พบผลลัพธ์ทั้งหมด 50 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 581/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การควบคุมตัวเด็กในระหว่างพิจารณาคดีและการหักวันกักขังเมื่อศาลเปลี่ยนโทษเป็นสถานฝึกอบรม
เด็กที่ถูกควบคุมระหว่างพิจารณาคดีตามหมายของศาลซึ่งให้สถานพินิจควบคุมไว้นั้น มาตรา 16 (4) แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็ก พ.ศ. 2494 ซึ่งแก้ไขโดยฉบับที่ 2 พ.ศ. 2506 มาตรา 6 ให้อำนาจสถานพินิจฯ ส่งตัวไปกักไว้ที่เรือนจำได้ โดยถือว่าอยู่ในความควบคุมของสถานพินิจ เมื่อเด็กถูกพิพากษาลงโทษศาลจะคิดหักวันที่ถูกกักอยู่ในเรือนจำให้ตามมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 ก็ได้
การที่สถานพินิจส่งตัวเด็กหรือเยาวชนไปกักไว้ที่เรือนจำในระหว่างพิจารณาคดีนั้น ไม่ใช่เป็นการกักและอบรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 มาตรา 31(1) ซึ่งให้กักและอบรมในสถานที่ที่ไม่ใช่เรือนจำ
การที่ศาลเปลี่ยนโทษจำคุกเป็นการส่งตัวไปยังสถานฝึกและอบรมตามมาตรา 31(2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 ซึ่งแก้ไขโดยฉบับที่ 2 พ.ศ. 2506 มาตรา 9 ก็อยู่ในความหมายว่าได้พิพากษาลงโทษตามนัยมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 ซึ่งต้องตีความคำว่า "ลงโทษ" อย่างกว้าง ให้รวมถึงการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนแก่เด็กและเยาวชนซึ่งกระทำความผิดด้วย เพราะตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 เด็กอายุไม่เกิน 14 ปี ไม่ต้องรับโทษอาญา ถ้าไม่ถือว่าการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนเป็นการลงโทษ ก็จะหักวันถูกควบคุมระหว่างพิจารณาคดีให้แก่เด็กดังกล่าวไม่ได้
เมื่อศาลคดีเด็กฯ พิพากษาเปลี่ยนโทษจำคุกเป็นการส่งสถานฝึกและอบรมอันเป็นการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนตามมาตรา 31 (2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ แล้ว จะอุทธรณ์ขอให้เปลี่ยนแปลงดุลพินิจของศาลคดีเด็กฯ ไม่ได้ เพราะต้องห้ามตามมาตรา 27 (2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ
การที่สถานพินิจส่งตัวเด็กหรือเยาวชนไปกักไว้ที่เรือนจำในระหว่างพิจารณาคดีนั้น ไม่ใช่เป็นการกักและอบรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 มาตรา 31(1) ซึ่งให้กักและอบรมในสถานที่ที่ไม่ใช่เรือนจำ
การที่ศาลเปลี่ยนโทษจำคุกเป็นการส่งตัวไปยังสถานฝึกและอบรมตามมาตรา 31(2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 ซึ่งแก้ไขโดยฉบับที่ 2 พ.ศ. 2506 มาตรา 9 ก็อยู่ในความหมายว่าได้พิพากษาลงโทษตามนัยมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 ซึ่งต้องตีความคำว่า "ลงโทษ" อย่างกว้าง ให้รวมถึงการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนแก่เด็กและเยาวชนซึ่งกระทำความผิดด้วย เพราะตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 เด็กอายุไม่เกิน 14 ปี ไม่ต้องรับโทษอาญา ถ้าไม่ถือว่าการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนเป็นการลงโทษ ก็จะหักวันถูกควบคุมระหว่างพิจารณาคดีให้แก่เด็กดังกล่าวไม่ได้
เมื่อศาลคดีเด็กฯ พิพากษาเปลี่ยนโทษจำคุกเป็นการส่งสถานฝึกและอบรมอันเป็นการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนตามมาตรา 31 (2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ แล้ว จะอุทธรณ์ขอให้เปลี่ยนแปลงดุลพินิจของศาลคดีเด็กฯ ไม่ได้ เพราะต้องห้ามตามมาตรา 27 (2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 581/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การควบคุมตัวเด็กในระหว่างพิจารณาคดีและการหักวันควบคุมตัวเมื่อศาลเปลี่ยนโทษเป็นวิธีการสำหรับเด็กและเยาวชน
