของที่บริษัท ท.เสนอราคามานั้น มีคุณสมบัติไม่ตรงกับที่โจทก์กำหนดไว้ ส่วนของ ฮ.มีคุณสมบัติตรงกับที่โจทก์กำหนดไว้ ฉะนั้น การที่โจทก์รับซื้อจาก ฮ. จึงไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อระเบียบปฏิบัติของทางการรถไฟแต่อย่างใดหาเป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริตไม่
การให้ค่าสินไหมทดแทนความเสียหายในกรณีผิดสัญญานั้นก็เพื่อที่จะชดใช้และให้ความพอใจแก่ฝ่ายที่ไม่ผิดสัญญาสำหรับความเสียหายที่ฝ่ายนั้นได้รับจริง ๆ กฎหมายไม่ประสงค์ให้มีการค้ากำไรในการผิดสัญญา
เบี้ยปรับนั้นก็คือค่าเสียหายที่คู่สัญญาตกลงกันไว้ล่วงหน้านั่นเองเบี้ยปรับจึงเป็นส่วนหนึ่งของค่าเสียหาย โดยเหตุนี้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 383 จึงบัญญัติไว้ว่า ถ้าเบี้ยปรับนั้นสูงเกินส่วน ศาลจะลดลงก็ได้และตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 380 วรรคสอง ก็บัญญัติไว้ว่า ให้เจ้าหนี้เรียกค่าเสียหายได้เต็มจำนวนที่เสียไป โดยให้คิดเบี้ยปรับรวมอยู่ในนั้นด้วย คือให้ถือว่าเบี้ยปรับเป็นจำนวนน้อยที่สุดของค่าเสียหาย
เมื่อศาลพิพากษาให้โจทก์ได้รับค่าเสียหายเต็มจำนวนที่โจทก์ได้รับความเสียหายแล้ว โจทก์จะเรียกร้องให้จำเลยเสียเบี้ยปรับให้โจทก์อีกไม่ได้เพราะเป็นการเรียกร้องที่นอกเหนือไปจากความเสียหายที่โจทก์ได้รับขัดต่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 380 วรรคสอง
จำเลยผิดสัญญาไม่ส่งของให้โจทก์ตามกำหนด แต่ของที่บริษัท ท.เสนอราคามานั้น มีคุณสมบัติไม่ตรงกับที่โจทก์กำหนดไว้ ส่วนของ ฮ.มีคุณสมบัติตรงกับที่โจทก์กำหนดไว้ ฉะนั้น การที่โจทก์รับซื้อจาก ฮ. จึงไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อระเบียบปฏิบัติของทางการรถไฟแต่อย่างใดหาเป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริตไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 718/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลผูกพันสัญญาประนีประนอมยอมความและการรับผิดชอบค่าเช่าหลังการโอนทรัพย์สิน
บุตรสามคนซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ร่วมกันในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันในศาลตกลงจัดผลประโยชน์ในทรัพย์สินดังกล่าวโดยการให้เช่าและให้บุตรคนหนึ่งเป็นผู้เก็บค่าเช่าส่งมอบให้บิดามารดาคนละครึ่งจนตลอดชีวิตของบิดามารดา โดยหักค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าภาษีออกเสียก่อน สัญญานี้เป็นสัญญาจะชำระหนี้แก่บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374เมื่อบิดาแสดงเจตนาถือเอาประโยชน์ตามสัญญานั้นแล้วแม้ต่อมาบุตรทั้งสามคนนั้นจะตกลงกันเลิกสัญญาและโอนขายทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่บุคคลภายนอกไป บุตรซึ่งรับเป็นผู้เก็บค่าเช่าก็ยังต้องรับผิดส่งเงินให้แก่บิดาไปจนตลอดชีวิต โดยคำนวณเงินที่จะต้องส่งจากส่วนเฉลี่ยของค่าเช่าที่เคยเก็บหักด้วยส่วนเฉลี่ยค่าภาษีที่เคยเสียบุตรหาอาจเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่
การที่ศาลประมาณเงินค่าเช่าที่บิดาควรได้จากบุตรโดยวินิจฉัยจากจำนวนค่าเช่าสูงสุดกับต่ำที่สุดเป็นหลักคำนวณส่วนเฉลี่ยนั้นมิใช่เป็นการกะประมาณเอาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438ซึ่งเป็นบทบัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจกำหนดค่าสินไหมทดแทนในกรณีละเมิด
การที่บุตรทั้งสามคนโอนขายทรัพย์ซึ่งตกลงกันจัดผลประโยชน์ให้แก่บุคคลภายนอกไปจะอ้างว่าค่าเช่าที่โจทก์จะได้ต้องระงับโดยเป็นหนี้ที่พ้นวิสัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 219 หาได้ไม่เพราะบุตรโอนขายทรัพย์ไปเอง
จำเลยฎีกาว่า โจทก์นำสืบจำนวนค่าเช่าไม่ได้แน่นอนสมฟ้อง แต่มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในฎีกาเลยว่าโจทก์นำสืบไม่สมฟ้องประการใดบ้างเป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
การที่ศาลประมาณเงินค่าเช่าที่บิดาควรได้จากบุตรโดยวินิจฉัยจากจำนวนค่าเช่าสูงสุดกับต่ำที่สุดเป็นหลักคำนวณส่วนเฉลี่ยนั้นมิใช่เป็นการกะประมาณเอาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438ซึ่งเป็นบทบัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจกำหนดค่าสินไหมทดแทนในกรณีละเมิด
การที่บุตรทั้งสามคนโอนขายทรัพย์ซึ่งตกลงกันจัดผลประโยชน์ให้แก่บุคคลภายนอกไปจะอ้างว่าค่าเช่าที่โจทก์จะได้ต้องระงับโดยเป็นหนี้ที่พ้นวิสัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 219 หาได้ไม่เพราะบุตรโอนขายทรัพย์ไปเอง
