พบผลลัพธ์ทั้งหมด 114 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 539/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
หนังสือเลิกสภาพสมรส, พฤติกรรมชู้สาว, ข่มขู่ทำร้าย และสิทธิค่าอุปการะเลี้ยงดูในคดีหย่า
สามีภริยาได้ทำหนังสือลงลายมือชื่อสามีภริยาและพยาน 2 คน มีข้อความว่าได้พร้อมใจกันเลิกสภาพการเป็นสามีภริยากันตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป เช่นนี้ เป็นการเลิกสภาพการเป็นสามีภริยาโดยพฤตินัย แต่โดยทางนิตินัยยังมิได้หย่าขาดกันตามกฎหมาย หรือมีความประสงค์จะไปจดทะเบียนในภายหลัง และต่อมาอีก 5 วัน สามีโทรเลขให้ภริยากลับบ้านบอกว่าฉีกหนังสือนั้นแล้ว ต่อมาได้คืนดีกันและประพฤติต่อกันฉันสามีภริยาอีก ดังนี้ จะถือว่าหย่าขาดจากกันตามหนังสือดังกล่าวไม่ได้
ภริยาส่งจดหมายถึงสามีมีใจความว่า สามีเป็นสัตว์ป่าในร่างมนุษย์ เป็นการหมิ่นประมาทสามีอย่างร้ายแรง อันเป็นเหตุให้สามีฟ้องหย่าได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1500 (2)
ภริยาส่งจดหมายถึงสามีข้อความว่า ภริยาจะจ้างด้วยเงิน ด้วยตัวกับผู้ที่หลงรักภริยา ให้เอาน้ำกรดสาดหน้าสามี ย่อมถือได้ว่าภริยาทำการเป็นปฏิปักษ์ต่อการที่เป็นสามีภริยากันอย่างร้ายแรง จนสามีไม่อาจจะอยู่กินกันได้ เพราะอาจได้รับอันตรายจากภริยาเมื่อใดก็ได้ อันเป็นเหตุให้สามีฟ้องหย่าได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1500 (3)
ภริยามีที่ดินและอาคารราคาสองแสนบาทเศษ ใช้อาคารนั้นเป็นหอพักเก็บผลประโยชน์ได้เดือนละ 1,000 บาทเศษ และทำงานได้เงินเดือน ๆ ละ 1,975 บาท ถือว่าภริยามีรายได้พอจากทรัพย์สินและการงานที่ทำ เมื่อหย่ากันโดยสามีภริยาเป็นผู้ต้องรับผิดทั้งสองฝ่าย สามีไม่ต้องจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1506
แม้โจทก์ฟ้องขอหย่าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ราคา 1500 (2) (3) เมื่อพ้นกำหนด 3 เดือนนับแต่วันรู้เหตุหย่าก็ตาม แต่จำเลยไม่ได้ยกเอาเหตุแห่งการระงับของสิทธิฟ้องร้องตามมาตรา 1509 ขึ้นต่อสู้ไว้ ศาลฎีกาจึงไม่วินิจฉัยให้
ภริยาส่งจดหมายถึงสามีมีใจความว่า สามีเป็นสัตว์ป่าในร่างมนุษย์ เป็นการหมิ่นประมาทสามีอย่างร้ายแรง อันเป็นเหตุให้สามีฟ้องหย่าได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1500 (2)
ภริยาส่งจดหมายถึงสามีข้อความว่า ภริยาจะจ้างด้วยเงิน ด้วยตัวกับผู้ที่หลงรักภริยา ให้เอาน้ำกรดสาดหน้าสามี ย่อมถือได้ว่าภริยาทำการเป็นปฏิปักษ์ต่อการที่เป็นสามีภริยากันอย่างร้ายแรง จนสามีไม่อาจจะอยู่กินกันได้ เพราะอาจได้รับอันตรายจากภริยาเมื่อใดก็ได้ อันเป็นเหตุให้สามีฟ้องหย่าได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1500 (3)
ภริยามีที่ดินและอาคารราคาสองแสนบาทเศษ ใช้อาคารนั้นเป็นหอพักเก็บผลประโยชน์ได้เดือนละ 1,000 บาทเศษ และทำงานได้เงินเดือน ๆ ละ 1,975 บาท ถือว่าภริยามีรายได้พอจากทรัพย์สินและการงานที่ทำ เมื่อหย่ากันโดยสามีภริยาเป็นผู้ต้องรับผิดทั้งสองฝ่าย สามีไม่ต้องจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1506
แม้โจทก์ฟ้องขอหย่าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ราคา 1500 (2) (3) เมื่อพ้นกำหนด 3 เดือนนับแต่วันรู้เหตุหย่าก็ตาม แต่จำเลยไม่ได้ยกเอาเหตุแห่งการระงับของสิทธิฟ้องร้องตามมาตรา 1509 ขึ้นต่อสู้ไว้ ศาลฎีกาจึงไม่วินิจฉัยให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 539/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหย่าขาดจากกัน, เหตุหย่าตามกฎหมาย, การระงับสิทธิฟ้องร้อง, และค่าอุปการะเลี้ยงดู
