พบผลลัพธ์ทั้งหมด 55 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1624/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ลำดับเวลาพินัยกรรมสำคัญ: พินัยกรรมที่ลงวันเดือนปีเดียวกัน แต่มีการแก้ไขภายหลัง ทำให้พินัยกรรมฉบับหลังมีผลเพิกถอนพินัยกรรมเดิม
พินัยกรรมทั้งฉบับของโจทก์และจำเลยต่างลงวันเดือนปีที่ทำตรงกันคือ วันที่ 12 มกราคม 2502 ของจำเลยนั้น.ผู้ทำพินัยกรรมเขียนชื่อผู้รับไว้เรียบร้อยครบถ้วนแล้วแต่วันที่ลงในพินัยกรรม. จึงถือเป็นอันสมบูรณ์แต่วันนั้นส่วนพินัยกรรมของโจทก์ปรากฏว่าชื่อผู้รับพินัยกรรมเว้นว่างไว้. เจ้ามรดกเพิ่งกรอกชื่อโจทก์เป็นผู้รับเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2506. จึงถือได้ว่าพินัยกรรมฉบับของโจทก์ได้ทำเสร็จเป็นพินัยกรรมเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2506 อันเป็นวันภายหลังจากพินัยกรรมจำเลย. พินัยกรรมของโจทก์จึงเป็นพินัยกรรมฉบับหลังซึ่งมีผลเพิกถอนพินัยกรรมฉบับของจำเลยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1697.
พินัยกรรมฉบับของโจทก์ได้เว้นชื่อผู้รับพินัยกรรมว่างไว้. เจ้ามรดกเพิ่งกรอกชื่อโจทก์เป็นผู้รับภายหลัง. กรณีเช่นนี้ไม่ใช่เป็นการขูดลบตกเติมหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงพินัยกรรม. จึงหาจำเป็นต้องเซ็นชื่อกำกับไว้ไม่.
เพียงแต่ผู้เชี่ยวชาญฝ่ายจำเลยแสดงความเห็นไม่สมตามความประสงค์ของจำเลย. ไม่เป็นเหตุพอที่จะให้ผู้อื่นตรวจเอกสารหรือเรียกตัวผู้เชี่ยวชาญของจำเลยมาเบิกความในข้อที่ได้แสดงความเห็นไว้ชัดเจนแล้วนั้นอีก.
พินัยกรรมฉบับของโจทก์ได้เว้นชื่อผู้รับพินัยกรรมว่างไว้. เจ้ามรดกเพิ่งกรอกชื่อโจทก์เป็นผู้รับภายหลัง. กรณีเช่นนี้ไม่ใช่เป็นการขูดลบตกเติมหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงพินัยกรรม. จึงหาจำเป็นต้องเซ็นชื่อกำกับไว้ไม่.
เพียงแต่ผู้เชี่ยวชาญฝ่ายจำเลยแสดงความเห็นไม่สมตามความประสงค์ของจำเลย. ไม่เป็นเหตุพอที่จะให้ผู้อื่นตรวจเอกสารหรือเรียกตัวผู้เชี่ยวชาญของจำเลยมาเบิกความในข้อที่ได้แสดงความเห็นไว้ชัดเจนแล้วนั้นอีก.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1624/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ลำดับเวลาพินัยกรรมและผลต่อการเพิกถอนพินัยกรรมเดิม การแก้ไขพินัยกรรมโดยเจ้ามรดก
พินัยกรรมทั้งฉบับของโจทก์และจำเลยต่างลงวันเดือนปีที่ทำตรงกันคือ วันที่ 12 มกราคม 2502 ของจำเลยนั้นผู้ทำพินัยกรรมเขียนชื่อผู้รับไว้เรียบร้อยครบถ้วนแล้วแต่วันที่ลงในพินัยกรรม จึงถือเป็นอันสมบูรณ์แต่วันนั้นส่วนพินัยกรรมของโจทก์ปรากฏว่าชื่อผู้รับพินัยกรรมเว้นว่างไว้ เจ้ามรดกเพิ่งกรอกชื่อโจทก์เป็นผู้รับเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2506 จึงถือได้ว่าพินัยกรรมฉบับของโจทก์ได้ทำเสร็จเป็นพินัยกรรมเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2506 อันเป็นวันภายหลังจากพินัยกรรมจำเลย พินัยกรรมของโจทก์จึงเป็นพินัยกรรมฉบับหลังซึ่งมีผลเพิกถอนพินัยกรรมฉบับของจำเลยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1697
พินัยกรรมฉบับของโจทก์ได้เว้นชื่อผู้รับพินัยกรรมว่างไว้ เจ้ามรดกเพิ่งกรอกชื่อโจทก์เป็นผู้รับภายหลัง กรณีเช่นนี้ไม่ใช่เป็นการขูดลบตกเติมหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงพินัยกรรม จึงหาจำเป็นต้องเซ็นชื่อกำกับไว้ไม่
เพียงแต่ผู้เชี่ยวชาญฝ่ายจำเลยแสดงความเห็นไม่สมตามความประสงค์ของจำเลย ไม่เป็นเหตุพอที่จะให้ผู้อื่นตรวจเอกสารหรือเรียกตัวผู้เชี่ยวชาญของจำเลยมาเบิกความในข้อที่ได้แสดงความเห็นไว้ชัดเจนแล้วนั้นอีก
พินัยกรรมฉบับของโจทก์ได้เว้นชื่อผู้รับพินัยกรรมว่างไว้ เจ้ามรดกเพิ่งกรอกชื่อโจทก์เป็นผู้รับภายหลัง กรณีเช่นนี้ไม่ใช่เป็นการขูดลบตกเติมหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงพินัยกรรม จึงหาจำเป็นต้องเซ็นชื่อกำกับไว้ไม่
เพียงแต่ผู้เชี่ยวชาญฝ่ายจำเลยแสดงความเห็นไม่สมตามความประสงค์ของจำเลย ไม่เป็นเหตุพอที่จะให้ผู้อื่นตรวจเอกสารหรือเรียกตัวผู้เชี่ยวชาญของจำเลยมาเบิกความในข้อที่ได้แสดงความเห็นไว้ชัดเจนแล้วนั้นอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1624/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมฉบับหลังมีผลเพิกถอนพินัยกรรมฉบับก่อน แม้ลงวันเดือนปีทำพินัยกรรมเดียวกัน หากมีการแก้ไขเพิ่มเติมชื่อผู้รับภายหลัง
พินัยกรรมทั้งฉบับของโจทก์และจำเลยต่างลงวันเดือนปีที่ทำตรงกันคือ วันที่ 12 มกราคม 2502 ของจำเลยนั้น ผู้ทำพินัยกรรมเขียนชื่อผู้รับไว้เรียบร้อยครบถ้วนแล้วแต่วันที่ลงในพินัยกรรม จึงถือเป็นอันสมบูรณ์แต่วันนั้นส่วนพินัยกรรมของโจทก์ปรากฏว่าชื่อผู้รับพินัยกรรมเว้นว่างไว้ เจ้ามรดกเพิ่งกรอกชื่อโจทก์เป็นผู้รับเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2506 จึงถือได้ว่าพินัยกรรมฉบับของโจทก์ได้ทำเสร็จเป็นพินัยกรรมเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2506 อันเป็นวันภายหลังจากพินัยกรรมจำเลย พินัยกรรมของโจทก์จึงเป็นพินัยกรรมฉบับหลังซึ่งมีผลเพิกถอนพินัยกรรมฉบับของจำเลยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1697
พินัยกรรมฉบับของโจทก์ได้เว้นชื่อผู้รับพินัยกรรมว่างไว้ เจ้ามรดกเพิ่งกรอกชื่อโจทก์เป็นผู้รับภายหลัง กรณีเช่นนี้ไม่ใช่เป็นการขูดลบตกเติมหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงพินัยกรรม จึงหาจำเป็นต้องเซ็นชื่อกำกับไว้ไม่
เพียงแต่ผู้เชี่ยวชาญฝ่ายจำเลยแสดงความเห็นไม่สมตามความประสงค์ของจำเลย ไม่เป็นเหตุพอที่จะให้ผู้อื่นตรวจเอกสารหรือเรียกตัวผู้เชี่ยวชาญของจำเลยมาเบิกความในข้อที่ได้แสดงความเห็นไว้ชัดเจนแล้วนั้นอีก
พินัยกรรมฉบับของโจทก์ได้เว้นชื่อผู้รับพินัยกรรมว่างไว้ เจ้ามรดกเพิ่งกรอกชื่อโจทก์เป็นผู้รับภายหลัง กรณีเช่นนี้ไม่ใช่เป็นการขูดลบตกเติมหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงพินัยกรรม จึงหาจำเป็นต้องเซ็นชื่อกำกับไว้ไม่