จำเลยฎีกาว่า โจทก์นำสืบจำนวนค่าเช่าไม่ได้แน่นอนสมฟ้อง แต่มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในฎีกาเลยว่าโจทก์นำสืบไม่สมฟ้องประการใดบ้างเป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 718/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความ การส่งมอบค่าเช่า และผลของการโอนทรัพย์สิน
บุตรสามคนซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ร่วมกันในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันในศาล ตกลงจัดผลประโยชน์ในทรัพย์สินดังกล่าวโดยการให้เช่าและให้บุตรคนหนึ่งเป็นผู้เก็บค่าเช่าส่งมอบให้บิดามารดาคนละครึ่งจนตลอดชีวิตของบิดามารดา โดยหักค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าภาษีออกเสียก่อน สัญญานี้เป็นสัญญาจะชำระหนี้แก่บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374 เมื่อบิดาแสดงเจตนาถือเอาประโยชน์ตามสัญญานั้นแล้ว แม้ต่อมาบุตรทั้งสามคนนั้นจะตกลงกันเลิกสัญญาและโอนขายทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่บุคคลภายนอกไป บุตรซึ่งรับเป็นผู้เก็บค่าเช่าก็ยังต้องรับผิดส่งเงินให้แก่บิดาไปจนตลอดชีวิต โดยคำนวณเงินที่จะต้องส่งจากส่วนเฉลี่ยของค่าเช่าที่เคยเก็บหักด้วยส่วนเฉลี่ยค่าภาษีที่เคยเสีย บุตรหาอาจเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่
การที่ศาลประมาณเงินค่าเช่าที่บิดาควรได้จากบุตรโดยวินิจฉัยจากจำนวนค่าเช่าสูงสุดกับต่ำที่สุดเป็นหลักคำนวณส่วนเฉลี่ยนั้น มิใช่เป็นการกะประมาณเอาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438 ซึ่งเป็นบทบัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจกำหนดค่าสินไหมทดแทนในกรณีละเมิด
การที่บุตรทั้งสามคนโอนขายทรัพย์ซึ่งตกลงกันจัดผลประโยชน์ให้แก่บุคคลภายนอกไป จะอ้างว่าค่าเช่าที่โจทก์จะได้ต้องระงับโดยเป็นหนี้ที่พ้นวิสัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 219 หาได้ไม่ เพราะบุตรโอนขายทรัพย์ไปเอง
จำเลยฎีกาว่า โจทก์นำสืบจำนวนค่าเช่าไม่ได้แน่นอนสมฟ้อง แต่มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในฎีกาเลยว่า โจทก์นำสืบไม่สมฟ้องประการใดบ้าง เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
การที่ศาลประมาณเงินค่าเช่าที่บิดาควรได้จากบุตรโดยวินิจฉัยจากจำนวนค่าเช่าสูงสุดกับต่ำที่สุดเป็นหลักคำนวณส่วนเฉลี่ยนั้น มิใช่เป็นการกะประมาณเอาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438 ซึ่งเป็นบทบัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจกำหนดค่าสินไหมทดแทนในกรณีละเมิด
การที่บุตรทั้งสามคนโอนขายทรัพย์ซึ่งตกลงกันจัดผลประโยชน์ให้แก่บุคคลภายนอกไป จะอ้างว่าค่าเช่าที่โจทก์จะได้ต้องระงับโดยเป็นหนี้ที่พ้นวิสัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 219 หาได้ไม่ เพราะบุตรโอนขายทรัพย์ไปเอง
จำเลยฎีกาว่า โจทก์นำสืบจำนวนค่าเช่าไม่ได้แน่นอนสมฟ้อง แต่มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในฎีกาเลยว่า โจทก์นำสืบไม่สมฟ้องประการใดบ้าง เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 718/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าเช่าตามสัญญายอมความ แม้มีการโอนทรัพย์สิน สัญญาผูกพันตลอดชีวิตบิดามารดา
บุตรสามคนซึ่งเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ร่วมกันในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทำสัญญาประนีประนอมยอมความกันในศาล. ตกลงจัดผลประโยชน์ในทรัพย์สินดังกล่าวโดยการให้เช่าและให้บุตรคนหนึ่งเป็นผู้เก็บค่าเช่าส่งมอบให้บิดามารดาคนละครึ่งจนตลอดชีวิตของบิดามารดา. โดยหักค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าภาษีออกเสียก่อน. สัญญานี้เป็นสัญญาจะชำระหนี้แก่บุคคลภายนอกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 374. เมื่อบิดาแสดงเจตนาถือเอาประโยชน์ตามสัญญานั้นแล้ว. แม้ต่อมาบุตรทั้งสามคนนั้นจะตกลงกันเลิกสัญญาและโอนขายทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่บุคคลภายนอกไป. บุตรซึ่งรับเป็นผู้เก็บค่าเช่าก็ยังต้องรับผิดส่งเงินให้แก่บิดาไปจนตลอดชีวิต. โดยคำนวณเงินที่จะต้องส่งจากส่วนเฉลี่ยของค่าเช่าที่เคยเก็บหักด้วยส่วนเฉลี่ยค่าภาษีที่เคยเสีย. บุตรหาอาจเปลี่ยนแปลงหรือระงับสิทธินั้นในภายหลังได้ไม่.
