พบผลลัพธ์ทั้งหมด 31 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1925/2494 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีโรงเรือนต้องไม่เกินค่าเช่าจริง การประเมินเกินถือไม่เป็นธรรมต่อผู้ให้เช่า
แม้ใน พ.ร.บ.ภาษีโรงเรือนและที่ดินมาตรา 8 จะได้ให้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่แก้หรือคำนวณค่ารายปีใหม่ เมื่อมีเหตุอันบ่งให้เห็นว่าค่าเช่านั้นมิใช่จำนวนเงินอันสมควรจะให้เช่าได้ก็ดี ถ้าผู้ให้เช่าได้เรียกเก็บค่าเช่าตามสัญญาที่ให้เช่าและค่าเช่าที่เรียกเก็บก็ไม่น้อยเกินไป หรือมีเหตุที่น่าจะเห็นว่าผู้เช่ากับผู้ให้เช่าสมยอมกันแล้ว ก็ไม่มีเหตุสมควรที่เจ้าพนักงานประเมินจะประเมินค่ารายปีเกินไปกว่าค่าเช่าที่ผู้ให้เช่าได้รับจริง เพราะไม่เป็นธรรมแก่ฝ่ายผู้ให้เช่า ฉะนั้นถ้าประเมินค่ารายปีเกินไปโดยไม่สมควรแล้ว ผู้ให้เช่าย่อมฟ้องเรียกคืนได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1133/2494 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาษีโรงเรือน: แม้สัญญาเช่าหมดอายุ แต่ผู้เช่ายังไม่ยอมออก ไม่เข้าข้อยกเว้นการเสียภาษี
โรงเรือนที่มีผู้เช่าอยู่ครบกำหนดสัญญาเช่าแล้ว ก็ไม่ยอมออกถึงต้องฟ้องศาลขับไล่ ก็ยังบิดพริ้วไม่ยอมออก แม้ในระหว่างที่หมดอายุสัญญาเช่าแล้ว ผู้ให้เช่าไม่ได้เก็บค่าเช่าอีกเลย ก็ยังไม่เข้าข้อยกเว้นที่จะไม่ต้องเสียภาษีโรงเรือนตาม พ.ร.บ.ภาษีโรงเรือนและที่ดิน มาตรา 8,9,10 ฉะนั้น จึงต้องเสียภาษี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1133/2494
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าหมดอายุ ผู้เช่ายังไม่ยอมออก ไม่เข้าข้อยกเว้นภาษีโรงเรือน
โรงเรือนที่มีผู้เช่าอยู่ครบกำหนดสัญญาเช่าแล้ว ก็ไม่ยอมออกถึงต้องฟ้องศาลขับไล่ ก็ยังบิดพริ้วไม่ยอมออก แม้ในระหว่างที่หมดอายุสัญญาเช่าแล้ว ผู้ให้เช่าไม่ได้เก็บค่าเช่าอีกเลย ก็ยังไม่เข้าข้อยกเว้นที่จะไม่ต้องเสียภาษีโรงเรือนตาม พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน มาตรา 8,9,10 ฉะนั้น จึงต้องเสียภาษี (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 7/2494)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 458/2494 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษี: เมื่อมีการชี้ขาดแล้ว จำนวนเงินประเมินเดิมเป็นอันสิ้นสุด ต้องใช้จำนวนเงินที่ชี้ขาดใหม่ในการคำนวณค่าปรับ
ในกรณีที่มีอุทธรณ์การประเมินภาษีโรงเรือนนั้น เมื่อมีการชี้ขาดจำนวนเงินลดลงกว่าที่ประเมินไว้เดิมแล้วก็ต้องถือจำนวนเงินประเมินตามคำชี้ขาดนั้นส่วนจำนวนเงินประเมินเดิมเป็นอันหมดไป ฉะนั้นเมื่อจะมีการเรียกเอาค่าภาษีเพิ่ม เพราะผู้รับประเมินเอาเงินค่าภาษีมาชำระช้ากว่ากำหนดนั้น ก็ต้องคิดเพิ่มเอาจากอัตราที่ชี้ขาดมาใหม่นั้น จะคิดเอาจากอัตราจำนวนเงินประเมินเดิมไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 458/2494
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีโรงเรือนใหม่มีผลเหนือกว่าเดิม ค่าภาษีเพิ่มคำนวณจากอัตราที่ชี้ขาดใหม่
