คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
ป.พ.พ. ม. 193

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 114 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1446/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญาเงินกู้และค้ำประกัน, การเบิกเงินเกินบัญชี, ดอกเบี้ยทบต้น, อายุความ, และการพิสูจน์ลายมือชื่อ
สัญญากู้และสัญญาค้ำประกันที่ทำขึ้นโดยเจ้าหน้าที่ของธนาคารและจำเลยได้ลงชื่อในสัญญานั้นด้วย เมื่อศาลได้พิจารณาสัญญาดังกล่าวนี้เปรียบเทียบกับลายเซ็นตัวอย่างที่จำเลยมอบให้ธนาคารไว้และกับลายเซ็นของจำเลยในใบแต่งทนายแล้ว เชื่อว่าเป็นลายเซ็นของบุคคลคนเดียวกัน ประกอบกับมีพยานบุคคลมายืนยันด้วย สัญญากู้และสัญญาค้ำประกันจึงไม่ใช่สัญญาปลอม
จำเลยทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีในวงเงิน 50,000 บาท ต่อมาจำเลยได้นำเงินเข้าบัญชีผลักใช้หนี้เป็นคราวๆ แสดงถึงฐานะของจำเลยว่ามีทางจะชำระหนี้ได้ ธนาคารจึงยอมให้เบิกเงินเกินกว่าสัญญากู้อันเป็นประเพณีของธนาคาร การเบิกเงินเกินบัญชีนี้ถือว่าเป็นเรื่องของบัญชีเดินสะพัด ซึ่งไม่จำเป็นต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ จำเลยเบิกเงินไปมากกว่าวงเงินที่ทำสัญญากู้ไว้ ต้องรับผิดในยอดเงินที่เกินนั้น ส่วนผู้ค้ำประกันคงต้องรับผิดในวงเงินเท่าที่ทำสัญญาค้ำประกันไว้เท่านั้น
อายุความใช้สิทธิเรียกเอาดอกเบี้ยค้างส่ง เมื่อจำเลยไม่ได้ยกเอาอายุความขึ้นต่อสู้ เรื่องดอกเบี้ยนี้ไม่ใช่ปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน ธนาคารจึงมีสิทธิเรียกดอกเบี้ยเกินกว่า 5 ปี ทั้งนี้จะเรียกดอกเบี้ยทบต้นได้เฉพาะที่ลูกหนี้ยังไม่ได้ผิดนัด เมื่อลูกหนี้ผิดนัดแล้ว ต่อแต่นั้นไปเจ้าหนี้จะเรียกดอกเบี้ยทบต้นไม่ได้ คงเรียกได้แต่ดอกเบี้ยตามธรรมดา(ฎีกาที่ 658-659/2511)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1446/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สัญญากู้, สัญญาค้ำประกัน, เบิกเกินบัญชี, อายุความดอกเบี้ย, การพิสูจน์ลายมือชื่อ
สัญญากู้และสัญญาค้ำประกันที่ทำขึ้นโดยเจ้าหน้าที่ของธนาคาร. และจำเลยได้ลงชื่อในสัญญานั้นด้วย. เมื่อศาลได้พิจารณาสัญญาดังกล่าวนี้เปรียบเทียบกับลายเซ็นตัวอย่างที่จำเลยมอบให้ธนาคารไว้และกับลายเซ็นของจำเลยในใบแต่งทนายแล้ว. เชื่อว่าเป็นลายเซ็นของบุคคลคนเดียวกัน ประกอบกับมีพยานบุคคลมายืนยันด้วย. สัญญากู้และสัญญาค้ำประกันจึงไม่ใช่สัญญาปลอม.
จำเลยทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีในวงเงิน 50,000 บาท. ต่อมาจำเลยได้นำเงินเข้าบัญชีผลักใช้หนี้เป็นคราวๆ แสดงถึงฐานะของจำเลยว่ามีทางจะชำระหนี้ได้. ธนาคารจึงยอมให้เบิกเงินเกินกว่าสัญญากู้อันเป็นประเพณีของธนาคาร. การเบิกเงินเกินบัญชีนี้ถือว่าเป็นเรื่องของบัญชีเดินสะพัด.ซึ่งไม่จำเป็นต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ. จำเลยเบิกเงินไปมากกว่าวงเงินที่ทำสัญญากู้ไว้ ต้องรับผิดในยอดเงินที่เกินนั้น. ส่วนผู้ค้ำประกันคงต้องรับผิดในวงเงินเท่าที่ทำสัญญาค้ำประกันไว้เท่านั้น.