การที่ศาลประมาณเงินค่าเช่าที่บิดาควรได้จากบุตรโดยวินิจฉัยจากจำนวนค่าเช่าสูงสุดกับต่ำที่สุดเป็นหลักคำนวณส่วนเฉลี่ยนั้น. มิใช่เป็นการกะประมาณเอาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438. ซึ่งเป็นบทบัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจกำหนดค่าสินไหมทดแทนในกรณีละเมิด.
การที่บุตรทั้งสามคนโอนขายทรัพย์ซึ่งตกลงกันจัดผลประโยชน์ให้แก่บุคคลภายนอกไป. จะอ้างว่าค่าเช่าที่โจทก์จะได้ต้องระงับโดยเป็นหนี้ที่พ้นวิสัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 219 หาได้ไม่. เพราะบุตรโอนขายทรัพย์ไปเอง.
จำเลยฎีกาว่า โจทก์นำสืบจำนวนค่าเช่าไม่ได้แน่นอนสมฟ้อง. แต่มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในฎีกาเลยว่า. โจทก์นำสืบไม่สมฟ้องประการใดบ้าง. เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249. ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย.
การที่ศาลประมาณเงินค่าเช่าที่บิดาควรได้จากบุตรโดยวินิจฉัยจากจำนวนค่าเช่าสูงสุดกับต่ำที่สุดเป็นหลักคำนวณส่วนเฉลี่ยนั้น. มิใช่เป็นการกะประมาณเอาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438. ซึ่งเป็นบทบัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจกำหนดค่าสินไหมทดแทนในกรณีละเมิด.
การที่บุตรทั้งสามคนโอนขายทรัพย์ซึ่งตกลงกันจัดผลประโยชน์ให้แก่บุคคลภายนอกไป. จะอ้างว่าค่าเช่าที่โจทก์จะได้ต้องระงับโดยเป็นหนี้ที่พ้นวิสัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 219 หาได้ไม่. เพราะบุตรโอนขายทรัพย์ไปเอง.
จำเลยฎีกาว่า โจทก์นำสืบจำนวนค่าเช่าไม่ได้แน่นอนสมฟ้อง. แต่มิได้บรรยายข้อเท็จจริงในฎีกาเลยว่า. โจทก์นำสืบไม่สมฟ้องประการใดบ้าง. เป็นฎีกาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249. ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1818/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเหมาเจาะบ่อน้ำ: การชำระหนี้ไม่เป็นพ้นวิสัย, สิทธิบอกเลิกสัญญา, การคืนเงินและชดใช้ค่าเสื่อม
ข้อสัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการพ้นวิสัยนั้น จะต้องเป็นข้อสัญญาที่ผู้ให้สัญญาไม่มีทางปฏิบัติได้เลย
จำเลยทำสัญญารับจ้างเหมาโจทก์เจาะบ่อน้ำบาดาล เงื่อนไขที่กำหนดไว้ในข้อสัญญาที่ให้รับประกันปริมาณและคุณภาพน้ำให้ใช้บริโภคได้มีกำหนดเวลา 4 ปีนั้น เป็นเงื่อนไขที่สามารถปฏิบัติได้ หาเป็นการพ้นวิสัยไม่ การที่จำเลยไม่สามารถเจาะบ่อน้ำบาดาลให้โจทก์ใช้ได้ถึง 4 ปีตามสัญญา จึงไม่ใช่กรณีการชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย
ตามสัญญาจ้างเหมา ข้อ 13 ถือว่ารายการแนบท้ายหมาย จ.5, จ.6 เป็นส่วนหนึ่งของสัญญาด้วย และในรายการแนบท้ายดังกล่าว ข้อ 6 (14) (15) ผู้รับจ้างคือจำเลย ก็ได้สัญญาให้โจทก์ได้ใช้น้ำในประมาณตามที่กำหนด และรับรองให้โจทก์ได้ใช้น้ำบริโภคได้เป็นกำหนดเวลา 4 ปีนับแต่วันที่คณะกรรมการของโจทก์รับมอบงานงวดสุดท้ายและในรายการแนบท้าย ข้อ 6 (16) ก็ได้ระบุว่า ถ้าหากการดำเนินการของผู้รับจ้างได้ผลเป็นที่พอใจของผู้ว่าจ้างตามข้อ (14)และ (15) ผู้ว่าจ้างจะถือว่าผู้รับจ้างได้กระทำการให้ผู้ว่าจ้างถูกต้องเรียบร้อยเสร็จบริบูรณ์แล้ว ฉะนั้น เมื่อจำเลยเป็นฝ่ายผิดสัญญาไม่สามารถจะให้โจทก์ได้ใช้น้ำจนครบกำหนด 4 ปี โจทก์จึงมีสิทธิบอกเลิกสัญญาตามสัญญาข้อ 5 ได้ เพราะในสัญญาข้อนี้ได้ระบุไว้ว่า 'ฯลฯ หรือผู้รับจ้างทำผิดสัญญาข้อหนึ่งข้อใดก็ดี ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญานี้ได้ ฯลฯ' ซึ่งข้อความนี้หาได้จำกัดเฉพาะสัญญาข้อ 5 ก. ข. ค. ไม่
โจทก์จ้างจำเลยขุดบ่อน้ำบาดาล จำเลยรับประกันปริมาณและคุณภาพน้ำให้ใช้บริโภคได้มีกำหนด 4 ปี เมื่อโจทก์ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว คู่สัญญาแต่ละฝ่ายจำต้องให้อีกฝ่ายหนึ่งได้กลับคืนสู่ฐานะดังที่เป็นอยู่เดิม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 391 การให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม จำเลยจะต้องคืนเงินค่าจ้างเหมาที่ได้รับไปแล้วแก่โจทก์ ส่วนโจทก์ก็จะต้องคืนสิ่งของต่างๆ ที่จำเลยนำมาติดตั้งให้โจทก์แก่จำเลยแต่ได้ปรากฏว่าสิ่งของต่าง ๆ ที่จะต้องคืนให้แก่จำเลยนั้น โจทก์ได้นำไปใช้แล้วเป็นเวลาถึง 18 เดือน ทั้งจำเลยก็ได้ลงทุนลงแรงขุดเจาะน้ำบาดาลจนให้โจทก์มีน้ำใช้บริโภคได้ การคืนเงินของจำเลยแก่โจทก์จึงต้องหักจำนวนเงินค่าเสื่อมราคาสิ่งของเพื่อชดเชยให้กลับคืนสู่สภาพเดิม กับค่าการงานในการติดตั้งให้จำเลย