เพียงแต่ผู้เชี่ยวชาญฝ่ายจำเลยแสดงความเห็นไม่สมตามความประสงค์ของจำเลย ไม่เป็นเหตุพอที่จะให้ผู้อื่นตรวจเอกสารหรือเรียกตัวผู้เชี่ยวชาญของจำเลยมาเบิกความในข้อที่ได้แสดงความเห็นไว้ชัดเจนแล้วนั้นอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1121/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยอมรับข้อเท็จจริงจากการท้าทายให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ และผลผูกพันตามกฎหมาย
แม้จะเป็นฎีกาคำสั่งระหว่างพิจารณาของศาลชั้นต้นที่ให้งดสืบพยาน และจำเลยมิได้โต้แย้งไว้ แต่โดยที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งและพิพากษาในวันเดียวกัน ไม่มีโอกาสที่จำเลยจะโต้แย้งได้ก่อน จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาได้
ถ้ามีปัญหาข้อใดในคดี ไม่ว่าจะเป็นปัญหาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย หากคู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งไม่รับ ย่อมเกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท และคู่ความย่อมมีสิทธินำพยานเข้าสืบในข้อเท็จจริงตามประเด็นข้อพิพาทนั้นได้ ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 183, 184, 185 และ 85 แต่ถ้าปัญหาข้อใดที่คู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งรับแล้ว ย่อมไม่เกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท เพราะเป็นอันฟังได้ตามที่รับกันนั้นโดยไม่ต้องสืบพยานหลักฐานใดๆ ในปัญหาข้อนั้นอีก ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 84
การที่คู่ความท้ากันในคดี ถือได้ว่าเป็นการยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้างตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 84 นั้นเอง แต่มีเงื่อนไขว่าต้องมีการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่งก่อน ถ้าผลแห่งการดำเนินกระบวนพิจารณานั้นสมความประสงค์ของคู่ความฝ่ายใดตามที่ท้ากัน อีกฝ่ายหนึ่งก็ยอมรับตามข้ออ้างที่สมประสงค์นั้นทั้งหมด
คู่ความท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 เปรียบเทียบกับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในที่ต่างๆ หากผู้เชี่ยวชาญพิสูจน์ว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ. 2 น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 จำเลยทั้ง 4 คนย่อมแพ้ ถ้าไม่ใช่ลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 โจทก์ยอมแพ้ ผลจึงเป็นดังที่กล่าวข้างต้น กล่าวคือ โจทก์จำเลยต่างจะยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้าง ถ้าผลการตรวจพิสูจน์ลายมือชื่อของผู้เชี่ยวชาญอันเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งสมความประสงค์ของฝ่ายใด ฉะนั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจพิสูจน์แล้วและมีความเห็นว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ. 2 กับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในใบแต่งทนาย ใบรับหมายและตัวอย่างที่เขียนต่อหน้าศาลน่าจะเป็นลายมือชื่อของบุคคลคนเดียวกัน ซึ่งหมายความว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ. 2 น่าจะเป็นลายมือชื่อจำเลยที่ 2 นั่นเอง จึงเป็นการสมความประสงค์ของโจทก์และเมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าตรงตามคำท้าแล้ว ก็มีผลตามความเห็นว่า จำเลยยอมรับตามข้ออ้างของโจทก์ทั้งหมดและยอมแพ้คดี คู่ความจึงไม่มีภาระการพิสูจน์ตามข้ออ้างนั้นอีก เมื่อเป็นดังนี้ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้งดสืบพยานของทั้งสองฝ่าย จึงไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งอย่างใด
ข้อที่ฎีกาว่า ผลการตรวจพิสูจน์ของผู้เชี่ยวชาญไม่ตรงตามคำท้าในรายงานกระบวนพิจารณาซึ่งจะแปลความหมายแห่งถ้อยคำในรายงานกระบวนพิจารณา จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมาย
ผู้เชี่ยวชาญจะเป็นพยานหลักฐานในคดีได้ก็ด้วยการแสดงความเห็นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 130 จะยืนยันข้อเท็จจริงไม่ได้ เพราะไม่ได้เห็น ได้ยิน หรือทราบข้อความเกี่ยวกับเรื่องที่เป็นพยานนั้นด้วยตนเองโดยตรง
คู่ความท้ากันในรายงานกระบวนพิจารณาว่า หากผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ว่าลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 ในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ. 2 น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว จำเลยทั้งสี่คนยอมแพ้คดี แต่ถ้าไม่ใช่ โจทก์ยอมแพ้คดีการท้ากันในคดีนี้จึงเห็นได้อยู่ในตัวว่าเป็นการท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความหาใช่ผู้เชี่ยวชาญยืนยันข้อเท็จจริงไม่ ฉะนั้น แม้ผู้เชี่ยวชาญจะแสดงเหตุผลในการแสดงความเห็นอย่างใดก็ตาม แต่ในที่สุดเห็นว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 น่าจะเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว ก็ย่อมเป็นการแสดงความเห็นที่สมประสงค์ของโจทก์ตรงตามคำท้าจำเลยจึงต้องแพ้คดี
ถ้ามีปัญหาข้อใดในคดี ไม่ว่าจะเป็นปัญหาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย หากคู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งไม่รับ ย่อมเกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท และคู่ความย่อมมีสิทธินำพยานเข้าสืบในข้อเท็จจริงตามประเด็นข้อพิพาทนั้นได้ ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 183, 184, 185 และ 85 แต่ถ้าปัญหาข้อใดที่คู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งรับแล้ว ย่อมไม่เกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท เพราะเป็นอันฟังได้ตามที่รับกันนั้นโดยไม่ต้องสืบพยานหลักฐานใดๆ ในปัญหาข้อนั้นอีก ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 84
การที่คู่ความท้ากันในคดี ถือได้ว่าเป็นการยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้างตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 84 นั้นเอง แต่มีเงื่อนไขว่าต้องมีการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่งก่อน ถ้าผลแห่งการดำเนินกระบวนพิจารณานั้นสมความประสงค์ของคู่ความฝ่ายใดตามที่ท้ากัน อีกฝ่ายหนึ่งก็ยอมรับตามข้ออ้างที่สมประสงค์นั้นทั้งหมด