สามีภริยาได้ทำหนังสือลงลายมือชื่อสามีภริยาและพยาน 2คน มีข้อความว่าได้พร้อมใจกันเลิกสภาพการเป็นสามีภริยากันตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป เช่นนี้ เป็นการเลิกสภาพการเป็นสามีภริยาโดยพฤตินัย แต่โดยทางนิตินัยยังมิได้หย่าขาดกันตามกฎหมาย หรือมีความประสงค์จะไปจดทะเบียนในภายหลังและต่อมาอีก 5 วัน สามีโทรเลขให้ภริยากลับบ้านบอกว่าฉีกหนังสือนั้นแล้ว ต่อมาได้คืนดีกันและประพฤติต่อกันฉันสามีภริยาอีกดังนี้ จะถือว่าหย่าขาดจากกันตามหนังสือดังกล่าวไม่ได้
ภริยาส่งจดหมายถึงสามีมีใจความว่า สามีเป็นสัตว์ป่าในร่างมนุษย์เป็นการหมิ่นประมาทสามีอย่างร้ายแรง อันเป็นเหตุให้สามีฟ้องหย่าได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1500(2)
ภริยาส่งจดหมายถึงสามีมีข้อความว่า ภริยาจะจ้างด้วยเงิน ด้วยตัวกับผู้ที่หลงรักภริยา ให้เอาน้ำกรดสาดหน้าสามี ย่อมถือได้ว่าภริยาทำการเป็นปฏิปักษ์ต่อการที่เป็นสามีภริยากันอย่างร้ายแรงจนสามีไม่อาจจะอยู่กินกันได้เพราะอาจได้รับอันตรายจากภริยาเมื่อใดก็ได้อันเป็นเหตุให้สามีฟ้องหย่าได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1500(3)
ภริยามีที่ดินและอาคารราคาสองแสนบาทเศษ ใช้อาคารนั้นเป็นหอพักเก็บผลประโยชน์ได้เดือนละ 1,000 บาทเศษ และทำงานได้เงินเดือนเดือนละ 1,975 บาทถือว่าภริยามีรายได้พอจากทรัพย์สินและการงานที่ทำเมื่อหย่ากันโดยสามีภริยาเป็นผู้ต้องรับผิดทั้งสองฝ่าย สามีไม่ต้องจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1506
แม้โจทก์ฟ้องขอหย่าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1500(2)(3) เมื่อพ้นกำหนด 3 เดือนนับแต่วันรู้เหตุหย่าก็ตามแต่จำเลยไม่ได้ยกเอาเหตุแห่งการระงับของสิทธิฟ้องร้องตามมาตรา 1509 ขึ้นต่อสู้ไว้ ศาลฎีกาจึงไม่วินิจฉัยให้
ภริยาส่งจดหมายถึงสามีมีใจความว่า สามีเป็นสัตว์ป่าในร่างมนุษย์เป็นการหมิ่นประมาทสามีอย่างร้ายแรง อันเป็นเหตุให้สามีฟ้องหย่าได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1500(2)
ภริยาส่งจดหมายถึงสามีมีข้อความว่า ภริยาจะจ้างด้วยเงิน ด้วยตัวกับผู้ที่หลงรักภริยา ให้เอาน้ำกรดสาดหน้าสามี ย่อมถือได้ว่าภริยาทำการเป็นปฏิปักษ์ต่อการที่เป็นสามีภริยากันอย่างร้ายแรงจนสามีไม่อาจจะอยู่กินกันได้เพราะอาจได้รับอันตรายจากภริยาเมื่อใดก็ได้อันเป็นเหตุให้สามีฟ้องหย่าได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1500(3)
ภริยามีที่ดินและอาคารราคาสองแสนบาทเศษ ใช้อาคารนั้นเป็นหอพักเก็บผลประโยชน์ได้เดือนละ 1,000 บาทเศษ และทำงานได้เงินเดือนเดือนละ 1,975 บาทถือว่าภริยามีรายได้พอจากทรัพย์สินและการงานที่ทำเมื่อหย่ากันโดยสามีภริยาเป็นผู้ต้องรับผิดทั้งสองฝ่าย สามีไม่ต้องจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1506
แม้โจทก์ฟ้องขอหย่าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1500(2)(3) เมื่อพ้นกำหนด 3 เดือนนับแต่วันรู้เหตุหย่าก็ตามแต่จำเลยไม่ได้ยกเอาเหตุแห่งการระงับของสิทธิฟ้องร้องตามมาตรา 1509 ขึ้นต่อสู้ไว้ ศาลฎีกาจึงไม่วินิจฉัยให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 474/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องร้องกรณีครอบครองที่ดินสับแปลง เริ่มนับแต่วันที่อาจบังคับสิทธิได้ ไม่ใช่วันที่รู้ข้อผิดพลาด