จำเลยทำสัญญารับจ้างเหมาโจทก์เจาะบ่อน้ำบาดาล เงื่อนไขที่กำหนดไว้ในข้อสัญญาที่ให้รับประกันปริมาณและคุณภาพน้ำให้ใช้บริโภคได้มีกำหนดเวลา 4 ปีนั้น เป็นเงื่อนไขที่สามารถปฏิบัติได้ หาเป็นการพ้นวิสัยไม่ การที่จำเลยไม่สามารถเจาะบ่อน้ำบาดาลให้โจทก์ใช้ได้ถึง 4 ปีตามสัญญา จึงไม่ใช่กรณีการชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย
ตามสัญญาจ้างเหมา ข้อ 13 ถือว่ารายการแนบท้ายหมาย จ.5, จ.6 เป็นส่วนหนึ่งของสัญญาด้วย และในรายการแนบท้ายดังกล่าว ข้อ 6 (14) (15) ผู้รับจ้างคือจำเลย ก็ได้สัญญาให้โจทก์ได้ใช้น้ำในประมาณตามที่กำหนด และรับรองให้โจทก์ได้ใช้น้ำบริโภคได้เป็นกำหนดเวลา 4 ปีนับแต่วันที่คณะกรรมการของโจทก์รับมอบงานงวดสุดท้ายและในรายการแนบท้าย ข้อ 6 (16) ก็ได้ระบุว่า ถ้าหากการดำเนินการของผู้รับจ้างได้ผลเป็นที่พอใจของผู้ว่าจ้างตามข้อ (14)และ (15) ผู้ว่าจ้างจะถือว่าผู้รับจ้างได้กระทำการให้ผู้ว่าจ้างถูกต้องเรียบร้อยเสร็จบริบูรณ์แล้ว ฉะนั้น เมื่อจำเลยเป็นฝ่ายผิดสัญญาไม่สามารถจะให้โจทก์ได้ใช้น้ำจนครบกำหนด 4 ปี โจทก์จึงมีสิทธิบอกเลิกสัญญาตามสัญญาข้อ 5 ได้ เพราะในสัญญาข้อนี้ได้ระบุไว้ว่า 'ฯลฯ หรือผู้รับจ้างทำผิดสัญญาข้อหนึ่งข้อใดก็ดี ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญานี้ได้ ฯลฯ' ซึ่งข้อความนี้หาได้จำกัดเฉพาะสัญญาข้อ 5 ก. ข. ค. ไม่
โจทก์จ้างจำเลยขุดบ่อน้ำบาดาล จำเลยรับประกันปริมาณและคุณภาพน้ำให้ใช้บริโภคได้มีกำหนด 4 ปี เมื่อโจทก์ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว คู่สัญญาแต่ละฝ่ายจำต้องให้อีกฝ่ายหนึ่งได้กลับคืนสู่ฐานะดังที่เป็นอยู่เดิม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 391 การให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม จำเลยจะต้องคืนเงินค่าจ้างเหมาที่ได้รับไปแล้วแก่โจทก์ ส่วนโจทก์ก็จะต้องคืนสิ่งของต่างๆ ที่จำเลยนำมาติดตั้งให้โจทก์แก่จำเลยแต่ได้ปรากฏว่าสิ่งของต่าง ๆ ที่จะต้องคืนให้แก่จำเลยนั้น โจทก์ได้นำไปใช้แล้วเป็นเวลาถึง 18 เดือน ทั้งจำเลยก็ได้ลงทุนลงแรงขุดเจาะน้ำบาดาลจนให้โจทก์มีน้ำใช้บริโภคได้ การคืนเงินของจำเลยแก่โจทก์จึงต้องหักจำนวนเงินค่าเสื่อมราคาสิ่งของเพื่อชดเชยให้กลับคืนสู่สภาพเดิม กับค่าการงานในการติดตั้งให้จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1818/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจ้างเหมาเจาะบ่อน้ำบาดาล: การผิดสัญญาและสิทธิในการบอกเลิกสัญญา รวมถึงการคืนเงินและค่าเสื่อมสภาพ
ข้อสัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการพ้นวิสัยนั้น จะต้องเป็นข้อสัญญาที่ผู้ให้สัญญาไม่มีทางปฏิบัติได้เลย
จำเลยทำสัญญารับจ้างเหมาโจทก์เจาะบ่อน้ำบาดาล เงื่อนไขที่กำหนดไว้ในข้อสัญญาที่ให้รับประกันปริมาณและคุณภาพน้ำให้ใช้บริโภคได้มีกำหนดเวลา 4 ปีนั้น เป็นเงื่อนไขที่สามารถปฏิบัติได้ หาเป็นการพ้นวิสัยไม่ การที่จำเลยไม่สามารถเจาะบ่อน้ำบาดาลให้โจทก์ใช้ได้ถึง 4 ปีตามสัญญา จึงไม่ใช่กรณีการชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย
ตามสัญญาจ้างเหมา ข้อ 13 ถือว่ารายการแนบท้ายหมายจ.5, จ.6 เป็นส่วนหนึ่งของสัญญาด้วย และในรายการแนบท้ายดังกล่าว ข้อ 6(14)(15) ผู้รับจ้างคือจำเลย ก็ได้สัญญาให้โจทก์ได้ใช้น้ำในประมาณตามที่กำหนด และรับรองให้โจทก์ได้ใช้น้ำบริโภคได้เป็นกำหนดเวลา 4 ปีนับแต่วันที่คณะกรรมการของโจทก์รับมอบงานงวดสุดท้าย และในรายการแนบท้าย ข้อ 6(16) ก็ได้ระบุว่า ถ้าหากการดำเนินการของผู้รับจ้างได้ผลเป็นที่พอใจของผู้ว่าจ้างตามข้อ (14)และ (15) ผู้ว่าจ้างจะถือว่าผู้รับจ้างได้กระทำการให้ผู้ว่าจ้างถูกต้องเรียบร้อยเสร็จบริบูรณ์แล้ว ฉะนั้น เมื่อจำเลยเป็นฝ่ายผิดสัญญาไม่สามารถจะให้โจทก์ได้ใช้น้ำจนครบกำหนด 4 ปี โจทก์จึงมีสิทธิบอกเลิกสัญญาตามสัญญาข้อ 5 ได้ เพราะในสัญญาข้อนี้ได้ระบุไว้ว่า "ฯลฯหรือผู้รับจ้างทำผิดสัญญาข้อหนึ่งข้อใดก็ดี ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญานี้ได้ ฯลฯ" ซึ่งข้อความนี้หาได้จำกัดเฉพาะสัญญาข้อ 5 ก. ข. ค. ไม่