เด็กที่ถูกควบคุมระหว่างพิจารณาคดีตามหมายของศาลซึ่งให้สถานพินิจควบคุมไว้นั้น มาตรา 16(4) แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กพ.ศ. 2494 ซึ่งแก้ไขโดยฉบับที่ 2 พ.ศ. 2506 มาตรา 6 ให้อำนาจสถานพินิจฯ ส่งตัวไปกักไว้ที่เรือนจำได้ โดยถือว่าอยู่ในความควบคุมของสถานพินิจ เมื่อเด็กถูกพิพากษาลงโทษศาลจะคิดหักวันที่ถูกกักอยู่ในเรือนจำให้ตามมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กฯพ.ศ. 2494 ก็ได้
การที่สถานพินิจส่งตัวเด็กหรือเยาวชนไปกักไว้ที่เรือนจำในระหว่างพิจารณาคดีนั้น ไม่ใช่เป็นการกักและอบรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 มาตรา 31(1) ซึ่งให้กักและอบรมในสถานที่ที่ไม่ใช่เรือนจำ
การที่ศาลเปลี่ยนโทษจำคุกเป็นการส่งตัวไปยังสถานฝึกและอบรมตามมาตรา 31(2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 ซึ่งแก้ไขโดยฉบับที่ 2 พ.ศ. 2506 มาตรา 9 ก็อยู่ในความหมายว่าได้พิพากษาลงโทษตามนัยมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กฯพ.ศ. 2494 ซึ่งต้องตีความคำว่า 'ลงโทษ' อย่างกว้าง ให้รวมถึงการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนแก่เด็กและเยาวชนซึ่งกระทำความผิดด้วยเพราะตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 เด็กอายุไม่เกิน 14 ปี ไม่ต้องรับโทษอาญา ถ้าไม่ถือว่าการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนเป็นการลงโทษ ก็จะหักวันถูกควบคุมระหว่างพิจารณาคดีให้แก่เด็กดังกล่าวไม่ได้
เมื่อศาลคดีเด็กฯ พิพากษาเปลี่ยนโทษจำคุกเป็นการส่งสถานฝึกและอบรม อันเป็นการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนตามมาตรา 31(2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ แล้ว จะอุทธรณ์ขอให้เปลี่ยนแปลงดุลพินิจของศาลคดีเด็กฯ ไม่ได้ เพราะต้องห้ามตามมาตรา 27(2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ
การที่สถานพินิจส่งตัวเด็กหรือเยาวชนไปกักไว้ที่เรือนจำในระหว่างพิจารณาคดีนั้น ไม่ใช่เป็นการกักและอบรมตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 มาตรา 31(1) ซึ่งให้กักและอบรมในสถานที่ที่ไม่ใช่เรือนจำ
การที่ศาลเปลี่ยนโทษจำคุกเป็นการส่งตัวไปยังสถานฝึกและอบรมตามมาตรา 31(2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ พ.ศ. 2494 ซึ่งแก้ไขโดยฉบับที่ 2 พ.ศ. 2506 มาตรา 9 ก็อยู่ในความหมายว่าได้พิพากษาลงโทษตามนัยมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กฯพ.ศ. 2494 ซึ่งต้องตีความคำว่า 'ลงโทษ' อย่างกว้าง ให้รวมถึงการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนแก่เด็กและเยาวชนซึ่งกระทำความผิดด้วยเพราะตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 74 เด็กอายุไม่เกิน 14 ปี ไม่ต้องรับโทษอาญา ถ้าไม่ถือว่าการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนเป็นการลงโทษ ก็จะหักวันถูกควบคุมระหว่างพิจารณาคดีให้แก่เด็กดังกล่าวไม่ได้
เมื่อศาลคดีเด็กฯ พิพากษาเปลี่ยนโทษจำคุกเป็นการส่งสถานฝึกและอบรม อันเป็นการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชนตามมาตรา 31(2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ แล้ว จะอุทธรณ์ขอให้เปลี่ยนแปลงดุลพินิจของศาลคดีเด็กฯ ไม่ได้ เพราะต้องห้ามตามมาตรา 27(2) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กฯ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 257/2499 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษจำคุกทวีคูณสำหรับผู้กระทำผิดซ้ำในคดีอาญาภายใน 5 ปี
การที่จำเลยเคยต้องโทษมาแล้ว 2 ครั้ง ๆ ที่ 1 ฐานลักทรัพย์ตาม ม.295 จำคุก 3 ปี ครั้งที่ 2 ฐานชิงทรัพย์ ตาม ม.299 จำคุก 1 ปี 6 เดือน แล้วกลับมากระทำผิดฐานวิ่งราวทรัพย์ในคดีนี้อีก (เป็นครั้งที่ 3) ภายใน 5ปี ดังนี้ จำต้องเพิ่มโทษจำเลยเป็นทวีคูณตาม ม.74.
