พบผลลัพธ์ทั้งหมด 50 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1806/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาโทษเด็กในคดีอาญา: ลดโทษตามอายุและพฤติการณ์, คำรับสารภาพมีผลต่อการพิจารณา
จำเลยอายุ 17 ปี ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุก 3 ปี 9 เดือนศาลอุทธรณ์เห็นว่ายังไม่สมควรลงโทษถึงจำคุก พิพากษา แก้ เป็นให้มอบตัวจำเลยแก่บิดามารดารับตัวไประวังมิให้จำเลยก่อเหตุร้ายขึ้นอีกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 75 ประกอบด้วยมาตรา 74(2) ดังนี้ โจทก์ฎีกาขอให้ลงโทษจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1806/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษเด็กที่กระทำความผิดอาญา: ลดโทษตามอายุและประโยชน์จากการรับสารภาพ
จำเลยอายุ 17 ปี ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุก 3 ปี 9 เดือนศาลอุทธรณ์เห็นว่ายังไม่สมควรลงโทษถึงจำคุก พิพากษาแก้ เป็นให้มอบตัวจำเลยแก่บิดามารดารับตัวไประวังมิให้จำเลยก่อเหตุร้ายขึ้นอีกตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 75 ประกอบด้วยมาตรา 74(2) ดังนี้ โจทก์ฎีกาขอให้ลงโทษจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 801/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาต้องห้าม: การโต้แย้งดุลพินิจศาลเกี่ยวกับวิธีการบำบัดฟื้นฟูเด็กแทนการลงโทษ
การที่ศาลพิพากษาให้ส่งตัวจำเลยไปฝึกและอบรมณสถานพินิจและคุ้มครองเด็กโดยอาศัยอำนาจตามความในบทบัญญัติมาตรา 75 ประกอบด้วยมาตรา 74 แห่งประมวลกฎหมายอาญา แม้มิใช่การพิพากษาให้ลงโทษจำคุก แต่ก็เป็นการสั่งใช้วิธีการที่เบากว่าโทษจำคุกจึงต้องอยู่ในบังคับของมาตรา 218 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาด้วย เมื่อศาลอุทธรณ์เพียงแต่แก้กำหนดระยะเวลาที่จะให้จำเลยไปอยู่ฝึกและอบรม จำเลยกลับฎีกาอ้างเหตุมาว่า ถูกคุมขังในระหว่างอุทธรณ์มาเกินกำหนดระยะเวลาแล้ว ถือว่าเป็นการลงโทษและจำเลยได้รับโทษตามคำพิพากษาแล้ว ขอให้ศาลฎีกาพิพากษาว่า ขังมาพอกับโทษและให้ปล่อยตัวไป เช่นนี้เท่ากับจำเลยฎีกาคัดค้านดุลพินิจของศาลและขอให้เปลี่ยนจากใช้วิธีการที่เบากว่าโทษตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์มาเป็นการลงโทษและกำหนดโทษใหม่ จึงเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงต้องห้ามมิให้ฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 801/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การฎีกาขัดต่อดุลพินิจศาลในการส่งตัวจำเลยไปฝึกอบรมแทนการลงโทษตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์