โจทก์จ้างจำเลยขุดบ่อน้ำบาดาล จำเลยรับประกันปริมาณและคุณภาพน้ำให้ใช้บริโภคได้มีกำหนด 4 ปี เมื่อโจทก์ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว คู่สัญญาแต่ละฝ่ายจำต้องให้อีกฝ่ายหนึ่งได้กลับคืนสู่ฐานะดังที่เป็นอยู่เดิม ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 391 การให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม จำเลยจะต้องคืนเงินค่าจ้างเหมาที่ได้รับไปแล้วแก่โจทก์ ส่วนโจทก์ก็จะต้องคืนสิ่งของต่างๆ ที่จำเลยนำมาติดตั้งให้โจทก์แก่จำเลย แต่ได้ปรากฏว่าสิ่งของต่างๆ ที่จะต้องคืนให้แก่จำเลยนั้น โจทก์ได้นำไปใช้แล้วเป็นเวลาถึง 18 เดือน ทั้งจำเลยก็ได้ลงทุนลงแรงขุดเจาะน้ำบาดาลจนให้โจทก์มีน้ำใช้บริโภคได้ การคืนเงินของจำเลยแก่โจทก์ จึงต้องหักจำนวนเงินค่าเสื่อมราคาสิ่งของเพื่อชดเชยให้กลับคืนสู่สภาพเดิม กับค่าการงานในการติดตั้งให้จำเลย
จำเลยทำสัญญารับจ้างเหมาโจทก์เจาะบ่อน้ำบาดาล เงื่อนไขที่กำหนดไว้ในข้อสัญญาที่ให้รับประกันปริมาณและคุณภาพน้ำให้ใช้บริโภคได้มีกำหนดเวลา 4 ปีนั้น เป็นเงื่อนไขที่สามารถปฏิบัติได้ หาเป็นการพ้นวิสัยไม่ การที่จำเลยไม่สามารถเจาะบ่อน้ำบาดาลให้โจทก์ใช้ได้ถึง 4 ปีตามสัญญา จึงไม่ใช่กรณีการชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย
ตามสัญญาจ้างเหมา ข้อ 13 ถือว่ารายการแนบท้ายหมายจ.5, จ.6 เป็นส่วนหนึ่งของสัญญาด้วย และในรายการแนบท้ายดังกล่าว ข้อ 6(14)(15) ผู้รับจ้างคือจำเลย ก็ได้สัญญาให้โจทก์ได้ใช้น้ำในประมาณตามที่กำหนด และรับรองให้โจทก์ได้ใช้น้ำบริโภคได้เป็นกำหนดเวลา 4 ปีนับแต่วันที่คณะกรรมการของโจทก์รับมอบงานงวดสุดท้าย และในรายการแนบท้าย ข้อ 6(16) ก็ได้ระบุว่า ถ้าหากการดำเนินการของผู้รับจ้างได้ผลเป็นที่พอใจของผู้ว่าจ้างตามข้อ (14)และ (15) ผู้ว่าจ้างจะถือว่าผู้รับจ้างได้กระทำการให้ผู้ว่าจ้างถูกต้องเรียบร้อยเสร็จบริบูรณ์แล้ว ฉะนั้น เมื่อจำเลยเป็นฝ่ายผิดสัญญาไม่สามารถจะให้โจทก์ได้ใช้น้ำจนครบกำหนด 4 ปี โจทก์จึงมีสิทธิบอกเลิกสัญญาตามสัญญาข้อ 5 ได้ เพราะในสัญญาข้อนี้ได้ระบุไว้ว่า "ฯลฯหรือผู้รับจ้างทำผิดสัญญาข้อหนึ่งข้อใดก็ดี ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญานี้ได้ ฯลฯ" ซึ่งข้อความนี้หาได้จำกัดเฉพาะสัญญาข้อ 5 ก. ข. ค. ไม่
โจทก์จ้างจำเลยขุดบ่อน้ำบาดาล จำเลยรับประกันปริมาณและคุณภาพน้ำให้ใช้บริโภคได้มีกำหนด 4 ปี เมื่อโจทก์ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว คู่สัญญาแต่ละฝ่ายจำต้องให้อีกฝ่ายหนึ่งได้กลับคืนสู่ฐานะดังที่เป็นอยู่เดิม ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 391 การให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม จำเลยจะต้องคืนเงินค่าจ้างเหมาที่ได้รับไปแล้วแก่โจทก์ ส่วนโจทก์ก็จะต้องคืนสิ่งของต่างๆ ที่จำเลยนำมาติดตั้งให้โจทก์แก่จำเลย แต่ได้ปรากฏว่าสิ่งของต่างๆ ที่จะต้องคืนให้แก่จำเลยนั้น โจทก์ได้นำไปใช้แล้วเป็นเวลาถึง 18 เดือน ทั้งจำเลยก็ได้ลงทุนลงแรงขุดเจาะน้ำบาดาลจนให้โจทก์มีน้ำใช้บริโภคได้ การคืนเงินของจำเลยแก่โจทก์ จึงต้องหักจำนวนเงินค่าเสื่อมราคาสิ่งของเพื่อชดเชยให้กลับคืนสู่สภาพเดิม กับค่าการงานในการติดตั้งให้จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1818/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเหมาเจาะบ่อน้ำบาดาล: การรับประกันคุณภาพน้ำและการบอกเลิกสัญญาเมื่อไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญาได้
ข้อสัญญาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการพ้นวิสัยนั้น. จะต้องเป็นข้อสัญญาที่ผู้ให้สัญญาไม่มีทางปฏิบัติได้เลย.