คู่ความท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 เปรียบเทียบกับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในที่ต่างๆ หากผู้เชี่ยวชาญพิสูจน์ว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ. 2 น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 จำเลยทั้ง 4 คนย่อมแพ้ ถ้าไม่ใช่ลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 โจทก์ยอมแพ้ ผลจึงเป็นดังที่กล่าวข้างต้น กล่าวคือ โจทก์จำเลยต่างจะยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้าง ถ้าผลการตรวจพิสูจน์ลายมือชื่อของผู้เชี่ยวชาญอันเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งสมความประสงค์ของฝ่ายใด ฉะนั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจพิสูจน์แล้วและมีความเห็นว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ. 2 กับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในใบแต่งทนาย ใบรับหมายและตัวอย่างที่เขียนต่อหน้าศาลน่าจะเป็นลายมือชื่อของบุคคลคนเดียวกัน ซึ่งหมายความว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ. 2 น่าจะเป็นลายมือชื่อจำเลยที่ 2 นั่นเอง จึงเป็นการสมความประสงค์ของโจทก์และเมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าตรงตามคำท้าแล้ว ก็มีผลตามความเห็นว่า จำเลยยอมรับตามข้ออ้างของโจทก์ทั้งหมดและยอมแพ้คดี คู่ความจึงไม่มีภาระการพิสูจน์ตามข้ออ้างนั้นอีก เมื่อเป็นดังนี้ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้งดสืบพยานของทั้งสองฝ่าย จึงไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งอย่างใด
ข้อที่ฎีกาว่า ผลการตรวจพิสูจน์ของผู้เชี่ยวชาญไม่ตรงตามคำท้าในรายงานกระบวนพิจารณาซึ่งจะแปลความหมายแห่งถ้อยคำในรายงานกระบวนพิจารณา จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมาย
ผู้เชี่ยวชาญจะเป็นพยานหลักฐานในคดีได้ก็ด้วยการแสดงความเห็นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 130 จะยืนยันข้อเท็จจริงไม่ได้ เพราะไม่ได้เห็น ได้ยิน หรือทราบข้อความเกี่ยวกับเรื่องที่เป็นพยานนั้นด้วยตนเองโดยตรง
คู่ความท้ากันในรายงานกระบวนพิจารณาว่า หากผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ว่าลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 ในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ. 2 น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว จำเลยทั้งสี่คนยอมแพ้คดี แต่ถ้าไม่ใช่ โจทก์ยอมแพ้คดีการท้ากันในคดีนี้จึงเห็นได้อยู่ในตัวว่าเป็นการท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความหาใช่ผู้เชี่ยวชาญยืนยันข้อเท็จจริงไม่ ฉะนั้น แม้ผู้เชี่ยวชาญจะแสดงเหตุผลในการแสดงความเห็นอย่างใดก็ตาม แต่ในที่สุดเห็นว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 น่าจะเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว ก็ย่อมเป็นการแสดงความเห็นที่สมประสงค์ของโจทก์ตรงตามคำท้าจำเลยจึงต้องแพ้คดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1121/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยอมรับข้อเท็จจริงโดยการท้าพิสูจน์และการงดสืบพยานเมื่อผลการพิสูจน์เป็นไปตามที่ตกลง
แม้จะเป็นฎีกาคำสั่งระหว่างพิจารณาของศาลชั้นต้นที่ให้งดสืบพยาน และจำเลยมิได้โต้แย้งไว้ แต่โดยที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งและพิพากษาในวันเดียวกัน ไม่มีโอกาสที่จำเลยจะโต้แย้งได้ก่อน จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาได้
ถ้ามีปัญหาข้อใดในคดี ไม่ว่าจะเป็นปัญหาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย หากคู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งไม่รับ ย่อมเกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท และคู่ความย่อมมีสิทธินำพยานเข้าสืบในข้อเท็จจริงตามประเด็นข้อพิพาทนั้นได้ ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 183,184,185และ 85 แต่ถ้าปัญหาข้อใดที่คู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งรับแล้ว ย่อมไม่เกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท เพราะเป็นอันฟังได้ตามที่รับกันนั้นโดยไม่ต้องสืบพยานหลักฐานใดๆ ในปัญหาข้อนั้นอีก ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 84
การที่คู่ความท้ากันในคดี ถือได้ว่าเป็นการยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้างตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 84 นั้นเอง แต่มีเงื่อนไขว่าต้องมีการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่งก่อน ถ้าผลแห่งการดำเนินกระบวนพิจารณานั้นสมความประสงค์ของคู่ความฝ่ายใดตามที่ท้ากัน อีกฝ่ายหนึ่งก็ยอมรับตามข้ออ้างของฝ่ายที่สมประสงค์นั้นทั้งหมด
คู่ความท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 เปรียบเทียบกับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในที่ต่างๆ หากผู้เชี่ยวชาญพิสูจน์ว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 จำเลยทั้ง 4 คนยอมแพ้ ถ้าไม่ใช่ลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 โจทก์ยอมแพ้ ผลจึงเป็นดังที่กล่าวข้างต้น กล่าวคือ โจทก์จำเลยต่างจะยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้าง ถ้าผลการตรวจพิสูจน์ลายมือชื่อของผู้เชี่ยวชาญอันเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งสมความประสงค์ของฝ่ายใดฉะนั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจพิสูจน์แล้วและมีความเห็นว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 กับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในใบแต่งทนาย ใบรับหมายและตัวอย่างที่เขียนต่อหน้าศาลน่าจะเป็นลายมือชื่อของบุคคลคนเดียวกัน ซึ่งหมายความว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2น่าจะเป็นลายมือชื่อจำเลยที่ 2 นั้นเอง จึงเป็นการสมความประสงค์ของโจทก์และเมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าตรงตามคำท้าแล้ว ก็มีผลตามความเห็นนั้นว่า จำเลยยอมรับตามข้ออ้างของโจทก์ทั้งหมดและยอมแพ้คดี คู่ความจึงไม่มีภาระการพิสูจน์ตามข้ออ้างนั้นอีก เมื่อเป็นดังนี้ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้งดสืบพยานของทั้งสองฝ่าย จึงไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งอย่างใด