จำเลยที่ 1 จดทะเบียนโอนขายกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดที่ 2257เนื้อที่ 6 ไร่ 45 วา. ซึ่งแบ่งแยกจากที่ดินโฉนดที่13 ให้แก่บิดาโจทก์โดยใส่ชื่อโจทก์ เมื่อวันที่ 16มีนาคม 2491. ต่อมาโจทก์ทราบว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองเป็นที่ดินโฉนดที่ 13 ที่เหลือมีเนื้อที่ 5 ไร่ 78วา. ไม่ใช่ที่ดินโฉนดที่ 2257. ส่วนที่ดินโฉนดที่2257 จำเลยที่ 1 เป็นผู้ครอบครองแล้วโอนขายให้แก่จำเลยที่ 2 ไป. ดังนี้ แม้ที่ดินที่โจทก์ครอบครองเป็นที่ดินโฉนดเลขที่ 13 ซึ่งไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257. ที่จำเลยจดทะเบียนโอนใส่ชื่อโจทก์เป็นเรื่องครอบครองที่ดินสับแปลงกัน. ซึ่งโจทก์มีสิทธิฟ้องขอบังคับจำเลยก็ดี. แต่โจทก์จะต้องจัดการฟ้องร้องบังคับจำเลยที่ 1 ให้ปฏิบัติตามสัญญาภายใน 10 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164.
จำเลยจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2491. ฉะนั้น อายุความฟ้องร้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2491 เป็นต้นไป เพราะโจทก์อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้แล้ว. ไม่ใช่นับแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2506. ซึ่งเป็นวันที่โจทก์รู้ว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257. แต่โจทก์เพิ่งมาฟ้องขอให้บังคับจำเลยเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน2506 เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปี แล้ว. คดีโจทก์ขาดอายุความตามมาตรา 163.
จำเลยจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2491. ฉะนั้น อายุความฟ้องร้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2491 เป็นต้นไป เพราะโจทก์อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้แล้ว. ไม่ใช่นับแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2506. ซึ่งเป็นวันที่โจทก์รู้ว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257. แต่โจทก์เพิ่งมาฟ้องขอให้บังคับจำเลยเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน2506 เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปี แล้ว. คดีโจทก์ขาดอายุความตามมาตรา 163.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 474/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องร้องกรณีครอบครองที่ดินสับแปลง: เริ่มนับจากวันที่บังคับสิทธิได้ ไม่ใช่วันที่รู้ข้อผิดพลาด
จำเลยที่ 1 จดทะเบียนโอนขายกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดที่ 2257 เนื้อที่ 6 ไร่ 45 วา ซึ่งแบ่งแยกจากที่ดินโฉนดที่13 ให้แก่บิดาโจทก์โดยใส่ชื่อโจทก์ เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2491 ต่อมาโจทก์ทราบว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองเป็นที่ดินโฉนดที่ 13 ที่เหลือมีเนื้อที่ 5 ไร่ 78วา ไม่ใช่ที่ดินโฉนดที่ 2257 ส่วนที่ดินโฉนดที่2257 จำเลยที่ 1 เป็นผู้ครอบครองแล้วโอนขายให้แก่จำเลยที่ 2 ไป ดังนี้ แม้ที่ดินที่โจทก์ครอบครองเป็นที่ดินโฉนดเลขที่ 13ซึ่งไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257 ที่จำเลยจดทะเบียนโอนใส่ชื่อโจทก์เป็นเรื่องครอบครองที่ดินสับแปลงกันซึ่งโจทก์มีสิทธิฟ้องขอบังคับจำเลยก็ดีแต่โจทก์จะต้องจัดการฟ้องร้องบังคับจำเลยที่ 1 ให้ปฏิบัติตามสัญญาภายใน 10 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
จำเลยจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2491 ฉะนั้น อายุความฟ้องร้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2491 เป็นต้นไป เพราะโจทก์อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้แล้วไม่ใช่นับแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2506 ซึ่งเป็นวันที่โจทก์รู้ว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257 แต่โจทก์เพิ่งมาฟ้องขอให้บังคับจำเลยเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2506 เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปี แล้วคดีโจทก์ขาดอายุความตามมาตรา 163
จำเลยจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2491 ฉะนั้น อายุความฟ้องร้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2491 เป็นต้นไป เพราะโจทก์อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้แล้วไม่ใช่นับแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2506 ซึ่งเป็นวันที่โจทก์รู้ว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257 แต่โจทก์เพิ่งมาฟ้องขอให้บังคับจำเลยเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2506 เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปี แล้วคดีโจทก์ขาดอายุความตามมาตรา 163
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 474/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องบังคับตามสัญญาซื้อขายที่ดิน เริ่มนับจากวันที่จำเลยโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครอง
จำเลยที่ 1 จดทะเบียนโอนขายกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดที่ 2257 เนื้อที่ 6 ไร่ 45 วา ซึ่งแบ่งแยกจากที่ดินโฉนดที่ 13 ให้แก่บิดาโจทก์โดยใส่ชื่อโจทก์ เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2491 ต่อมาโจทก์ทราบว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองเป็นที่ดินโฉนดที่ 13 ที่เหลือมีเนื้อที่ 5 ไร่ 78 วา ไม่ใช่ที่ดินโฉนดที่ 2257 ส่วนที่ดินโฉนดที่ 2257 จำเลยที่ 1 เป็นผู้ครอบครองแล้วโอนขายให้แก่จำเลยที่ 2 ไป ดังนี้ แม้ที่ดินที่โจทก์เป็นเรื่องครอบครองที่ดินสับแปลงกัน ซึ่งโจทก์มีสิทธิฟ้องขอบังคับจำเลยก็ดี แต่โจทก์จะต้องจัดการฟ้องร้องบังคับจำเลยที่ 1 ให้ปฏิบัติตามสัญญาภายใน 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
จำเลยจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2491 ฉะนั้น อายุความฟ้องร้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2491 เป็นต้นไป เพราะโจทก์อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้แล้ว ไม่ใช่นับแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2506 ซึ่งเป็นวันที่โจทก์รู้ว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257 แต่โจทก์เพิ่งมาฟ้องขอให้บังคับจำเลยเมื่อวัน ที่ 27 พฤศจิกายน 2506 เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปี แล้วคดีโจทก์ขาดอายุความตามมาตรา 163
จำเลยจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2491 ฉะนั้น อายุความฟ้องร้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2491 เป็นต้นไป เพราะโจทก์อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้แล้ว ไม่ใช่นับแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2506 ซึ่งเป็นวันที่โจทก์รู้ว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257 แต่โจทก์เพิ่งมาฟ้องขอให้บังคับจำเลยเมื่อวัน ที่ 27 พฤศจิกายน 2506 เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปี แล้วคดีโจทก์ขาดอายุความตามมาตรา 163
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 351/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความคดีชำระหนี้ช้างป่า: เริ่มนับแต่วันที่ผู้ว่าฯ สั่งให้ส่งมอบ, จำเลยที่ขาดนัดยื่นคำให้การได้รับผล
จำเลยยื่นคำให้การต่อสู้คดีว่า คดีโจทก์ขาดอายุความแล้วแม้ในชั้นอุทธรณ์จำเลยจะอุทธรณ์ว่าโจทก์หมดสิทธิเรียกร้องตามมาตรา 1374, 1375 และ1382 ศาลอุทธรณ์ก็ชอบที่จะยกมาตรา 164 ขึ้นมาปรับแก่คดีได้ เพราะจำเลยได้บรรยายข้อเท็จจริงในอุทธรณ์ไว้โดยชัดแจ้งแล้ว การจะปรับบทกฎหมายมาตราใดเป็นหน้าที่ของศาล
ผู้ว่าราชการจังหวัดตัวแทนโจทก์สั่งให้จำเลยส่งมอบช้างของกลางให้แก่อำเภอเพื่อขายทอดตลาดตามพระราชบัญญัติรักษาช้างป่า พ.ศ. 2464อายุความต้องเริ่มนับแต่ พ.ศ. 2494 อันเป็นวันที่สั่งให้จำเลยส่งมอบเพราะตั้งแต่วันที่สั่งให้ส่งนั้น โจทก์มีสิทธิที่จะฟ้องร้องบังคับจำเลยได้แล้ว
โจทก์ฟ้องให้จำเลยร่วมกันส่งมอบช้างคืน มูลแห่งคดีเป็นการชำระหนี้ซึ่งแบ่งแยกจากกันมิได้ การที่จำเลยคนอื่นยื่นคำให้การต่อสู้เรื่องอายุความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 59(1) ให้ถือว่าจำเลยทำแทนซึ่งกันและกัน จำเลยอื่นจึงได้รับผลแห่งอายุความด้วย
ผู้ว่าราชการจังหวัดตัวแทนโจทก์สั่งให้จำเลยส่งมอบช้างของกลางให้แก่อำเภอเพื่อขายทอดตลาดตามพระราชบัญญัติรักษาช้างป่า พ.ศ. 2464อายุความต้องเริ่มนับแต่ พ.ศ. 2494 อันเป็นวันที่สั่งให้จำเลยส่งมอบเพราะตั้งแต่วันที่สั่งให้ส่งนั้น โจทก์มีสิทธิที่จะฟ้องร้องบังคับจำเลยได้แล้ว
โจทก์ฟ้องให้จำเลยร่วมกันส่งมอบช้างคืน มูลแห่งคดีเป็นการชำระหนี้ซึ่งแบ่งแยกจากกันมิได้ การที่จำเลยคนอื่นยื่นคำให้การต่อสู้เรื่องอายุความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 59(1) ให้ถือว่าจำเลยทำแทนซึ่งกันและกัน จำเลยอื่นจึงได้รับผลแห่งอายุความด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 351/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความคดีชำระหนี้จากการส่งมอบช้างของกลาง เริ่มนับแต่วันที่สั่งให้ส่งมอบ ชำระหนี้แบ่งแยกไม่ได้ ผลกระทบต่อจำเลยอื่น
จำเลยยื่นคำให้การต่อสู้คดีว่า คดีโจทก์ขาดอายุความแล้ว แม้ในชั้นอุทธรณ์จำเลยจะอุทธรณ์ว่าโจทก์หมดสิทธิเรียกร้องตามมาตรา 1374, 1375 และ 1382 ศาลอุทธรณ์ก็ชอบที่จะยกมาตรา 164 ขึ้นมาปรับแก่คดีได้ เพราะจำเลยได้บรรยายข้อเท็จจริงในอุทธรณ์ไว้โดยชัดแจ้งแล้ว การจะปรับบทกฎหมายมาตราใดเป็นหน้าที่ของศาล
ผู้ว่าราชการจังหวัดตัวแทนโจทก์สั่งให้จำเลยส่งมอบข้างของกลางให้แก่อำเภอเพื่อขาดทอดตลาดตามพระราชบัญญัติรักษาช้างป่า พ.ศ. 2464 อายุความต้องเริ่มนับแต่ พ.ศ. 2494 อันเป็นวันที่สั่งให้จำเลยส่งมอบ เพราะตั้งแต่วันที่สั่งให้ส่งนั้น โจทก์มีสิทธิที่จะฟ้องร้องบังคับจำเลยได้แล้ว