อายุความใช้สิทธิเรียกเอาดอกเบี้ยค้างส่ง. เมื่อจำเลยไม่ได้ยกเอาอายุความขึ้นต่อสู้.เรื่องดอกเบี้ยนี้ไม่ใช่ปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน. ธนาคารจึงมีสิทธิเรียกดอกเบี้ยเกินกว่า 5 ปี. ทั้งนี้จะเรียกดอกเบี้ยทบต้นได้เฉพาะที่ลูกหนี้ยังไม่ได้ผิดนัด. เมื่อลูกหนี้ผิดนัดแล้ว ต่อแต่นั้นไปเจ้าหนี้จะเรียกดอกเบี้ยทบต้นไม่ได้. คงเรียกได้แต่ดอกเบี้ยตามธรรมดา(ฎีกาที่ 658-659/2511).

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1446/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การพิสูจน์ลายมือชื่อในสัญญากู้และการค้ำประกัน, การเบิกเงินเกินบัญชี, และดอกเบี้ย
สัญญากู้และสัญญาค้ำประกันที่ทำขึ้นโดยเจ้าหน้าที่ของธนาคาร และจำเลยได้ลงชื่อในสัญญานั้นด้วย เมื่อศาลได้พิจารณาสัญญาดังกล่าวนี้เปรียบเทียบกันลายเซ็นตัวอย่างที่จำเลยมอบให้ธนาคารไว้ และกับลายเซ็นของจำเลยในใบแต่งทนายแล้ว เชื่อว่าลายเซ็นของบุคคลคนเดียวกัน ประกอบกับมีพยานบุคคลมายืนยันด้วย สัญญากู้และสัญญาค้ำประกันจึงไม่ใช่สัญญาปลอม
จำเลยทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีในวงเงิน 50,000 บาท ต่อมาจำเลยได้นำเงินเข้าบัญชีผลักใช้หนี้เป็นคราวๆ ถึงฐานะของจำเลยว่ามีทางจะชำระหนี้ได้ ธนาคารจึงยอมให้เบิกเงินเกินบัญชีสัญญากู้อันเป็นประเพณีของธนาคาร การเบิกเงินเกินกว่านี้ถือว่าเป็นเรื่องของบัญชีเดินสะพัดซึ่งไม่จำเป็นต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ จำเลยเบิกเงินไปมากกว่าวงเงินที่ทำสัญญากู้ไว้ ต้องรับผิดในยอดเงินที่เกินนั้น ส่วนผู้ค้ำประกันคงต้องรับผิดในวงเงินเท่าที่ทำสัญญาค้ำประกันไว้เท่านั้น
อายุความใช้สิทธิเรียกเอาดอกเบี้ยค้างส่ง เมื่อจำเลยไม่ได้ยกเอาอายุความขึ้นต่อสู้ เรื่องดอกเบี้ยนี้ไม่ใช่ปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน ธนาคารจึงมีสิทธิเรียกดอกเบี้ยเกินกว่า 5 ปี ทั้งนี้จะเรียกดอกเบี้ยทบต้นได้เฉพาะที่ลูกหนี้ยังไม่ได้ผิดนัด เมื่อลูกหนี้ผิดนัดแล้ว ต่อแต่นั้นไปเจ้าหนี้จะเรียกดอกเบี้ยทบต้นไม่ได้ คงเรียกได้แต่ดอกเบี้ยตามธรรมดา (ฎีกาที่ 658 - 659/2510)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 543/2512

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความผู้รับพินัยกรรม: การครอบครองมรดกและการฟ้องร้องเรียกร้องสิทธิ
โจทก์และจำเลยต่างเป็นผู้รับพินัยกรรม. แต่โจทก์เป็นผู้ครอบครองมรดกแต่ผู้เดียว. เมื่อจำเลยมิได้ฟ้องร้องคดีเพื่อเรียกร้องเอามรดกตามพินัยกรรมจนพ้นกำหนดหนึ่งปีนับแต่วันที่จำเลยรู้ถึงสิทธิซึ่งจำเลยมีอยู่ตามพินัยกรรมแล้ว. โจทก์ย่อมกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 วรรคสอง ขึ้นใช้ยันจำเลย และฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้คัดค้านการที่โจทก์ขอรับมรดกได้.
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1755 เป็นบทบัญญัติถึงเรื่องการใช้อายุความหนึ่งปีขึ้นต่อสู้ว่าต้องเป็นทายาท.หรือบุคคลซึ่งชอบที่จะใช้สิทธิของทายาทหรือผู้จัดการมรดก. โจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรม จึงมีสิทธิกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีขึ้นใช้ยันจำเลยซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมด้วยกันได้.