ข้อที่ฎีกาว่า ผลการตรวจพิสูจน์ของผู้เชี่ยวชาญไม่ตรงตามคำท้าในรายงานกระบวนพิจารณาซึ่งจะแปลความหมายแห่งถ้อยคำในรายงานกระบวนพิจารณา จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมาย
ผู้เชี่ยวชาญจะเป็นพยานหลักฐานในคดีได้ก็ด้วยการแสดงความเห็นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 130 จะยืนยันข้อเท็จจริงไม่ได้ เพราะไม่ได้เห็น ได้ยินหรือทราบข้อความเกี่ยวกับเรื่องที่เป็นพยานนั้นด้วยตนเองโดยตรง
คู่ความท้ากันในรายงานกระบวนพิจารณาว่า หากผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ว่าลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 ในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว จำเลยทั้งสี่คนยอมแพ้คดี แต่ถ้าไม่ใช่โจทก์ยอมแพ้คดี การท้ากันในคดีนี้จึงเห็นได้อยู่ในตัวว่าเป็นการท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความเห็นหาใช่ให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันข้อเท็จจริงไม่ ฉะนั้น แม้ผู้เชี่ยวชาญจะแสดงเหตุผลในการแสดงความเห็นอย่างใดก็ตามแต่ในที่สุดเห็นว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 น่าจะเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้วก็ย่อมเป็นการแสดงความเห็นที่สมประสงค์ของโจทก์ตรงตามคำท้าจำเลยจึงต้องแพ้คดี
ถ้ามีปัญหาข้อใดในคดี ไม่ว่าจะเป็นปัญหาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย หากคู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งไม่รับ ย่อมเกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท และคู่ความย่อมมีสิทธินำพยานเข้าสืบในข้อเท็จจริงตามประเด็นข้อพิพาทนั้นได้ ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 183,184,185และ 85 แต่ถ้าปัญหาข้อใดที่คู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งรับแล้ว ย่อมไม่เกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท เพราะเป็นอันฟังได้ตามที่รับกันนั้นโดยไม่ต้องสืบพยานหลักฐานใดๆ ในปัญหาข้อนั้นอีก ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 84
การที่คู่ความท้ากันในคดี ถือได้ว่าเป็นการยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้างตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 84 นั้นเอง แต่มีเงื่อนไขว่าต้องมีการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่งก่อน ถ้าผลแห่งการดำเนินกระบวนพิจารณานั้นสมความประสงค์ของคู่ความฝ่ายใดตามที่ท้ากัน อีกฝ่ายหนึ่งก็ยอมรับตามข้ออ้างของฝ่ายที่สมประสงค์นั้นทั้งหมด
คู่ความท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 เปรียบเทียบกับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในที่ต่างๆ หากผู้เชี่ยวชาญพิสูจน์ว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 จำเลยทั้ง 4 คนยอมแพ้ ถ้าไม่ใช่ลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 โจทก์ยอมแพ้ ผลจึงเป็นดังที่กล่าวข้างต้น กล่าวคือ โจทก์จำเลยต่างจะยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้าง ถ้าผลการตรวจพิสูจน์ลายมือชื่อของผู้เชี่ยวชาญอันเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งสมความประสงค์ของฝ่ายใดฉะนั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจพิสูจน์แล้วและมีความเห็นว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 กับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในใบแต่งทนาย ใบรับหมายและตัวอย่างที่เขียนต่อหน้าศาลน่าจะเป็นลายมือชื่อของบุคคลคนเดียวกัน ซึ่งหมายความว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2น่าจะเป็นลายมือชื่อจำเลยที่ 2 นั้นเอง จึงเป็นการสมความประสงค์ของโจทก์และเมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าตรงตามคำท้าแล้ว ก็มีผลตามความเห็นนั้นว่า จำเลยยอมรับตามข้ออ้างของโจทก์ทั้งหมดและยอมแพ้คดี คู่ความจึงไม่มีภาระการพิสูจน์ตามข้ออ้างนั้นอีก เมื่อเป็นดังนี้ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้งดสืบพยานของทั้งสองฝ่าย จึงไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งอย่างใด
ข้อที่ฎีกาว่า ผลการตรวจพิสูจน์ของผู้เชี่ยวชาญไม่ตรงตามคำท้าในรายงานกระบวนพิจารณาซึ่งจะแปลความหมายแห่งถ้อยคำในรายงานกระบวนพิจารณา จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมาย
ผู้เชี่ยวชาญจะเป็นพยานหลักฐานในคดีได้ก็ด้วยการแสดงความเห็นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 130 จะยืนยันข้อเท็จจริงไม่ได้ เพราะไม่ได้เห็น ได้ยินหรือทราบข้อความเกี่ยวกับเรื่องที่เป็นพยานนั้นด้วยตนเองโดยตรง
คู่ความท้ากันในรายงานกระบวนพิจารณาว่า หากผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ว่าลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 ในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว จำเลยทั้งสี่คนยอมแพ้คดี แต่ถ้าไม่ใช่โจทก์ยอมแพ้คดี การท้ากันในคดีนี้จึงเห็นได้อยู่ในตัวว่าเป็นการท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความเห็นหาใช่ให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันข้อเท็จจริงไม่ ฉะนั้น แม้ผู้เชี่ยวชาญจะแสดงเหตุผลในการแสดงความเห็นอย่างใดก็ตามแต่ในที่สุดเห็นว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 น่าจะเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้วก็ย่อมเป็นการแสดงความเห็นที่สมประสงค์ของโจทก์ตรงตามคำท้าจำเลยจึงต้องแพ้คดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1121/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลของการท้าพิสูจน์ลายมือชื่อและการยอมแพ้คดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
แม้จะเป็นฎีกาคำสั่งระหว่างพิจารณาของศาลชั้นต้นที่ให้งดสืบพยาน และจำเลยมิได้โต้แย้งไว้. แต่โดยที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งและพิพากษาในวันเดียวกัน. ไม่มีโอกาสที่จำเลยจะโต้แย้งได้ก่อน. จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาได้.