จำเลยทำสัญญารับจ้างเหมาโจทก์เจาะบ่อน้ำบาดาล เงื่อนไขที่กำหนดไว้ในข้อสัญญาที่ให้รับประกันปริมาณและคุณภาพน้ำให้ใช้บริโภคได้มีกำหนดเวลา 4 ปีนั้น. เป็นเงื่อนไขที่สามารถปฏิบัติได้. หาเป็นการพ้นวิสัยไม่. การที่จำเลยไม่สามารถเจาะบ่อน้ำบาดาลให้โจทก์ใช้ได้ถึง 4 ปีตามสัญญา. จึงไม่ใช่กรณีการชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย.
ตามสัญญาจ้างเหมา ข้อ 13 ถือว่ารายการแนบท้ายหมายจ.5, จ.6 เป็นส่วนหนึ่งของสัญญาด้วย และในรายการแนบท้ายดังกล่าว ข้อ 6(14)(15). ผู้รับจ้างคือจำเลย ก็ได้สัญญาให้โจทก์ได้ใช้น้ำในประมาณตามที่กำหนด. และรับรองให้โจทก์ได้ใช้น้ำบริโภคได้เป็นกำหนดเวลา 4 ปีนับแต่วันที่คณะกรรมการของโจทก์รับมอบงานงวดสุดท้าย.และในรายการแนบท้าย ข้อ 6(16) ก็ได้ระบุว่า ถ้าหากการดำเนินการของผู้รับจ้างได้ผลเป็นที่พอใจของผู้ว่าจ้างตามข้อ (14)และ (15). ผู้ว่าจ้างจะถือว่าผู้รับจ้างได้กระทำการให้ผู้ว่าจ้างถูกต้องเรียบร้อยเสร็จบริบูรณ์แล้ว. ฉะนั้น เมื่อจำเลยเป็นฝ่ายผิดสัญญา.ไม่สามารถจะให้โจทก์ได้ใช้น้ำจนครบกำหนด 4 ปี. โจทก์จึงมีสิทธิบอกเลิกสัญญาตามสัญญาข้อ 5 ได้. เพราะในสัญญาข้อนี้ได้ระบุไว้ว่า 'ฯลฯหรือผู้รับจ้างทำผิดสัญญาข้อหนึ่งข้อใดก็ดี ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญานี้ได้ ฯลฯ'. ซึ่งข้อความนี้หาได้จำกัดเฉพาะสัญญาข้อ 5 ก. ข. ค. ไม่.
โจทก์จ้างจำเลยขุดบ่อน้ำบาดาล จำเลยรับประกันปริมาณและคุณภาพน้ำให้ใช้บริโภคได้มีกำหนด 4 ปี. เมื่อโจทก์ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว คู่สัญญาแต่ละฝ่ายจำต้องให้อีกฝ่ายหนึ่งได้กลับคืนสู่ฐานะดังที่เป็นอยู่เดิม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 391. การให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม จำเลยจะต้องคืนเงินค่าจ้างเหมาที่ได้รับไปแล้วแก่โจทก์. ส่วนโจทก์ก็จะต้องคืนสิ่งของต่างๆ ที่จำเลยนำมาติดตั้งให้โจทก์แก่จำเลย.แต่ได้ปรากฏว่าสิ่งของต่างๆ ที่จะต้องคืนให้แก่จำเลยนั้น โจทก์ได้นำไปใช้แล้วเป็นเวลาถึง 18 เดือน. ทั้งจำเลยก็ได้ลงทุนลงแรงขุดเจาะน้ำบาดาลจนให้โจทก์มีน้ำใช้บริโภคได้. การคืนเงินของจำเลยแก่โจทก์.จึงต้องหักจำนวนเงินค่าเสื่อมราคาสิ่งของเพื่อชดเชยให้กลับคืนสู่สภาพเดิม กับค่าการงานในการติดตั้งให้จำเลย.