โจทก์ฟ้องให้จำเลยร่วมกันส่งมอบช้างคืน มูลแห่งคดีเป็นการชำระหนี้ซึ่งแบ่งแยกจากกันมิได้ การที่จำเลยคนอื่นยื่นคำให้การต่อสู้เรื่องอายุความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 59(1) ให้ถือว่าจำเลยทำแทนซึ่งกันและกัน จำเลยอื่นจึงได้รับผลแห่งอายุความด้วย
ผู้ว่าราชการจังหวัดตัวแทนโจทก์สั่งให้จำเลยส่งมอบข้างของกลางให้แก่อำเภอเพื่อขาดทอดตลาดตามพระราชบัญญัติรักษาช้างป่า พ.ศ. 2464 อายุความต้องเริ่มนับแต่ พ.ศ. 2494 อันเป็นวันที่สั่งให้จำเลยส่งมอบ เพราะตั้งแต่วันที่สั่งให้ส่งนั้น โจทก์มีสิทธิที่จะฟ้องร้องบังคับจำเลยได้แล้ว
โจทก์ฟ้องให้จำเลยร่วมกันส่งมอบช้างคืน มูลแห่งคดีเป็นการชำระหนี้ซึ่งแบ่งแยกจากกันมิได้ การที่จำเลยคนอื่นยื่นคำให้การต่อสู้เรื่องอายุความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 59(1) ให้ถือว่าจำเลยทำแทนซึ่งกันและกัน จำเลยอื่นจึงได้รับผลแห่งอายุความด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 867/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการแบ่งทรัพย์สินของเจ้าของร่วม แม้สถานะสมรสไม่ชัดเจน และขอบเขตการดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ
เมื่อพิพากษาคดีครั้งแรก ศาลฎีกาพิพากษาให้ยกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ให้พิพากษาใหม่ ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์คณะเดิมย่อมทำคำพิพากษาใหม่ได้ ไม่มีกฎหมายบังคับให้เปลี่ยนผู้พิพากษา
ศาลฎีกาเคยวินิจฉัยคดีเดียวกันนี้ไว้ครั้งหนึ่งว่า แม้โจทก์จำเลยจะมีฐานะเป็นสามีภริยากันตามกฎหมายหรือไม่ก็ตาม ทรัพย์ที่โจทก์จำเลยหาได้ร่วมกัน โจทก์มีสิทธิฟ้องขอแบ่งส่วนของโจทก์ได้ การที่ศาลจะวินิจฉัยให้โจทก์จำเลยแบ่งทรัพย์สินกันในฐานะเจ้าของร่วม หาเป็นการนอกฟ้องนอกประเด็นไม่ คำวินิจฉัยของศาลฎีกาในเรื่องนี้ย่อมเป็นอันยุติ และศาลฎีกาได้พิพากษาให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยเรื่องทรัพย์ที่โจทก์ขอแบ่ง ซึ่งศาลอุทธรณ์มิได้วินิจฉัยไว้ แล้วให้พิพากษาใหม่ โจทก์จะฎีกาได้เฉพาะข้อที่ศาลฎีกาให้พิพากษาใหม่เท่านั้น จะรื้อฟื้นข้อที่ศาลฎีกาเคยวินิจฉัยไว้หรือข้ออื่นที่มิได้พิพากษาให้ดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่อีกไม่ได้ เป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ.
ศาลฎีกาเคยวินิจฉัยคดีเดียวกันนี้ไว้ครั้งหนึ่งว่า แม้โจทก์จำเลยจะมีฐานะเป็นสามีภริยากันตามกฎหมายหรือไม่ก็ตาม ทรัพย์ที่โจทก์จำเลยหาได้ร่วมกัน โจทก์มีสิทธิฟ้องขอแบ่งส่วนของโจทก์ได้ การที่ศาลจะวินิจฉัยให้โจทก์จำเลยแบ่งทรัพย์สินกันในฐานะเจ้าของร่วม หาเป็นการนอกฟ้องนอกประเด็นไม่ คำวินิจฉัยของศาลฎีกาในเรื่องนี้ย่อมเป็นอันยุติ และศาลฎีกาได้พิพากษาให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยเรื่องทรัพย์ที่โจทก์ขอแบ่ง ซึ่งศาลอุทธรณ์มิได้วินิจฉัยไว้ แล้วให้พิพากษาใหม่ โจทก์จะฎีกาได้เฉพาะข้อที่ศาลฎีกาให้พิพากษาใหม่เท่านั้น จะรื้อฟื้นข้อที่ศาลฎีกาเคยวินิจฉัยไว้หรือข้ออื่นที่มิได้พิพากษาให้ดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่อีกไม่ได้ เป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 867/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการแบ่งทรัพย์สินของเจ้าของร่วม แม้ไม่มีสถานะทางกฎหมายเป็นสามีภริยา และขอบเขตการฎีกาซ้ำ