ในกรณีที่มีอุทธรณ์การประเมินภาษีโรงเรือนนั้นเมื่อมีการชี้ขาดจำนวนเงินลดลงกว่าที่ประเมินไว้เดิมแล้วก็ต้องถือจำนวนเงินประเมินตามคำชี้ขาดนั้น ส่วนจำนวนเงินประเมินเดิมเป็นอันหมดไป ฉะนั้นเมื่อจะมีการเรียกเอาค่าภาษีเพิ่ม เพราะผู้รับประเมินเอาเงินค่าภาษีมาชำระช้ากว่ากำหนดนั้นก็ต้องคิดเพิ่มเอาจากอัตราที่ชี้ขาดมาใหม่นั้นจะคิดเอาจากอัตราจำนวนเงินประเมินเดิมไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 753/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องนายกเทศมนตรีในฐานะบุคคลธรรมดา กรณีภาษีโรงเรือนและการอุทธรณ์การประเมิน
โจทก์ฟ้องเรียกเงินค่าภาษีโรงเรือนที่เจ้าหน้าที่ประเมินเกินไป โดยกล่าวในฟ้องว่าโจทก์ฟ้องนายทับ ณ พัทลุง ในนามนายกเทศมนตรีเมืองพัทลุงเป็นจำเลย ย่อมเป็นการฟ้องบุคคลธรรมดาในตำแหน่งหน้าที่ของเขา
ตามพระราชบัญญัติปันรายได้บำรุงเทศบาล 2478 มาตรา 4 ซึ่งบัญญัติว่า ภาษีโรงเรือน ซึ่งจะพึงเรียกเก็บได้ในเขตเทศบาลให้โอนให้เทศบาลเรียกเก็บเป็นรายได้ของเทศบาล และให้เทศบาลมีอำนาจและหน้าที่แต่งตั้งเจ้าหน้าที่เพื่อการนี้ประกอบกับ พระราชบัญญัติเทศบาล 2481 มาตรา 36 บัญญัติว่าในการบริหารการเทศบาลทั้งหลาย ให้นายกเทศมนตรีเป็นหัวหน้าดำเนินกิจการทั้งปวงของเทศบาล ดังนี้ นายกเทศมนตรีซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาโดยตำแหน่งหน้าที่นายกเทศมนตรีจึงอาจฟ้อง หรือถูกฟ้องเป็นคดีความในโรงศาลได้ ไม่จำเป็นต้องเอานิติบุคคลเข้ามาเป็นคู่ความเสมอไป(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 11/92)
ตามพระราชบัญญัติปันรายได้บำรุงเทศบาล 2478 มาตรา 4 ซึ่งบัญญัติว่า ภาษีโรงเรือน ซึ่งจะพึงเรียกเก็บได้ในเขตเทศบาลให้โอนให้เทศบาลเรียกเก็บเป็นรายได้ของเทศบาล และให้เทศบาลมีอำนาจและหน้าที่แต่งตั้งเจ้าหน้าที่เพื่อการนี้ประกอบกับ พระราชบัญญัติเทศบาล 2481 มาตรา 36 บัญญัติว่าในการบริหารการเทศบาลทั้งหลาย ให้นายกเทศมนตรีเป็นหัวหน้าดำเนินกิจการทั้งปวงของเทศบาล ดังนี้ นายกเทศมนตรีซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาโดยตำแหน่งหน้าที่นายกเทศมนตรีจึงอาจฟ้อง หรือถูกฟ้องเป็นคดีความในโรงศาลได้ ไม่จำเป็นต้องเอานิติบุคคลเข้ามาเป็นคู่ความเสมอไป(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 11/92)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 753/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องนายกเทศมนตรีในคดีภาษีโรงเรือน: การฟ้องจำเลยในฐานะบุคคลธรรมดา
โจทก์ฟ้องเรียกเงินค่าภาษีโรงเรือนที่เจ้าหน้าที่ประเมินเกินไป โดยกล่าวในฟ้องว่าโจทก์ฟ้องนายทับ ณ พัทลุง ในนามนายกเทศมนตรีเมืองพัทลุงเป็นจำเลย ย่อมเป็นการฟ้องบุคคลธรรมดาในตำแหน่งหน้าที่ของเขา
ตาม พ.ร.บ.ปันรายได้บำรุงเทศบาล 2479 ม.4 ซึ่งบัญญัติว่า ภาษีโรงเรือน ซึ่งจะพึงเรียกเก็บได้ในเขตต์เทศบาลให้โอนให้เทศบาลเรียกเก็บเป็นรายได้ของเทศบาล และให้เทศบาลมีอำนาจและหน้าที่แต่งตั้งเจ้าหน้าที่เพื่อการนี้ประกอบกับ พ.ร.บ.เทศบาล 2481 มาตรา 36 บัญญัติว่า ในการบริหารการเทศบาลทั้งหลาย ให้นายกเทศมนตรีเป็นหัวหน้าดำเนินกิจการทั้งปวงของเทศบาล ดังนี้ นายกเทศมนตรีซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาโดยตำแหน่งหน้าที่นายกเทศมนตรีจึงอาจฟ้อง หรือถูกฟ้องเป็นคดีความในโรงศาลได้ ไม่จำเป็นต้องเอานิติบุคคลเข้ามาเป็นคู่ความเสมอไป.