ที่ดินมรดกมีหลายแปลง มีข้อกำหนดตามพินัยกรรมในเรื่องผู้จัดการมรดกเฉพาะที่ดินที่พิพาทกับผู้มีชื่อ. โดยไม่ได้ระบุว่าที่ดินแปลงใดอันจะเป็นมรดกที่มีผู้จัดการซึ่งมีสิทธิฟ้องเรียกเอาได้เกินหนึ่งปี. เมื่อจำเลยจะอ้างประโยชน์จากอายุความเพราะเหตุนี้. ภาระการพิสูจน์ย่อมตกแก่จำเลย.
ที่ดินมรดกหลายแปลง. แปลงใดที่พินัยกรรมมิได้กำหนดให้มีผู้จัดการมรดก. ผู้รับพินัยกรรมจะฟ้องเรียกเอาเกินกว่าหนึ่งปีไม่ได้.
โจทก์ซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมครอบครองที่ดินมรดกมาแต่ผู้เดียวเกินกว่าหนึ่งปี. ฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้เกี่ยวข้องกับมรดก. จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่ามรดกรายนี้มีผู้จัดการอันจะทำให้มีสิทธิฟ้องร้องเกินหนึ่งปีได้.ประเด็นนี้จึงไม่เป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาแล้วในศาลชั้นต้น. ศาลอุทธรณ์ไม่มีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัย.เพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 543/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความการเรียกร้องมรดกตามพินัยกรรม: ผู้รับพินัยกรรมมีสิทธิฟ้องภายใน 1 ปี หากไม่มีผู้จัดการมรดก
โจทก์และจำเลยต่างเป็นผู้รับพินัยกรรม แต่โจทก์เป็นผู้ครอบครองมรดกแต่ผู้เดียว เมื่อจำเลยมิได้ฟ้องร้องคดีเพื่อเรียกร้องเอามรดกตามพินัยกรรมจนพ้นกำหนดหนึ่งปี นับแต่วันที่จำเลยรู้ถึงสิทธิซึ่งจำเลยมีอยู่ตามพินัยกรรมแล้ว โจทก์ย่อมกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 วรรคสอง ขึ้นใช้ยันจำเลย และฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้คัดค้านการที่โจทก์ขอรับมรดกได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1755 เป็นบทบัญญัติถึงเรื่องการใช้อายุความหนึ่งปีขึ้นต่อสู้ว่าต้องเป็นทายาท หรือบุคคลซึ่งชอบที่จะใช้สิทธิของทายาท หรือผู้จัดการมรดก โจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรม จึงมีสิทธิกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีขึ้นใช้ยันจำเลยซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมด้วยกันได้
ที่ดินมรดกมีหลายแปลง มีข้อกำหนดตามพินัยกรรมในเรื่องผู้จัดการมรดกเฉพาะที่ดินที่พิพาทกับผู้มีชื่อ โดยไม่ได้ระบุว่าที่ดินแปลงใดอันจะเป็นมรดกที่มีผู้จัดการซึ่งมีสิทธิฟ้องเรียกเอาได้เกินหนึ่งปี เมื่อจำเลยจะอ้างประโยชน์จากอายุความเพราะเหตุนี้ ภาระการพิสูจน์ย่อมตกแก่จำเลย
ที่ดินมรดกหลายแปลง แปลงใดที่พินัยกรรมมิได้กำหนดให้มีผู้จัดการมรดก ผู้รับพินัยกรรมจะฟ้องเรียกเอาเกินกว่าหนึ่งปีไม่ได้
โจทก์ซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมครอบครองที่ดินมรดกมาแต่ผู้เดียวเกินกว่าหนึ่งปี ฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้เกี่ยวข้องกับมรดก จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่ามรดกรายนี้มีผู้จัดการอันจะทำให้มีสิทธิฟ้องร้องเกินหนึ่งปีได้ ประเด็นนี้จึงไม่เป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาแล้วในศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ไม่มีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัย เพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 543/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ อายุความการเรียกร้องมรดกตามพินัยกรรม: การครอบครองมรดกแต่ผู้เดียวและการยกเว้นอายุความ