ถ้ามีปัญหาข้อใดในคดี ไม่ว่าจะเป็นปัญหาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย. หากคู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งไม่รับ. ย่อมเกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท และคู่ความย่อมมีสิทธินำพยานเข้าสืบในข้อเท็จจริงตามประเด็นข้อพิพาทนั้นได้ ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 183,184,185และ 85. แต่ถ้าปัญหาข้อใดที่คู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งรับแล้ว. ย่อมไม่เกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท. เพราะเป็นอันฟังได้ตามที่รับกันนั้นโดยไม่ต้องสืบพยานหลักฐานใดๆ ในปัญหาข้อนั้นอีก. ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 84.
การที่คู่ความท้ากันในคดี ถือได้ว่าเป็นการยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้างตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 84 นั้นเอง. แต่มีเงื่อนไขว่าต้องมีการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่งก่อน. ถ้าผลแห่งการดำเนินกระบวนพิจารณานั้นสมความประสงค์ของคู่ความฝ่ายใดตามที่ท้ากัน อีกฝ่ายหนึ่งก็ยอมรับตามข้ออ้างของฝ่ายที่สมประสงค์นั้นทั้งหมด.
คู่ความท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 เปรียบเทียบกับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในที่ต่างๆ. หากผู้เชี่ยวชาญพิสูจน์ว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2. จำเลยทั้ง4 คนยอมแพ้ ถ้าไม่ใช่ลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 โจทก์ยอมแพ้. ผลจึงเป็นดังที่กล่าวข้างต้น กล่าวคือ โจทก์จำเลยต่างจะยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้าง. ถ้าผลการตรวจพิสูจน์ลายมือชื่อของผู้เชี่ยวชาญอันเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งสมความประสงค์ของฝ่ายใด.ฉะนั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจพิสูจน์แล้วและมีความเห็นว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 กับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในใบแต่งทนาย ใบรับหมายและตัวอย่างที่เขียนต่อหน้าศาลน่าจะเป็นลายมือชื่อของบุคคลคนเดียวกัน.ซึ่งหมายความว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2น่าจะเป็นลายมือชื่อจำเลยที่ 2 นั้นเอง. จึงเป็นการสมความประสงค์ของโจทก์และเมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าตรงตามคำท้าแล้ว ก็มีผลตามความเห็นนั้นว่า. จำเลยยอมรับตามข้ออ้างของโจทก์ทั้งหมดและยอมแพ้คดี คู่ความจึงไม่มีภาระการพิสูจน์ตามข้ออ้างนั้นอีก. เมื่อเป็นดังนี้ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้งดสืบพยานของทั้งสองฝ่าย จึงไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งอย่างใด.
ข้อที่ฎีกาว่า ผลการตรวจพิสูจน์ของผู้เชี่ยวชาญไม่ตรงตามคำท้า.ในรายงานกระบวนพิจารณาซึ่งจะแปลความหมายแห่งถ้อยคำในรายงานกระบวนพิจารณา. จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมาย.
ผู้เชี่ยวชาญจะเป็นพยานหลักฐานในคดีได้ก็ด้วยการแสดงความเห็นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 130จะยืนยันข้อเท็จจริงไม่ได้. เพราะไม่ได้เห็น ได้ยินหรือทราบข้อความเกี่ยวกับเรื่องที่เป็นพยานนั้นด้วยตนเองโดยตรง.
คู่ความท้ากันในรายงานกระบวนพิจารณาว่า หากผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ว่าลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 ในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว. จำเลยทั้งสี่คนยอมแพ้คดี. แต่ถ้าไม่ใช่โจทก์ยอมแพ้คดี. การท้ากันในคดีนี้จึงเห็นได้อยู่ในตัวว่าเป็นการท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความเห็นหาใช่ให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันข้อเท็จจริงไม่. ฉะนั้น แม้ผู้เชี่ยวชาญจะแสดงเหตุผลในการแสดงความเห็นอย่างใดก็ตามแต่ในที่สุดเห็นว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 น่าจะเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว.ก็ย่อมเป็นการแสดงความเห็นที่สมประสงค์ของโจทก์ตรงตามคำท้าจำเลยจึงต้องแพ้คดี.
ถ้ามีปัญหาข้อใดในคดี ไม่ว่าจะเป็นปัญหาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย. หากคู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งไม่รับ. ย่อมเกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท และคู่ความย่อมมีสิทธินำพยานเข้าสืบในข้อเท็จจริงตามประเด็นข้อพิพาทนั้นได้ ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 183,184,185และ 85. แต่ถ้าปัญหาข้อใดที่คู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งรับแล้ว. ย่อมไม่เกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท. เพราะเป็นอันฟังได้ตามที่รับกันนั้นโดยไม่ต้องสืบพยานหลักฐานใดๆ ในปัญหาข้อนั้นอีก. ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 84.