จำเลยทำสัญญารับจ้างเหมาโจทก์เจาะบ่อน้ำบาดาล เงื่อนไขที่กำหนดไว้ในข้อสัญญาที่ให้รับประกันปริมาณและคุณภาพน้ำให้ใช้บริโภคได้มีกำหนดเวลา 4 ปีนั้น. เป็นเงื่อนไขที่สามารถปฏิบัติได้. หาเป็นการพ้นวิสัยไม่. การที่จำเลยไม่สามารถเจาะบ่อน้ำบาดาลให้โจทก์ใช้ได้ถึง 4 ปีตามสัญญา. จึงไม่ใช่กรณีการชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัย.
ตามสัญญาจ้างเหมา ข้อ 13 ถือว่ารายการแนบท้ายหมายจ.5, จ.6 เป็นส่วนหนึ่งของสัญญาด้วย และในรายการแนบท้ายดังกล่าว ข้อ 6(14)(15). ผู้รับจ้างคือจำเลย ก็ได้สัญญาให้โจทก์ได้ใช้น้ำในประมาณตามที่กำหนด. และรับรองให้โจทก์ได้ใช้น้ำบริโภคได้เป็นกำหนดเวลา 4 ปีนับแต่วันที่คณะกรรมการของโจทก์รับมอบงานงวดสุดท้าย.และในรายการแนบท้าย ข้อ 6(16) ก็ได้ระบุว่า ถ้าหากการดำเนินการของผู้รับจ้างได้ผลเป็นที่พอใจของผู้ว่าจ้างตามข้อ (14)และ (15). ผู้ว่าจ้างจะถือว่าผู้รับจ้างได้กระทำการให้ผู้ว่าจ้างถูกต้องเรียบร้อยเสร็จบริบูรณ์แล้ว. ฉะนั้น เมื่อจำเลยเป็นฝ่ายผิดสัญญา.ไม่สามารถจะให้โจทก์ได้ใช้น้ำจนครบกำหนด 4 ปี. โจทก์จึงมีสิทธิบอกเลิกสัญญาตามสัญญาข้อ 5 ได้. เพราะในสัญญาข้อนี้ได้ระบุไว้ว่า 'ฯลฯหรือผู้รับจ้างทำผิดสัญญาข้อหนึ่งข้อใดก็ดี ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญานี้ได้ ฯลฯ'. ซึ่งข้อความนี้หาได้จำกัดเฉพาะสัญญาข้อ 5 ก. ข. ค. ไม่.
โจทก์จ้างจำเลยขุดบ่อน้ำบาดาล จำเลยรับประกันปริมาณและคุณภาพน้ำให้ใช้บริโภคได้มีกำหนด 4 ปี. เมื่อโจทก์ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญากับจำเลยแล้ว คู่สัญญาแต่ละฝ่ายจำต้องให้อีกฝ่ายหนึ่งได้กลับคืนสู่ฐานะดังที่เป็นอยู่เดิม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 391. การให้คู่สัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม จำเลยจะต้องคืนเงินค่าจ้างเหมาที่ได้รับไปแล้วแก่โจทก์. ส่วนโจทก์ก็จะต้องคืนสิ่งของต่างๆ ที่จำเลยนำมาติดตั้งให้โจทก์แก่จำเลย.แต่ได้ปรากฏว่าสิ่งของต่างๆ ที่จะต้องคืนให้แก่จำเลยนั้น โจทก์ได้นำไปใช้แล้วเป็นเวลาถึง 18 เดือน. ทั้งจำเลยก็ได้ลงทุนลงแรงขุดเจาะน้ำบาดาลจนให้โจทก์มีน้ำใช้บริโภคได้. การคืนเงินของจำเลยแก่โจทก์.จึงต้องหักจำนวนเงินค่าเสื่อมราคาสิ่งของเพื่อชดเชยให้กลับคืนสู่สภาพเดิม กับค่าการงานในการติดตั้งให้จำเลย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 960/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายและค่าเสียหายจากการไม่ชำระหนี้ตามสัญญา แม้มีเหตุสุดวิสัย แต่จำเลยยังต้องคืนเงินมัดจำ
โจทก์ฟ้องขอให้ศาลบังคับให้จำเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทนฐานผิดสัญญา โจทก์ฎีกาว่าจำเลยที่ 2 ยื่นคำให้การเกินกำหนด ศาลรับคำให้การโดยไม่ไต่สวน หรือให้โอกาสคัดค้าน ศาลอุทธรณ์สั่งว่า แม้คำสั่งศาลแพ่งจะชอบหรือไม่ ก็ไม่ทำให้คดีของโจทก์เสียหาย ไม่จำต้องมีคำสั่งเป็นอย่างอื่น โจทก์เถียงมาในฎีกาว่าโจทก์เสียหาย เพราะโจทก์ลงทุนไปเกินกว่า 100,000 บาท จึงเป็นฎีกาไม่ตรงกับเรื่อง เพราะศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่าคดีของโจทก์ไม่เสียหายในกระบวนพิจารณา
ข้อที่ว่าพยานจำเลยมิได้รับรองสำเนาเอกสาร จำเลยมิได้ยกขึ้นโต้เถียงในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ข้อโต้แย้งของโจทก์ที่ว่าไม่มีผู้ใดรับรองสำเนาจึงตกไป
จำเลยไม่ต้องรับผิดในการที่เทศบาลไม่อนุญาตให้โจทก์ก่อสร้างในที่ที่จำเลยยอมให้โจทก์ทำการปลูกสร้าง
จำเลยขายที่ดินที่ยอมให้โจทก์ทำการก่อสร้าง ภายหลังจากที่ต้องระงับการก่อสร้างเพราะไม่ได้รับอนุญาตจากเทศบาลจึงเป็นพฤติการณ์ภายหลังที่การชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัยเพราะเหตุที่จำเลยไม่ต้องรับผิดไปแล้ว ไม่เป็นเหตุที่โจทก์จะอ้างขึ้นให้จำเลยต้องรับผิดต่อโจทก์ตามสัญญาอีกได้