โจทก์และจำเลยต่างเป็นผู้รับพินัยกรรมแต่โจทก์เป็นผู้ครอบครองมรดกแต่ผู้เดียวเมื่อจำเลยมิได้ฟ้องร้องคดีเพื่อเรียกร้องเอามรดกตามพินัยกรรมจนพ้นกำหนดหนึ่งปีนับแต่วันที่จำเลยรู้ถึงสิทธิซึ่งจำเลยมีอยู่ตามพินัยกรรมแล้ว โจทก์ย่อมกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 วรรคสอง ขึ้นใช้ยันจำเลย และฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้คัดค้านการที่โจทก์ขอรับมรดกได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1755 เป็นบทบัญญัติถึงเรื่องการใช้อายุความหนึ่งปีขึ้นต่อสู้ว่าต้องเป็นทายาทหรือบุคคลซึ่งชอบที่จะใช้สิทธิของทายาทหรือผู้จัดการมรดก โจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรม จึงมีสิทธิกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีขึ้นใช้ยันจำเลยซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมด้วยกันได้
ที่ดินมรดกมีหลายแปลง มีข้อกำหนดตามพินัยกรรมในเรื่องผู้จัดการมรดกเฉพาะที่ดินที่พิพาทกับผู้มีชื่อโดยไม่ได้ระบุว่าที่ดินแปลงใดอันจะเป็นมรดกที่มีผู้จัดการซึ่งมีสิทธิฟ้องเรียกเอาได้เกินหนึ่งปีเมื่อจำเลยจะอ้างประโยชน์จากอายุความเพราะเหตุนี้ภาระการพิสูจน์ย่อมตกแก่จำเลย
ที่ดินมรดกหลายแปลง แปลงใดที่พินัยกรรมมิได้กำหนดให้มีผู้จัดการมรดก ผู้รับพินัยกรรมจะฟ้องเรียกเอาเกินกว่าหนึ่งปีไม่ได้
โจทก์ซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมครอบครองที่ดินมรดกมาแต่ผู้เดียวเกินกว่าหนึ่งปีฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้เกี่ยวข้องกับมรดกจำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่ามรดกรายนี้มีผู้จัดการอันจะทำให้มีสิทธิฟ้องร้องเกินหนึ่งปีได้ประเด็นนี้จึงไม่เป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาแล้วในศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ไม่มีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยเพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1982/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การครอบครองปรปักษ์และการยกข้อต่อสู้เรื่องกรรมสิทธิ์ในที่ดิน ศาลฎีกาเห็นควรให้วินิจฉัยประเด็นนี้
โจทก์นำยึดที่ดินมีโฉนดเพื่อบังคับชำระหนี้ตามคำพิพากษา.มีผู้ร้องขัดทรัพย์โจทก์ยื่นคำให้การต่อสู้ว่า ที่พิพาทเป็นของจำเลย จำเลยได้ครอบครองเป็นเจ้าของโดยสงบและเปิดเผยนั้น. เป็นที่เข้าใจได้ว่า โจทก์ยกข้อต่อสู้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1382 แล้ว. คดีย่อมมีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยว่า ที่พิพาทเป็นของจำเลยจริงหรือไม่.
การที่โจทก์นำสืบว่า จำเลยได้ครอบครองที่พิพาทโดยเปิดเผยอย่างเป็นเจ้าของหลังจากเจ้ามรดกตายมาเป็นเวลากว่า 10 ปีนั้น. เป็นการนำสืบถึงที่มาแห่งการเป็นเจ้าของ ซึ่งอยู่ในประเด็นข้อต่อสู้ของโจทก์ที่ว่าจำเลยเป็นเจ้าของที่พิพาทหรือไม่.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1982/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การครอบครองปรปักษ์และการยกข้อต่อสู้เรื่องกรรมสิทธิ์ในที่ดิน การวินิจฉัยประเด็นโดยศาล
โจทก์นำยึดที่ดินมีโฉนดเพื่อบังคับชำระหนี้ตามคำพิพากษามีผู้ร้องขัดทรัพย์โจทก์ยื่นคำให้การต่อสู้ว่า ที่พิพาทเป็นของจำเลย จำเลยได้ครอบครองเป็นเจ้าของโดยสงบและเปิดเผยนั้น เป็นที่เข้าใจได้ว่า โจทก์ยกข้อต่อสู้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1382 แล้ว คดีย่อมมีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยว่า ที่พิพาทเป็นของจำเลยจริงหรือไม่