การที่คู่ความท้ากันในคดี ถือได้ว่าเป็นการยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้างตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 84 นั้นเอง. แต่มีเงื่อนไขว่าต้องมีการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่งก่อน. ถ้าผลแห่งการดำเนินกระบวนพิจารณานั้นสมความประสงค์ของคู่ความฝ่ายใดตามที่ท้ากัน อีกฝ่ายหนึ่งก็ยอมรับตามข้ออ้างของฝ่ายที่สมประสงค์นั้นทั้งหมด.
คู่ความท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 เปรียบเทียบกับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในที่ต่างๆ. หากผู้เชี่ยวชาญพิสูจน์ว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2. จำเลยทั้ง4 คนยอมแพ้ ถ้าไม่ใช่ลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 โจทก์ยอมแพ้. ผลจึงเป็นดังที่กล่าวข้างต้น กล่าวคือ โจทก์จำเลยต่างจะยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้าง. ถ้าผลการตรวจพิสูจน์ลายมือชื่อของผู้เชี่ยวชาญอันเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งสมความประสงค์ของฝ่ายใด.ฉะนั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจพิสูจน์แล้วและมีความเห็นว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 กับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในใบแต่งทนาย ใบรับหมายและตัวอย่างที่เขียนต่อหน้าศาลน่าจะเป็นลายมือชื่อของบุคคลคนเดียวกัน.ซึ่งหมายความว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2น่าจะเป็นลายมือชื่อจำเลยที่ 2 นั้นเอง. จึงเป็นการสมความประสงค์ของโจทก์และเมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าตรงตามคำท้าแล้ว ก็มีผลตามความเห็นนั้นว่า. จำเลยยอมรับตามข้ออ้างของโจทก์ทั้งหมดและยอมแพ้คดี คู่ความจึงไม่มีภาระการพิสูจน์ตามข้ออ้างนั้นอีก. เมื่อเป็นดังนี้ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้งดสืบพยานของทั้งสองฝ่าย จึงไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งอย่างใด.
ข้อที่ฎีกาว่า ผลการตรวจพิสูจน์ของผู้เชี่ยวชาญไม่ตรงตามคำท้า.ในรายงานกระบวนพิจารณาซึ่งจะแปลความหมายแห่งถ้อยคำในรายงานกระบวนพิจารณา. จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมาย.
ผู้เชี่ยวชาญจะเป็นพยานหลักฐานในคดีได้ก็ด้วยการแสดงความเห็นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 130จะยืนยันข้อเท็จจริงไม่ได้. เพราะไม่ได้เห็น ได้ยินหรือทราบข้อความเกี่ยวกับเรื่องที่เป็นพยานนั้นด้วยตนเองโดยตรง.
คู่ความท้ากันในรายงานกระบวนพิจารณาว่า หากผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ว่าลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 ในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว. จำเลยทั้งสี่คนยอมแพ้คดี. แต่ถ้าไม่ใช่โจทก์ยอมแพ้คดี. การท้ากันในคดีนี้จึงเห็นได้อยู่ในตัวว่าเป็นการท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความเห็นหาใช่ให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันข้อเท็จจริงไม่. ฉะนั้น แม้ผู้เชี่ยวชาญจะแสดงเหตุผลในการแสดงความเห็นอย่างใดก็ตามแต่ในที่สุดเห็นว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 น่าจะเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว.ก็ย่อมเป็นการแสดงความเห็นที่สมประสงค์ของโจทก์ตรงตามคำท้าจำเลยจึงต้องแพ้คดี.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 921/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรังวัดที่ดิน: ศาลใช้รายงานสำนักงานที่ดินเป็นหลักฐานพิสูจน์ความถูกต้องของการรังวัดใหม่ด้วยเครื่องมือที่แม่นยำกว่า
โจทก์จำเลยได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความต่อหน้าศาลให้แบ่งแยกที่พิพาทออกเป็น 3
ส่วน โดยให้เส้นแบ่งแยกตั้งได้ฉากกับถนน ศาลได้พิพากษาตามยอมไปแล้ว ช่างรังวัดของสำนักงานที่ดินได้ทำการรังวัดปักหลักเขตแบ่งแยกที่ดินให้ตามสัญญายอม โจทก์จำเลยได้ลงชื่อรับรองการรังวัดนั้น ต่อมาโจทก์เห็นว่าเส้นแบ่งเขตไม่ตั้งได้ฉากกับถนนตามสัญญายอม โดยการรังวัดของเจ้าพนักงานคลาดเคลื่อนไป โจทก์มีสิทธิที่จะขอให้ศาลสั่งให้มีการรังวัดตรวจสอบใหม่ได้ ลำพังที่โจทก์จำเลยลงชื่อรับรองการรังวัดนั้น จะถือว่าโจทก์จำเลยรับรองว่าแผนที่ได้ทำขึ้นถูกต้องตามสัญญายอมต้องถือเป็นยุติแล้วหาได้ไม่