การที่ศาลพิพากษาให้ส่งตัวจำเลยไปฝึกและอบรม ณสถานพินิจและคุ้มครองเด็กโดยอาศัยอำนาจตามความในบทบัญญัติมาตรา 75 ประกอบด้วยมาตรา 74 แห่งประมวลกฎหมายอาญา แม้มิใช่การพิพากษาให้ลงโทษจำคุก แต่ก็เป็นการสั่งใช้วิธีการที่เบากว่าโทษจำคุกจึงต้องอยู่ในบังคับของมาตรา 218 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาด้วย เมื่อศาลอุทธรณ์เพียงแต่แก้กำหนดระยะเวลาที่จะให้จำเลยไปอยู่ฝึกและอบรม จำเลยกลับฎีกาอ้างเหตุมาว่า ถูกคุมขังในระหว่างอุทธรณ์มาเกินกำหนดระยะเวลาแล้ว ถือว่าเป็นการลงโทษและจำเลยได้รับโทษตามคำพิพากษาแล้ว ขอให้ศาลฎีกาพิพากษาว่า ขังมาพอกับโทษและให้ปล่อยตัวไป เช่นนี้เท่ากับจำเลยฎีกาคัดค้านดุลพินิจของศาลและขอให้เปลี่ยนจากใช้วิธีการที่เบากว่าโทษตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์มาเป็นการลงโทษและกำหนดโทษใหม่ จึงเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงต้องห้ามมิให้ฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1209/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจัดการเด็กกระทำผิดอาญา อายุเกิน 7 ปีแต่ไม่เกิน 14 ปี ศาลต้องพิจารณาหลายปัจจัยและคำนึงถึงสภาพแวดล้อม
ในกรณีที่เด็กอายุเกิน 7 ปี แต่ไม่เกิน 14 ปี.กระทำผิดอาญานั้น. กฎหมายไม่เอาโทษอาญาอยู่แล้ว. และให้อำนาจศาลจัดการแก่เด็กตามสมควรแก่กรณีเป็นขั้นๆ ไปถึง5 ข้อ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74. ซึ่งเกี่ยวข้องกับบิดามารดาของเด็ก หรือผู้ปกครองเด็ก หรือบุคคลที่เด็กอาศัยอยู่. ศาลจึงควรสอบถามเด็กและเรียกบุคคลดังกล่าวมาสอบถามพร้อมโจทก์. เพื่อจะได้ใช้ดุลพินิจจัดการแก่เด็กให้เหมาะสม. จะพิจารณาแต่เฉพาะสภาพความผิดที่เด็กกระทำอย่างเดียวไม่ควร. ไม่ว่าเด็กจะกระทำผิดร้ายแรงเพียงไร.ก็ชอบที่จะได้พิจารณาถึงสาเหตุแห่งการกระทำผิด. สภาพความเป็นอยู่ของเด็กและครอบครัวของเด็กรวมทั้งสิ่งแวดล้อมทั้งปวง. การส่งตัวเด็กไปยังสถานฝึกและอบรมเด็กตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74(5) นั้น. ควรกระทำต่อเมื่อจำเป็นต้องกระทำ. หรือไม่มีวิธีอื่นใดที่จะกระทำได้ตามอนุมาตรา 1 ถึง 4 แล้ว.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1209/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจัดการเด็กกระทำผิดอาญาอายุไม่เกิน 14 ปี: พิจารณาสาเหตุและสภาพแวดล้อมรอบด้าน
ในกรณีที่เด็กอายุเกิน 7 ปี แต่ไม่เกิน 14 ปี กระทำผิดอาญานั้น กฎหมายไม่เอาโทษอาญาอยู่แล้ว และให้อำนาจศาลจัดการแก่เด็กตามสมควรแก่กรณีเป็นขั้นๆ ไปถึง 5 ข้อ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 ซึ่งเกี่ยวข้องกับบิดามารดาของเด็ก หรือผู้ปกครองเด็ก หรือบุคคลที่เด็กอาศัยอยู่ ศาลจึงควรสอบถามเด็กและเรียกบุคคลดังกล่าวมาสอบถามพร้อมโจทก์ เพื่อจะได้ใช้ดุลพินิจจัดการแก่เด็กให้เหมาะสม จะพิจารณาแต่เฉพาะสภาพความผิดที่เด็กกระทำอย่างเดียวไม่ควร ไม่ว่าเด็กจะกระทำผิดร้ายแรงเพียงไรก็ชอบที่จะได้พิจารณาถึงสาเหตุแห่งการกระทำผิด สภาพความเป็นอยู่ของเด็กและครอบครัวของเด็กรวมทั้งสิ่งแวดล้อมทั้งปวง การส่งตัวเด็กไปยังสถานฝึกและอบรมเด็กตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74(5) นั้น ควรกระทำต่อเมื่อจำเป็นต้องกระทำ หรือไม่มีวิธีอื่นใดที่จะกระทำได้ตามอนุมาตรา 1 ถึง 4 แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1209/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การจัดการเด็กกระทำผิดอายุ 7-14 ปี: พิจารณาสาเหตุ, สภาพแวดล้อม, และความเหมาะสมของมาตรการ