โจทก์กล่าวฟ้องอ้างเหตุให้จำเลยรับผิดเพราะจำเลยผิดสัญญาไม่รื้อห้องแถวเป็นเหตุให้โจทก์ก่อสร้างไม่ได้และเอาที่ดินไปขายให้ผู้อื่นหาได้อ้างเหตุให้จำเลยต้องใช้เบี้ยปรับเพราะโจทก์ก่อสร้างไม่ได้โดยพฤติการณ์ที่โจทก์ไม่ต้องรับผิดตามสัญญาข้ออื่น จึงไม่มีประเด็นที่จะยกขึ้นให้ศาลฎีกาวินิจฉัยในข้อนี้
แม้ตามสัญญาแบ่งการชำระเงินเป็นงวดๆ ก็จริง แต่ก็มิได้มีอะไรที่แสดงให้เห็นว่าเป็นการชำระหนี้ตอบแทนกันเป็นส่วนๆ ดังนั้น เมื่อจำเลยมิได้ชำระหนี้แก่โจทก์ครบถ้วน จำเลยก็ไม่มีสิทธิได้รับเงินที่จำเลยรับไปเป็นค่าตอบแทนจากโจทก์ เมื่อได้รับมาแล้วก็ต้องคืนให้โจทก์ไป มิใช่สิทธิเรียกร้องเงินจำนวนนี้คืนจะระงับไปพร้อมกับสิทธิเรียกร้องให้ชำระหนี้ตามสัญญาด้วย
ข้อที่ว่าพยานจำเลยมิได้รับรองสำเนาเอกสาร จำเลยมิได้ยกขึ้นโต้เถียงในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ข้อโต้แย้งของโจทก์ที่ว่าไม่มีผู้ใดรับรองสำเนาจึงตกไป
จำเลยไม่ต้องรับผิดในการที่เทศบาลไม่อนุญาตให้โจทก์ก่อสร้างในที่ที่จำเลยยอมให้โจทก์ทำการปลูกสร้าง
จำเลยขายที่ดินที่ยอมให้โจทก์ทำการก่อสร้าง ภายหลังจากที่ต้องระงับการก่อสร้างเพราะไม่ได้รับอนุญาตจากเทศบาลจึงเป็นพฤติการณ์ภายหลังที่การชำระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัยเพราะเหตุที่จำเลยไม่ต้องรับผิดไปแล้ว ไม่เป็นเหตุที่โจทก์จะอ้างขึ้นให้จำเลยต้องรับผิดต่อโจทก์ตามสัญญาอีกได้
โจทก์กล่าวฟ้องอ้างเหตุให้จำเลยรับผิดเพราะจำเลยผิดสัญญาไม่รื้อห้องแถวเป็นเหตุให้โจทก์ก่อสร้างไม่ได้และเอาที่ดินไปขายให้ผู้อื่นหาได้อ้างเหตุให้จำเลยต้องใช้เบี้ยปรับเพราะโจทก์ก่อสร้างไม่ได้โดยพฤติการณ์ที่โจทก์ไม่ต้องรับผิดตามสัญญาข้ออื่น จึงไม่มีประเด็นที่จะยกขึ้นให้ศาลฎีกาวินิจฉัยในข้อนี้
แม้ตามสัญญาแบ่งการชำระเงินเป็นงวดๆ ก็จริง แต่ก็มิได้มีอะไรที่แสดงให้เห็นว่าเป็นการชำระหนี้ตอบแทนกันเป็นส่วนๆ ดังนั้น เมื่อจำเลยมิได้ชำระหนี้แก่โจทก์ครบถ้วน จำเลยก็ไม่มีสิทธิได้รับเงินที่จำเลยรับไปเป็นค่าตอบแทนจากโจทก์ เมื่อได้รับมาแล้วก็ต้องคืนให้โจทก์ไป มิใช่สิทธิเรียกร้องเงินจำนวนนี้คืนจะระงับไปพร้อมกับสิทธิเรียกร้องให้ชำระหนี้ตามสัญญาด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 514/2507
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เหตุสุดวิสัยและการรับผิดในสัญญาเช่า: ลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดหากช้างตายจากเหตุสุดวิสัย
(1) ตามหลักกฎหมายนั้น ลูกหนี้จะต้องรับผิดในการชำระหนี้ต่อเจ้าหนี้ก็ต่อเมื่อลูกหนี้ได้กระทำการโดยเจตนาหรือประมาท
(2) แต่ถ้าการชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย เพราะเหตุการณ์ซึ่งเกิดขึ้นโดยเหตุสุดวิสัยลูกหนี้ก็ไม่ต้องรับผิดชอบและย่อมหลุดพ้นจากการชำระหนี้นั้นตามนัยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 219
(2) แต่ถ้าการชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย เพราะเหตุการณ์ซึ่งเกิดขึ้นโดยเหตุสุดวิสัยลูกหนี้ก็ไม่ต้องรับผิดชอบและย่อมหลุดพ้นจากการชำระหนี้นั้นตามนัยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 219
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 534/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยืมรถและการรับผิดในความเสียหายจากบุคคลภายนอก: ผู้ยืมไม่ต้องรับผิดหากความเสียหายมิได้เกิดจากความผิดของตน
ยืมรถของผู้อื่นไปใช้อย่างปกติ แล้วถูกรถของบุคคลภายนอกชนเสียหาย โดยไม่ใช่เพราะความผิดของฝ่ายผู้ยืมผู้ยืมก็ไม่ต้องรับผิดในความเสียหาย