สำนักงานที่ดินมีหนังสืออธิบายต่อศาลว่า การรังวัดด้วยวิธีเจาะช่องส่องกล้องและบังธงอาจคลาดเคลื่อนได้ ถ้ารังวัดด้วยกล้องธีโอโดไลท์โดยรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่กีดขวางออกให้กล้องสามารถส่องไปถึงจุดที่หมายได้แล้ววัดระยะอีกครั้งหนึ่ง จะได้ความจริงถูกต้องและแน่นอน ศาลชั้นต้นแจ้งให้คู่ความทราบ จำเลยได้ยินยอมให้รังวัดใหม่ด้วยกล้องธีโอไดไลท์ ต่อมาสำนักงานที่ดินมีหนังสือรายงานศาลว่า ช่างรังวัดได้รังวัดแบ่งแยกที่ดินด้วยกล้องธีโอโดไลท์ตามสัญญายอมแล้ว ศาลชั้นต้นแจ้งให้คู่ความทราบจำเลยปฏิเสธไม่รับรองการรังวัดครั้งหลัง ศาลชั้นต้นได้สั่งในรายงานกระบวนพิจารณาว่า เจ้าหน้าที่รับรองว่าการรังวัดครั้งหลังใช้วิธีการเครื่องมือที่แน่นอนกว่า คือ ใช้กล้องส่องแทนที่ใช้โซ่ลากอย่างคราวแรก ถือได้ว่าการรังวัดครั้งหลังถูกต้องยิ่งกว่าคราวแรกให้โจทก์จำเลยจดทะเบียนแบ่งแยกตามที่ได้รังวัดครั้งหลังนี้ นั้น ศาลฎีกาเห็นว่าศาลชั้นต้นได้รับฟังหนังสือรายงานของสำนักงานที่ดินเป็นหลักฐาน พิเคราะห์ในการสั่งเป็นการไต่สวนอยู่แล้ว เห็นว่าศาลชั้นต้นไม่จำต้องทำการไต่สวนอย่างใดต่อไปอีกตามนัยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 86 วรรค 2 และ 3
ส่วน โดยให้เส้นแบ่งแยกตั้งได้ฉากกับถนน ศาลได้พิพากษาตามยอมไปแล้ว ช่างรังวัดของสำนักงานที่ดินได้ทำการรังวัดปักหลักเขตแบ่งแยกที่ดินให้ตามสัญญายอม โจทก์จำเลยได้ลงชื่อรับรองการรังวัดนั้น ต่อมาโจทก์เห็นว่าเส้นแบ่งเขตไม่ตั้งได้ฉากกับถนนตามสัญญายอม โดยการรังวัดของเจ้าพนักงานคลาดเคลื่อนไป โจทก์มีสิทธิที่จะขอให้ศาลสั่งให้มีการรังวัดตรวจสอบใหม่ได้ ลำพังที่โจทก์จำเลยลงชื่อรับรองการรังวัดนั้น จะถือว่าโจทก์จำเลยรับรองว่าแผนที่ได้ทำขึ้นถูกต้องตามสัญญายอมต้องถือเป็นยุติแล้วหาได้ไม่
สำนักงานที่ดินมีหนังสืออธิบายต่อศาลว่า การรังวัดด้วยวิธีเจาะช่องส่องกล้องและบังธงอาจคลาดเคลื่อนได้ ถ้ารังวัดด้วยกล้องธีโอโดไลท์โดยรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่กีดขวางออกให้กล้องสามารถส่องไปถึงจุดที่หมายได้แล้ววัดระยะอีกครั้งหนึ่ง จะได้ความจริงถูกต้องและแน่นอน ศาลชั้นต้นแจ้งให้คู่ความทราบ จำเลยได้ยินยอมให้รังวัดใหม่ด้วยกล้องธีโอไดไลท์ ต่อมาสำนักงานที่ดินมีหนังสือรายงานศาลว่า ช่างรังวัดได้รังวัดแบ่งแยกที่ดินด้วยกล้องธีโอโดไลท์ตามสัญญายอมแล้ว ศาลชั้นต้นแจ้งให้คู่ความทราบจำเลยปฏิเสธไม่รับรองการรังวัดครั้งหลัง ศาลชั้นต้นได้สั่งในรายงานกระบวนพิจารณาว่า เจ้าหน้าที่รับรองว่าการรังวัดครั้งหลังใช้วิธีการเครื่องมือที่แน่นอนกว่า คือ ใช้กล้องส่องแทนที่ใช้โซ่ลากอย่างคราวแรก ถือได้ว่าการรังวัดครั้งหลังถูกต้องยิ่งกว่าคราวแรกให้โจทก์จำเลยจดทะเบียนแบ่งแยกตามที่ได้รังวัดครั้งหลังนี้ นั้น ศาลฎีกาเห็นว่าศาลชั้นต้นได้รับฟังหนังสือรายงานของสำนักงานที่ดินเป็นหลักฐาน พิเคราะห์ในการสั่งเป็นการไต่สวนอยู่แล้ว เห็นว่าศาลชั้นต้นไม่จำต้องทำการไต่สวนอย่างใดต่อไปอีกตามนัยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 86 วรรค 2 และ 3
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 921/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรังวัดที่ดิน: การแก้ไขผลรังวัดเดิมด้วยวิธีที่แม่นยำกว่าย่อมชอบธรรม แม้มีการโต้แย้ง
โจทก์จำเลยได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความต่อหน้าศาลให้แบ่งแยกที่พิพาทออกเป็น 3 ส่วน โดยให้เส้นแบ่งแยกตั้งได้ฉากกับถนน ศาลได้พิพากษาตามยอมไปแล้ว ช่างรังวัดของสำนักงานที่ดินได้ทำการรังวัดปักหลักเขตแบ่งแยกที่ดินให้ตามสัญญายอม โจทก์จำเลยได้ลงชื่อรับรองการรังวัดนั้น ต่อมาโจทก์เห็นว่าเส้นแบ่งเขตไม่ตั้งได้ฉากกับถนนตามสัญญายอมโดยการรังวัดของเจ้าพนักงานคลาดเคลื่อนไป โจทก์มีสิทธิที่จะขอให้ศาลสั่งให้มีการรังวัดตรวจสอบใหม่ได้ ลำพังที่โจทก์จำเลยลงชื่อรับรองการรังวัดนั้น จะถือว่าโจทก์จำเลยรับรองว่าแผนที่ได้ทำขึ้นถูกต้องตามสัญญายอมต้องถือเป็นยุติแล้วหาได้ไม่
สำนักงานที่ดินมีหนังสืออธิบายต่อศาลว่า การรังวัดด้วยวิธีเจาะช่องส่องกล้องและบังธงอาจคลาดเคลื่อนได้ ถ้ารังวัดด้วยกล้องธีโอโดไลท์โดยรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่กีดขวางออกให้กล้องสามารถส่องไปถึงจุดที่หมายได้แล้ววัดระยะอีกครั้งหนึ่ง จะได้ความจริงถูกต้องและแน่นอน ศาลชั้นต้นแจ้งให้คู่ความทราบ จำเลยได้ยินยอมให้รังวัดใหม่ด้วยกล้องธีโอโดไลท์ ต่อมาสำนักงานที่ดินมีหนังสือรายงานศาลว่าช่างรังวัดได้รังวัดแบ่งแยกที่ดินด้วยกล้องธีโอโดไลท์ตามสัญญายอมแล้ว ศาลชั้นต้นแจ้งให้คู่ความทราบจำเลยปฏิเสธไม่รับรองการรังวัดครั้งหลัง ศาลชั้นต้นได้สั่งในรายงานกระบวนพิจารณาว่า เจ้าหน้าที่รับรองว่าการรังวัดครั้งหลังใช้วิธีการเครื่องมือที่แน่นอนกว่า คือ ใช้กล้องส่องแทนที่ใช้โซ่ลากอย่างคราวแรก ถือได้ว่าการรังวัดครั้งหลังถูกต้องยิ่งกว่าคราวแรกให้โจทก์จำเลยจดทะเบียนแบ่งแยกตามที่ได้รังวัดครั้งหลังนี้ นั้น ศาลฎีกาเห็นว่าศาลชั้นต้นได้รับฟังหนังสือรายงานของสำนักงานที่ดินเป็นหลักฐาน พิเคราะห์ในการสั่งเป็นการไต่สวนอยู่แล้ว เห็นว่าศาลชั้นต้นไม่จำต้องทำการไต่สวนอย่างใดต่อไปอีกตามนัยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 86 วรรคสองและสาม