ตาม พ.ร.บ.ปันรายได้บำรุงเทศบาล 2479 ม.4 ซึ่งบัญญัติว่า ภาษีโรงเรือน ซึ่งจะพึงเรียกเก็บได้ในเขตต์เทศบาลให้โอนให้เทศบาลเรียกเก็บเป็นรายได้ของเทศบาล และให้เทศบาลมีอำนาจและหน้าที่แต่งตั้งเจ้าหน้าที่เพื่อการนี้ประกอบกับ พ.ร.บ.เทศบาล 2481 มาตรา 36 บัญญัติว่า ในการบริหารการเทศบาลทั้งหลาย ให้นายกเทศมนตรีเป็นหัวหน้าดำเนินกิจการทั้งปวงของเทศบาล ดังนี้ นายกเทศมนตรีซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาโดยตำแหน่งหน้าที่นายกเทศมนตรีจึงอาจฟ้อง หรือถูกฟ้องเป็นคดีความในโรงศาลได้ ไม่จำเป็นต้องเอานิติบุคคลเข้ามาเป็นคู่ความเสมอไป.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 213/2491
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลในการชี้ขาดจำนวนเงินภาษีที่ประเมิน และขอบเขตการตัดสินคดีภาษี
พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ.2475 มาตรา 31 นั้นไม่ได้หมายความว่าศาลมีอำนาจเพียงชี้ว่าการประเมินนั้นได้กระทำถูกหรือไม่ถูกเท่านั้น แต่ศาลย่อมมีอำนาจชี้ขาดจำนวนเงินที่ประเมินด้วยได้
โจทก์ฟ้องขอให้จำเลยคืนเงิน 2,005 บาท 42 สตางค์แต่ศาลให้คืน 1,305 บาท 42 สตางค์นั้นไม่เป็นการตัดสินเกินคำขอ
โจทก์ฟ้องขอให้จำเลยคืนเงิน 2,005 บาท 42 สตางค์แต่ศาลให้คืน 1,305 บาท 42 สตางค์นั้นไม่เป็นการตัดสินเกินคำขอ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 213/2491 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลในการชี้ขาดจำนวนเงินภาษีที่ประเมิน และขอบเขตการตัดสินคดีภาษีอากร
พ.ร.บ.ภาษีโรงเรือนและที่ดินพ.ศ. 2475 มาตรา 31 นั้น ไม่ได้หมายความว่าศาลมีอำนาจเพียงชี้ว่าการประเมินนั้นได้กระทำถูกหรือไม่ถูกเท่านั้น แต่ศาลย่อมมีอำนาจชี้ขาดจำนวนเงินที่ประเมิน+ได้
โจทก์ฟ้องขอให้จำเลยคืนเงิน2005 บาท 42 สตางค์ แต่ศาลให้คืนเงิน1305 บาท 42 สตางค์นั้นไม่เป็นการตัดสินเกินคำขอ.
โจทก์ฟ้องขอให้จำเลยคืนเงิน2005 บาท 42 สตางค์ แต่ศาลให้คืนเงิน1305 บาท 42 สตางค์นั้นไม่เป็นการตัดสินเกินคำขอ.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 434/2479
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การประเมินภาษีการค้าสำหรับแพจอดเทียบท่า: สังหาริมทรัพย์ไม่สามารถประเมินเป็นค่ารายปีได้
+เป็นสังหาริมทรัพย์+เป็นสิ่งทที่จะประเมิน+เสียภาษีการค้า+นำเอาค่ารายปีตาม พ.ร.บ.ภาษีโรงเรือน+ใช้แก่ พ.ร.บ.การค้าได้ฉะเพาะค่า+ปีของอสังหาริมทรัพย์ เรื่องความรับผิดภาษี+เป็นความแพ่งก็ต้อง+กฎหมายโดยเคร่งรัด จะใช้วิธีแปล+เคียงหรืออนุโลมไม่ได้