ในกรณีที่เด็กอายุเกิน 7 ปี แต่ไม่เกิน 14 ปี กระทำผิดอาญานั้น กฎหมายไม่เอาโทษอาญาอยู่แล้ว และให้อำนาจศาลจัดการแก่เด็กตามสมควรแก่กรณีเป็นขั้นๆ ไปถึง 5 ข้อ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 ซึ่งเกี่ยวข้องกับบิดามารดาของเด็ก หรือผู้ปกครองเด็ก หรือบุคคลที่เด็กอาศัยอยู่ ศาลจึงควรสอบถามเด็กและเรียกบุคคลดังกล่าวมาสอบถามพร้อมโจทก์ เพื่อจะได้ใช้ดุลพินิจจัดการแก่เด็กให้เหมาะสม จะพิจารณาแต่เฉพาะสภาพความผิดที่เด็กกระทำอย่างเดียวไม่ควร ไม่ว่าเด็กจะกระทำผิดร้ายแรงเพียงไร ก็ชอบที่จะได้พิจารณาถึงสาเหตุแห่งการกระทำผิด สภาพความเป็นอยู่ของเด็กและครอบครัวของเด็กรวมทั้งสิ่งแวดล้อมทั้งปวง การส่งตัวเด็กไปยังสถานฝึกและอบรมเด็กตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74(5) นั้น ควรกระทำต่อเมื่อจำเป็นต้องกระทำ หรือไม่มีวิธีอื่นใดที่จะกระทำได้ตามอนุมาตรา 1 ถึง 4 แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 212/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลแก้ไขคำสั่งส่งตัวเด็กเข้าสถานฝึกฯ หลังบิดาร้องขอรับดูแล และยินดีปฏิบัติตามเงื่อนไข
ศาลพิพากษาให้ส่งตัวจำเลยซึ่งมีอายุ 15 ปีไปสถานฝึกและอบรมจนกว่าจะมีอายุครบ 18 ปีบริบูรณ์ ต่อมาบิดาจำเลยร้องขอรับจำเลยไปดูแลเอง โดยยอมปฏิบัติตามเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ศาลจะกำหนด ถือได้ว่าเป็นกรณีที่พฤติการณ์เกี่ยวกับคำสั่งเดิมเปลี่ยนแปลงไปแล้ว ศาลมีอำนาจเปลี่ยนแปลงแก้ไขคำสั่งเดิมได้ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 วรรคท้าย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 212/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลแก้ไขคำสั่งส่งตัวจำเลยเข้าสถานฝึกอบรมเมื่อมีเหตุเปลี่ยนแปลงตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74
ศาลพิพากษาให้ส่งตัวจำเลยซึ่งมีอายุ 15 ปีไปสถานฝึกและอบรมจนกว่าจะมีอายุครบ 18 ปีบริบูรณ์ ต่อมาบิดาจำเลยร้องขอรับจำเลยไปดูแลเอง โดยยอมปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆที่ศาลจะกำหนดถือได้ว่าเป็นกรณีที่พฤติการณ์เกี่ยวกับคำสั่งเดิมเปลี่ยนแปลงไปแล้ว ศาลมีอำนาจเปลี่ยนแปลงแก้ไขคำสั่งเดิมได้ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 วรรคท้าย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 212/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงคำสั่งศาลกรณีเยาวชนกระทำผิด – อำนาจแก้ไขเมื่อพฤติการณ์เปลี่ยนแปลง
ศาลพิพากษาให้ส่งตัวจำเลยซึ่งมีอายุ 15 ปีไปสถานฝึกและอบรมจนกว่าจะมีอายุครบ 18 ปีบริบูรณ์. ต่อมาบิดาจำเลยร้องขอรับจำเลยไปดูแลเอง โดยยอมปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆที่ศาลจะกำหนด. ถือได้ว่าเป็นกรณีที่พฤติการณ์เกี่ยวกับคำสั่งเดิมเปลี่ยนแปลงไปแล้ว ศาลมีอำนาจเปลี่ยนแปลงแก้ไขคำสั่งเดิมได้. ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 วรรคท้าย.