สำนักงานที่ดินมีหนังสืออธิบายต่อศาลว่า การรังวัดด้วยวิธีเจาะช่องส่องกล้องและบังธงอาจคลาดเคลื่อนได้ ถ้ารังวัดด้วยกล้องธีโอโดไลท์โดยรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่กีดขวางออกให้กล้องสามารถส่องไปถึงจุดที่หมายได้แล้ววัดระยะอีกครั้งหนึ่ง จะได้ความจริงถูกต้องและแน่นอน ศาลชั้นต้นแจ้งให้คู่ความทราบ จำเลยได้ยินยอมให้รังวัดใหม่ด้วยกล้องธีโอโดไลท์ ต่อมาสำนักงานที่ดินมีหนังสือรายงานศาลว่าช่างรังวัดได้รังวัดแบ่งแยกที่ดินด้วยกล้องธีโอโดไลท์ตามสัญญายอมแล้ว ศาลชั้นต้นแจ้งให้คู่ความทราบจำเลยปฏิเสธไม่รับรองการรังวัดครั้งหลัง ศาลชั้นต้นได้สั่งในรายงานกระบวนพิจารณาว่า เจ้าหน้าที่รับรองว่าการรังวัดครั้งหลังใช้วิธีการเครื่องมือที่แน่นอนกว่า คือ ใช้กล้องส่องแทนที่ใช้โซ่ลากอย่างคราวแรก ถือได้ว่าการรังวัดครั้งหลังถูกต้องยิ่งกว่าคราวแรกให้โจทก์จำเลยจดทะเบียนแบ่งแยกตามที่ได้รังวัดครั้งหลังนี้ นั้น ศาลฎีกาเห็นว่าศาลชั้นต้นได้รับฟังหนังสือรายงานของสำนักงานที่ดินเป็นหลักฐาน พิเคราะห์ในการสั่งเป็นการไต่สวนอยู่แล้ว เห็นว่าศาลชั้นต้นไม่จำต้องทำการไต่สวนอย่างใดต่อไปอีกตามนัยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 86 วรรคสองและสาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1768/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงท้าพยานผู้เชี่ยวชาญลายมือชื่อ: ศาลรับฟังความเห็นผู้เชี่ยวชาญเป็นเหตุแพ้ชนะได้
1. เมื่อคู่ความท้ากันให้ส่งสัญญากู้เงินที่พิพาทไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ลายเซ็นในช่องผู้กู้เปรียบเทียบกับลายเซ็นอันแท้จริงของจำเลยในเอกสารซึ่งโจทก์จำเลยรับกัน ย่อมเป็นที่เข้าใจว่าได้ให้ผู้เชี่ยวชาญคนใดคนหนึ่งของกองวิทยาการกรมตำรวจเป็นผู้ตรวจพิสูจน์ 2. และเมื่อคู่ความท้ากันไว้ว่า ถ้าผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นว่าเป็นลายเซ็นคนๆเดียวกัน จำเลยยอมแพ้ แต่ถ้าไม่เชื่อว่าเป็นลายเซ็นของคนๆเดียวกัน โจทก์ยอมแพ้ ดังนี้ คดีย่อมไม่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยว่าจำเลยมิได้ระบุพยานอ้างผู้เชี่ยวชาญและความเห็นของผู้เชี่ยวชาญและศาลได้กำหนดตัวผู้เชี่ยวชาญแล้วหรือไม่
ดังนั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจแล้วมีความเห็นว่าไม่เชื่อว่าเป็นลายเซ็นของคนๆ เดียวกัน โจทก์ก็ต้องเป็นฝ่ายแพ้คดีตามที่ท้ากันไว้
ดังนั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจแล้วมีความเห็นว่าไม่เชื่อว่าเป็นลายเซ็นของคนๆ เดียวกัน โจทก์ก็ต้องเป็นฝ่ายแพ้คดีตามที่ท้ากันไว้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1192/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญพิสูจน์ลายมือและการใช้รายงานผล การวินิจฉัยของศาลตามรายงานของผู้เชี่ยวชาญ
จำเลยขอให้ส่งเอกสารอื่นกับหนังสือสัญญากู้ที่โจทก์นำมาฟ้องไปยัง จ. (ซึ่งจำเลยระบุไว้ในบัญชีพยานแล้ว) ผู้ชำนาญการพิเศษ ให้พิสูจน์ลายมือชื่อเป้งว่าเป็นลายมือชื่อของคนคนเดียวกันหรือไม่ ศาลได้มีคำสั่งให้ส่งเอกสารไปให้ จ. พิสูจน์ดังจำเลยแถลงได้ ดังนี้ ถือได้ว่าได้มีการแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญแล้ว เพราะศาลได้ออกคำสั่งกำหนดตัวผู้เชี่ยวชาญให้ทำการพิสูจน์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 99 แล้ว
ตามมาตรา 130 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งผู้เชี่ยวชาญอาจแสดงความเห็นด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือก็ได้ แล้วแต่ศาลจะต้องการ เมื่อศาลสั่งให้ผู้เชี่ยวชาญส่งผลแห่งการพิสูจน์เท่านั้น และโจทก์ก็มิได้เรียกร้องให้ศาลเรียกมาเพื่ออธิบายด้วยวาจาอีก ศาลย่อมวินิจฉัยตามหนังสือรายงานของผู้เชี่ยวชาญได้
ตามมาตรา 130 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งผู้เชี่ยวชาญอาจแสดงความเห็นด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือก็ได้ แล้วแต่ศาลจะต้องการ เมื่อศาลสั่งให้ผู้เชี่ยวชาญส่งผลแห่งการพิสูจน์เท่านั้น และโจทก์ก็มิได้เรียกร้องให้ศาลเรียกมาเพื่ออธิบายด้วยวาจาอีก ศาลย่อมวินิจฉัยตามหนังสือรายงานของผู้เชี่ยวชาญได้