(อ้างฎีกาที่ 1266/2481)
(อ้างฎีกาที่ 1266/2481)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1455/2498 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษทวีคูณ ม.74 อาญา: ความผิดซ้ำประเภทเดียวกัน
ความผิดที่จะเพิ่มโทษทวี คูณตาม ก.ม.อาญา ม.74 นั้นหมายถึงความผิดที่ซ้ำประเภทเดียวกัน กล่าวคือซ้ำกันในเรื่องความผิดฐานประทุษร้ายต่อชีวิตและร่างกายตั้งแต่ ม.249 ถึง 259 ประเภทหนึ่ง กับซ้ำกันในเรื่องความผิดฐานประทุษร้ายต่อทรัพย์ตั้งแต่ ม. 288 ถึง 323 อีกประเภทหนึ่ง
จำเลยเคยต้องโทษฐานลักทรัพย์ ต้องโทษจำคุกเกินกว่า 6 เดือน มาแล้วทั้ง 2 ครั้ง พ้นโทษไปแล้วไม่เกิน 5 ปีมากระทำผิดฐานรับของโจรอีก ดังนี้การกระทำของจำเลยเข้าเกณฑ์ความผิดตาม ม. 74 แล้ว
จำเลยเคยต้องโทษฐานลักทรัพย์ ต้องโทษจำคุกเกินกว่า 6 เดือน มาแล้วทั้ง 2 ครั้ง พ้นโทษไปแล้วไม่เกิน 5 ปีมากระทำผิดฐานรับของโจรอีก ดังนี้การกระทำของจำเลยเข้าเกณฑ์ความผิดตาม ม. 74 แล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 109/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษตาม ม.74 ต้องเป็นความผิดในหมวดเดียวกันกับความผิดเดิม แม้ศาลลงโทษตามบทหนัก
ความผิดที่จะเป็นเหตุให้เพิ่มโทษเป็นทวีคูณคามความใน ม.74 นั้น จะต้องเป็นความผิดที่อยู่ในประเภท(หมวด) เดียวกับความผิดในครั้งก่อน
จำเลยเคยต้องโทษฐานลักทรัพย์พ้นโทษแล้วมากระทำผิดครั้งนี้ขึ้นอีก คือ ลักทรัพย์และหน่วงเหนี่ยวเพื่อเรียกสินไถ่สำหรับความผิดครั้งนี้แม้ศาลพิพากษาว่าจำเลยผิดตาม ม. 294 ซึ่งอยู่ในหมวดว่าด้วยการประทุษร้ายต่อทรัพย์และ ม. 270 ซึ่งอยู่ในหมวดว่าด้วยการทำให้เสื่อมเสียอิสสระภาพ แต่เมื่อศาลให้ลงโทษจำเลยตาม ม.270 ซึ่งเป็นบทหนักแต่มาตราเดียว ดังนี้ความผิดของจำเลยในครั้งนี้จึงเป็นความผิดซึงปรับอยู่ในหมวดว่าด้วยการทำให้เสื่อมเสียอิสสระภาพเท่านั้นและเป็นความผิดคนละหมวดกับผิดครั้งก่อนซึ่งอยู่ในหมวดว่าด้วยการประทุษร้ายต่อทรัพย์ ดังนี้จะเพิ่มโทษจำเลยตาม ม. 74 ไม่ได้
จำเลยเคยต้องโทษฐานลักทรัพย์พ้นโทษแล้วมากระทำผิดครั้งนี้ขึ้นอีก คือ ลักทรัพย์และหน่วงเหนี่ยวเพื่อเรียกสินไถ่สำหรับความผิดครั้งนี้แม้ศาลพิพากษาว่าจำเลยผิดตาม ม. 294 ซึ่งอยู่ในหมวดว่าด้วยการประทุษร้ายต่อทรัพย์และ ม. 270 ซึ่งอยู่ในหมวดว่าด้วยการทำให้เสื่อมเสียอิสสระภาพ แต่เมื่อศาลให้ลงโทษจำเลยตาม ม.270 ซึ่งเป็นบทหนักแต่มาตราเดียว