เมื่อศาลพิพากษาคดีครั้งแรก ศาลฎีกาพิพากษาให้ยกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ให้พิพากษาใหม่ ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์คณะเดิมย่อมทำคำพิพากษาใหม่ได้ ไม่มีกฎหมายบังคับให้เปลี่ยนผู้พิพากษา
ศาลฎีกาวินิจฉัยคดีเดียวกันนี้ไว้ครั้งหนึ่งว่า แม้โจทก์จำเลยจะมีฐานะเป็นสามีภริยากันตามกฎหมายหรือไม่ก็ตาม ทรัพย์ที่โจทก์จำเลยหาได้ร่วมกัน โจทก์มีสิทธิฟ้องขอแบ่งส่วนของโจทก์ได้ การที่ศาลจะวินิจฉัยให้โจทก์จำเลยแบ่งทรัพย์สินกันในฐานะเจ้าของร่วมหาเป็นการนอกฟ้องนอกประเด็นไม่ คำวินิจฉัยของศาลฎีกาในเรื่องนี้ย่อมเป็นอันยุติ และศาลฎีกาได้พิพากษาให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยเรื่องทรัพย์ที่โจทก์ขอแบ่ง ซึ่งศาลอุทธรณ์มิได้วินิจฉัยไว้แล้วให้พิพากษาใหม่ โจทก์จะฎีกาได้เฉพาะข้อที่ศาลฎีกาให้พิพากษาใหม่เท่านั้น จะรื้อฟื้นข้อที่ศาลฎีกาเคยวินิจฉัยไว้หรือข้ออื่นที่มิได้พิพากษาให้ดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่อีกไม่ได้เป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ
ศาลฎีกาวินิจฉัยคดีเดียวกันนี้ไว้ครั้งหนึ่งว่า แม้โจทก์จำเลยจะมีฐานะเป็นสามีภริยากันตามกฎหมายหรือไม่ก็ตาม ทรัพย์ที่โจทก์จำเลยหาได้ร่วมกัน โจทก์มีสิทธิฟ้องขอแบ่งส่วนของโจทก์ได้ การที่ศาลจะวินิจฉัยให้โจทก์จำเลยแบ่งทรัพย์สินกันในฐานะเจ้าของร่วมหาเป็นการนอกฟ้องนอกประเด็นไม่ คำวินิจฉัยของศาลฎีกาในเรื่องนี้ย่อมเป็นอันยุติ และศาลฎีกาได้พิพากษาให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยเรื่องทรัพย์ที่โจทก์ขอแบ่ง ซึ่งศาลอุทธรณ์มิได้วินิจฉัยไว้แล้วให้พิพากษาใหม่ โจทก์จะฎีกาได้เฉพาะข้อที่ศาลฎีกาให้พิพากษาใหม่เท่านั้น จะรื้อฟื้นข้อที่ศาลฎีกาเคยวินิจฉัยไว้หรือข้ออื่นที่มิได้พิพากษาให้ดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่อีกไม่ได้เป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 812/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องแย่งการครอบครองและเรียกค่าเสียหายจากละเมิด: การรับรองสิทธิคู่กรณีและขอบเขตการพิจารณาของศาล
ฟ้องโจทก์อ้างว่า นายสีกับพวกได้แย่งเอาสิทธิครอบครองของโจทก์ไปตั้งแต่วันที่ 14 มีนาคม 2504 คำฟ้องของโจทก์จึงเป็นการรับรองในตัวว่านายสีเข้าแย่งการครอบครองที่ดินแปลงพิพาทมาเกิน 1 ปี โจทก์เพิ่งมาฟ้องขับไล่และเรียกค่าเสียหายจากพวกจำเลยซึ่งเข้าอยู่ในที่พิพาทโดยอาศัยสิทธิของนายสีเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2507 อันเป็นเวลาภายหลังที่นายสีเข้าแย่งสิทธิครอบครองมาเกิน 1 ปี คดีโจทก์จึงขาดอายุความ
ที่บ้านที่สวนมือเปล่าซึ่งจะมีอายุความฟ้องร้องกันได้ถึง 9 - 10 ปี ตามกฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จ บทที่ 42 นั้น จะต้องเป็นที่บ้านที่สวนมือเปล่ามาก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยลักษณะทรัพย์สินซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2475 (อ้างฎีกาที่ 882/2503, 1570/2500)
จำเลยมิได้ยกข้อต่อสู้ว่า ฟ้องโจทก์เคลือบคลุมมาตั้งแต่แรก และปัญหาที่ว่าฟ้องโจทก์เคลือบคลุมหรือไม่ ไม่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย หากแต่เป็นเรื่องระหว่างโจทก์จำเลยโดยเฉพาะ ไม่กระทบกระเทือนถึงประชาชนหรือบุคคลภายนอกแต่ประการใด (อ้างฎีกาที่ 914/2503) ศาลจะหยิบยกขึ้นวินิจฉัยว่าฟ้องโจทก์เคลือบคลุม แล้วพิพากษายกฟ้อง จึงยังไม่ชอบ