การที่โจทก์นำสืบว่า จำเลยได้ครอบครองที่พิพาทโดยเปิดเผยอย่างเป็นเจ้าของหลังจากเจ้ามรดกตายมาเป็นเวลากว่า 10 ปีนั้น เป็นการนำสืบถึงที่มาแห่งการเป็นเจ้าของ ซึ่งอยู่ในประเด็นข้อต่อสู้ของโจทก์ที่ว่าจำเลยเป็นเจ้าของที่พิพาทหรือไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1982/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การครอบครองปรปักษ์: โจทก์ยกข้อต่อสู้ได้ ศาลอุทธรณ์ไม่รับวินิจฉัย ศาลฎีกาให้ย้อนสำนวน
โจทก์นำยึดที่ดินมีโฉนดเพื่อบังคับชำระหนี้ตามคำพิพากษา มีผู้ร้องขัดทรัพย์โจทก์ยื่นคำให้การต่อสู้ว่า ที่พิพาทเป็นของจำเลย จำเลยได้ครอบครองเป็นเจ้าของโดยสงบและเปิดเผยนั้น เป็นที่เข้าใจได้ว่า โจทก์ยกข้อต่อสู้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1382 แล้ว คดีย่อมมีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยว่า ที่พิพาทเป็นของจำเลยจริงหรือไม่
การที่โจทก์นำสืบว่า จำเลยได้ครอบครองที่พิพาทโดยเปิดเผยอย่างเป็นเจ้าของหลังจากเจ้ามรดกตายมาเป็นเวลากว่า 10 ปีนั้น เป็นการนำสืบถึงที่มาแห่งการเป็นเจ้าของ ซึ่งอยู่ในประเด็นข้อต่อสู้ของโจทก์ที่ว่าจำเลยเป็นเจ้าของที่พิพาทหรือไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 539/2511

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องหย่าจากเหตุหมิ่นประมาท, ทำร้ายร่างกาย, และฐานะทางการเงินของคู่สมรส
สามีภริยาได้ทำหนังสือลงลายมือชื่อสามีภริยาและพยาน 2คน มีข้อความว่าได้พร้อมใจกันเลิกสภาพการเป็นสามีภริยากันตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป. เช่นนี้ เป็นการเลิกสภาพการเป็นสามีภริยาโดยพฤตินัย. แต่โดยทางนิตินัยยังมิได้หย่าขาดกันตามกฎหมาย หรือมีความประสงค์จะไปจดทะเบียนในภายหลัง. และต่อมาอีก 5 วัน สามีโทรเลขให้ภริยากลับบ้านบอกว่าฉีกหนังสือนั้นแล้ว. ต่อมาได้คืนดีกันและประพฤติต่อกันฉันสามีภริยาอีก. ดังนี้ จะถือว่าหย่าขาดจากกันตามหนังสือดังกล่าวไม่ได้.
ภริยาส่งจดหมายถึงสามีมีใจความว่า สามีเป็นสัตว์ป่าในร่างมนุษย์. เป็นการหมิ่นประมาทสามีอย่างร้ายแรง อันเป็นเหตุให้สามีฟ้องหย่าได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1500(2).
ภริยาส่งจดหมายถึงสามีมีข้อความว่า ภริยาจะจ้างด้วยเงิน ด้วยตัวกับผู้ที่หลงรักภริยา ให้เอาน้ำกรดสาดหน้าสามี. ย่อมถือได้ว่าภริยาทำการเป็นปฏิปักษ์ต่อการที่เป็นสามีภริยากันอย่างร้ายแรง. จนสามีไม่อาจจะอยู่กินกันได้. เพราะอาจได้รับอันตรายจากภริยาเมื่อใดก็ได้. อันเป็นเหตุให้สามีฟ้องหย่าได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1500(3).
ภริยามีที่ดินและอาคารราคาสองแสนบาทเศษ ใช้อาคารนั้นเป็นหอพักเก็บผลประโยชน์ได้เดือนละ 1,000 บาทเศษ และทำงานได้เงินเดือนเดือนละ 1,975 บาทถือว่าภริยามีรายได้พอจากทรัพย์สินและการงานที่ทำ. เมื่อหย่ากันโดยสามีภริยาเป็นผู้ต้องรับผิดทั้งสองฝ่าย สามีไม่ต้องจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1506.
แม้โจทก์ฟ้องขอหย่าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1500(2)(3). เมื่อพ้นกำหนด 3 เดือนนับแต่วันรู้เหตุหย่าก็ตาม. แต่จำเลยไม่ได้ยกเอาเหตุแห่งการระงับของสิทธิฟ้องร้องตามมาตรา 1509 ขึ้นต่อสู้ไว้. ศาลฎีกาจึงไม่วินิจฉัยให้.
of 12