ดังนี้ความผิดของจำเลยในครั้งนี้จึงเป็นความผิดซึงปรับอยู่ในหมวดว่าด้วยการทำให้เสื่อมเสียอิสสระภาพเท่านั้นและเป็นความผิดคนละหมวดกับผิดครั้งก่อนซึ่งอยู่ในหมวดว่าด้วยการประทุษร้ายต่อทรัพย์ ดังนี้จะเพิ่มโทษจำเลยตาม ม. 74 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 753/2486 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มลดโทษกรณีโทษถึงประหารชีวิต: ศาลพิจารณาเหตุเพิ่มลดโทษได้แม้โทษสูงสุดแล้ว
จำเลยจะต้องถูกเพิ่มโทสทวีคูนตามมาตรา 74 และได้รับความปรานีลดโทสตาม ม. 59 หนึ่งไนสาม แต่ความผิดครั้งหลังที่จำเลยกะทำนี้มีโทสถึงประหารชีวิต จึงเพิ่มโทสไม่ได้ ได้แต่ลดโทส
อ้างดีกาที่ 683/2484.
อ้างดีกาที่ 683/2484.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 823/2485 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษจำเลยฐานกระทำผิดซ้ำในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์สินภายใน 3 ปี
เคยต้องโทษฐานลักทรัพย์+จำคุกเกิน 6 เดือนแล้ว+ต้องโทษฐานรับของโจรภายใน 3 ปีต้องเพิ่มโทษกึ่งหนึ่งตามมาตรา 73
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 764/2485 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษอาญาซ้ำจากประวัติโทษเดิม แม้ฟ้องไม่ได้ระบุจำนวนครั้ง หากมีเจตนาขอเพิ่มโทษชัดเจน
ฟ้องโจทย์บรรยายเพียงว่าจำเลย+ต้องคำพิพากษาให้ลงโทษ+แล้ว มิได้กล่าวว่าเป็น+นวนกี่ครั้งก็ดี แต่ในคำขอท้ายฟ้องขอให้เพิ่มโทษตาม ม.74 และจำเลยก็รับว่าเคยต้องโทษตามใบแดงแจ้ง+จริง ศาลย่อมเพิ่มโทษจำเลยตามมาตรา 74 ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 266/2482
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษอาญาซ้ำซ้อน: การพิจารณาโทษรวมจากความผิดหลายฐานและระยะเวลา
จำเลยเคยต้องคำพิพากษาให้ลงโทษมาแล้วหลายครั้งที่เปนโทษรวมความผิดหลายอย่างต่างฐานกัน+ละอัตราโทษก็มิได้แยกไว้ตามฐานความผิดว่าฐาน+มีอัตราโทษเท่าไรแน่นอนดังนี้จะเพิ่มโทษ+เลยตาม ม.74 มิได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1266/2481
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเพิ่มโทษอาญาซ้ำ: กำหนดเวลา 5 ปีสำหรับความผิดซ้ำ และขอบเขตการใช้มาตรา 74
การเพิ่มโทษตาม ม.74 +ใช้แก่ผู้ต้องโทษซึ่ง+แนกไว้ในมาตรานี้ซ้ำ+เป็น 2 ครั้ง แล้วมากระทำผิดอย่างเดียวกันอีกภายใน 5 ปีโดยโทษครั้งที่ 1 และ 2 มิได้กำหนดว่าต้องอยู่ภายใน 5 ปี กำหนด+ ปีใช้ฉะเพาะโทษครั้งที่ 2 และ 3 เท่านั้น (ดูฉะบับภาษาอังกฤษและฉะบับเทียบโค้ตอาญาของกรมหลวงราชบุรี)