จำเลยมิได้ยกอายุความฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิด ตามคำให้การจำเลยคงยกอายุความขึ้นต่อสู้เฉพาะฟ้องโจทก์ที่ฟ้องเอาคืนสิทธิครอบครองที่พิพาทเท่านั้น ฉะนั้น ที่ศาลวินิจฉัยยกฟ้องโจทก์ในประเด็นข้อนี้เสียด้วย จึงยังไม่ชอบเช่นกัน
แม้ว่าศาลจะได้พิพากษาถึงที่สุดให้ยกฟ้องโจทก์ในข้อหาว่าจำเลยบุกรุกขอให้ขับไล่ออกจากที่พิพาทแล้วก็ตาม แต่เหตุที่ยกฟ้องเพราะโจทก์ไม่ฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่เวลาถูกรบกวนสิทธิ ไม่เกี่ยวกับข้อหาฐานละเมิดเรียกค่าเสียหาย ซึ่งถ้าหากจำเลยได้ทำละเมิดต่อโจทก์จริงตามฟ้อง โจทก์ได้รับความเสียหายมาก่อนแล้ว จำเลยก็อาจต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่โจทก์ เมื่อคู่ความยังโต้เถียงและศาลยังมิได้วินิจฉัยชี้ขาดในประเด็นข้อนี้ ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษายกคำพิพากษาศาลล่างเฉพาะประเด็นเรื่องละเมิด เรียกค่าเสียหาย ให้ศาลชั้นต้นดำเนินการพิจารณาในประเด็นที่ว่าจำเลยได้กระทำละเมิดต่อโจทก์จริงหรือไม่ จะต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์เพียงใด แล้วพิพากษาใหม่ต่อไป.
ที่บ้านที่สวนมือเปล่าซึ่งจะมีอายุความฟ้องร้องกันได้ถึง 9 - 10 ปี ตามกฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จ บทที่ 42 นั้น จะต้องเป็นที่บ้านที่สวนมือเปล่ามาก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยลักษณะทรัพย์สินซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2475 (อ้างฎีกาที่ 882/2503, 1570/2500)
จำเลยมิได้ยกข้อต่อสู้ว่า ฟ้องโจทก์เคลือบคลุมมาตั้งแต่แรก และปัญหาที่ว่าฟ้องโจทก์เคลือบคลุมหรือไม่ ไม่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย หากแต่เป็นเรื่องระหว่างโจทก์จำเลยโดยเฉพาะ ไม่กระทบกระเทือนถึงประชาชนหรือบุคคลภายนอกแต่ประการใด (อ้างฎีกาที่ 914/2503) ศาลจะหยิบยกขึ้นวินิจฉัยว่าฟ้องโจทก์เคลือบคลุม แล้วพิพากษายกฟ้อง จึงยังไม่ชอบ
จำเลยมิได้ยกอายุความฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิด ตามคำให้การจำเลยคงยกอายุความขึ้นต่อสู้เฉพาะฟ้องโจทก์ที่ฟ้องเอาคืนสิทธิครอบครองที่พิพาทเท่านั้น ฉะนั้น ที่ศาลวินิจฉัยยกฟ้องโจทก์ในประเด็นข้อนี้เสียด้วย จึงยังไม่ชอบเช่นกัน
แม้ว่าศาลจะได้พิพากษาถึงที่สุดให้ยกฟ้องโจทก์ในข้อหาว่าจำเลยบุกรุกขอให้ขับไล่ออกจากที่พิพาทแล้วก็ตาม แต่เหตุที่ยกฟ้องเพราะโจทก์ไม่ฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่เวลาถูกรบกวนสิทธิ ไม่เกี่ยวกับข้อหาฐานละเมิดเรียกค่าเสียหาย ซึ่งถ้าหากจำเลยได้ทำละเมิดต่อโจทก์จริงตามฟ้อง โจทก์ได้รับความเสียหายมาก่อนแล้ว จำเลยก็อาจต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่โจทก์ เมื่อคู่ความยังโต้เถียงและศาลยังมิได้วินิจฉัยชี้ขาดในประเด็นข้อนี้ ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษายกคำพิพากษาศาลล่างเฉพาะประเด็นเรื่องละเมิด เรียกค่าเสียหาย ให้ศาลชั้นต้นดำเนินการพิจารณาในประเด็นที่ว่าจำเลยได้กระทำละเมิดต่อโจทก์จริงหรือไม่ จะต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์เพียงใด แล้วพิพากษาใหม่ต่อไป.