พบผลลัพธ์ทั้งหมด 107 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2210/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาแท้จริงในสัญญาเช่า, การบอกเลิกสัญญา, และสิทธิในสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินเช่า
โจทก์จำเลยทำสัญญาเช่าที่ดินเป็นหนังสือ เจตนาอันแท้จริงของคู่สัญญาย่อมเห็นได้จากเอกสารหรือหนังสือนั้น ถ้าข้อความในสัญญาชัดแล้วย่อมไม่มีความจำเป็นที่จะต้องมีการตีความการแสดงเจตนา และจะนำสืบพยานบุคคลว่าคู่สัญญามีเจตนาอันแท้จริงยิ่งกว่าข้อความในสัญญาหาได้ไม่
หนังสือสัญญาเช่าที่ดินมีกำหนดเวลาเช่าไว้แน่นอน 1 ปี ย่อมไม่อาจตีความว่าโจทก์จำเลยมีเจตนาอันแท้จริงที่จะต่ออายุสัญญาเช่ากันทุกๆ ปี ซึ่งบังคับโจทก์ให้เช่าได้ และข้อความในสัญญาเช่าที่ว่า "การต่ออายุสัญญาเช่า ผู้เช่าย่อมชำระค่าธรรมเนียมต่อสัญญาหรือทำสัญญาใหม่ในอัตราร้อยละ 20 ของค่าเช่า 1 เดือน ต่อ 1 ปี" เพียงแต่กำหนด ว่าจำเลยจะยอมชำระค่าธรรมเนียมให้โจทก์ ในกรณีที่มีการต่ออายุสัญญาหรือทำสัญญาใหม่ ส่วนจะมีการต่ออายุสัญญา หรือทำสัญญาใหม่หรือไม่ อยู่ที่การตกลงระหว่างโจทก์จำเลย มิได้บังคับว่าโจทก์จะต้องยอมต่ออายุสัญญาเช่าให้แก่จำเลย
จำเลยปลูกสร้างโรงเรือนลงในที่ดินซึ่งเช่าจากโจทก์ แม้จะปลูกสร้างโดยสุจริต ก็เป็นการปลูกสร้างในที่ดินของผู้อื่นโดยมีสิทธิ โรงเรือนนั้นไม่กลายเป็นส่วนควบของที่ดิน และมิใช่เป็นการสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1310
โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเช่า การที่โจทก์ไม่ยอมต่ออายุ สัญญาเช่าให้จำเลยและบอกเลิกสัญญาเช่า จะถือว่าเป็นการใช้ สิทธิบอกเลิกสัญญาเช่าและฟ้องขับไล่โดยไม่สุจริตไม่ได้
จำเลยฎีกาขอให้ยกคำพิพากษาศาลล่าง ให้ดำเนินการชี้สองสถานและสืบพยานโจทก์จำเลยแล้วพิพากษาใหม่ มิได้ขอให้พิพากษาให้จำเลยชนะคดี ต้องเสียค่าขึ้นศาลในชั้นฎีกาเพียงสองร้อยบาท ตาม ตาราง 1 ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ข้อ 2 ก. จำเลยเสียค่าขึ้นศาลในชั้นฎีกามาตามทุนทรัพย์ศาลฎีกาให้คืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่จำเลย
หนังสือสัญญาเช่าที่ดินมีกำหนดเวลาเช่าไว้แน่นอน 1 ปี ย่อมไม่อาจตีความว่าโจทก์จำเลยมีเจตนาอันแท้จริงที่จะต่ออายุสัญญาเช่ากันทุกๆ ปี ซึ่งบังคับโจทก์ให้เช่าได้ และข้อความในสัญญาเช่าที่ว่า "การต่ออายุสัญญาเช่า ผู้เช่าย่อมชำระค่าธรรมเนียมต่อสัญญาหรือทำสัญญาใหม่ในอัตราร้อยละ 20 ของค่าเช่า 1 เดือน ต่อ 1 ปี" เพียงแต่กำหนด ว่าจำเลยจะยอมชำระค่าธรรมเนียมให้โจทก์ ในกรณีที่มีการต่ออายุสัญญาหรือทำสัญญาใหม่ ส่วนจะมีการต่ออายุสัญญา หรือทำสัญญาใหม่หรือไม่ อยู่ที่การตกลงระหว่างโจทก์จำเลย มิได้บังคับว่าโจทก์จะต้องยอมต่ออายุสัญญาเช่าให้แก่จำเลย
จำเลยปลูกสร้างโรงเรือนลงในที่ดินซึ่งเช่าจากโจทก์ แม้จะปลูกสร้างโดยสุจริต ก็เป็นการปลูกสร้างในที่ดินของผู้อื่นโดยมีสิทธิ โรงเรือนนั้นไม่กลายเป็นส่วนควบของที่ดิน และมิใช่เป็นการสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1310
โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเช่า การที่โจทก์ไม่ยอมต่ออายุ สัญญาเช่าให้จำเลยและบอกเลิกสัญญาเช่า จะถือว่าเป็นการใช้ สิทธิบอกเลิกสัญญาเช่าและฟ้องขับไล่โดยไม่สุจริตไม่ได้
จำเลยฎีกาขอให้ยกคำพิพากษาศาลล่าง ให้ดำเนินการชี้สองสถานและสืบพยานโจทก์จำเลยแล้วพิพากษาใหม่ มิได้ขอให้พิพากษาให้จำเลยชนะคดี ต้องเสียค่าขึ้นศาลในชั้นฎีกาเพียงสองร้อยบาท ตาม ตาราง 1 ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ข้อ 2 ก. จำเลยเสียค่าขึ้นศาลในชั้นฎีกามาตามทุนทรัพย์ศาลฎีกาให้คืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2210/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าที่ดิน: เจตนาคู่สัญญา, การต่ออายุ, และสิทธิในสิ่งปลูกสร้าง
โจทก์จำเลยทำสัญญาเช่าที่ดินเป็นหนังสือ เจตนาอันแท้จริง ของคู่สัญญาย่อมเห็นได้จากเอกสารหรือหนังสือนั้น ถ้าข้อความในสัญญาชัดแล้วย่อมไม่มีความจำเป็นที่จะต้องมีการ ตีความการแสดงเจตนา และจะนำสืบพยานบุคคลว่าคู่สัญญามีเจตนาอันแท้จริงยิ่งกว่าข้อความในสัญญาหาได้ไม่
หนังสือสัญญาเช่าที่ดินมีกำหนดเวลาเช่าไว้แน่นอน 1 ปีย่อมไม่อาจตีความว่าโจทก์จำเลยมีเจตนาอันแท้จริงที่จะ ต่ออายุสัญญาเช่ากันทุกๆ ปี ซึ่งบังคับโจทก์ให้เช่าได้ และข้อความในสัญญาเช่าที่ว่า 'การต่ออายุสัญญาเช่าผู้เช่า ย่อมชำระค่าธรรมเนียมต่อสัญญาหรือทำสัญญาใหม่ ในอัตราร้อยละ 20 ของค่าเช่า 1 เดือน ต่อ 1 ปี' เพียงแต่กำหนด ว่าจำเลยจะยอมชำระค่าธรรมเนียมให้โจทก์ ในกรณีที่มีการ ต่ออายุสัญญาหรือทำสัญญาใหม่ ส่วนจะมีการต่ออายุสัญญา หรือทำสัญญาใหม่หรือไม่ อยู่ที่การตกลงระหว่างโจทก์จำเลยมิได้บังคับว่าโจทก์จะต้องยอมต่ออายุสัญญาเช่าให้แก่ จำเลย
จำเลยปลูกสร้างโรงเรือนลงในที่ดินซึ่งเช่าจากโจทก์ แม้ จะปลูกสร้างโดยสุจริต ก็เป็นการปลูกสร้างในที่ดินของผู้อื่นโดยมีสิทธิ โรงเรือนนั้นไม่กลายเป็นส่วนควบของที่ดิน และมิใช่เป็นการสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1310
โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเช่า การที่โจทก์ไม่ยอมต่ออายุ สัญญาเช่าให้จำเลยและบอกเลิกสัญญาเช่า จะถือว่าเป็นการใช้ สิทธิบอกเลิกสัญญาเช่าและฟ้องขับไล่โดยไม่สุจริตไม่ได้
จำเลยฎีกาขอให้ยกคำพิพากษาศาลล่าง ให้ดำเนินการชี้สองสถานและสืบพยานโจทก์จำเลยแล้วพิพากษาใหม่ มิได้ขอให้พิพากษาให้จำเลยชนะคดี ต้องเสียค่าขึ้นศาลในชั้นฎีกาเพียงสองร้อยบาท ตาม ตาราง 1 ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ข้อ 2 ก. จำเลยเสียค่าขึ้นศาลในชั้นฎีกามาตามทุนทรัพย์ศาลฎีกาให้คืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่จำเลย
หนังสือสัญญาเช่าที่ดินมีกำหนดเวลาเช่าไว้แน่นอน 1 ปีย่อมไม่อาจตีความว่าโจทก์จำเลยมีเจตนาอันแท้จริงที่จะ ต่ออายุสัญญาเช่ากันทุกๆ ปี ซึ่งบังคับโจทก์ให้เช่าได้ และข้อความในสัญญาเช่าที่ว่า 'การต่ออายุสัญญาเช่าผู้เช่า ย่อมชำระค่าธรรมเนียมต่อสัญญาหรือทำสัญญาใหม่ ในอัตราร้อยละ 20 ของค่าเช่า 1 เดือน ต่อ 1 ปี' เพียงแต่กำหนด ว่าจำเลยจะยอมชำระค่าธรรมเนียมให้โจทก์ ในกรณีที่มีการ ต่ออายุสัญญาหรือทำสัญญาใหม่ ส่วนจะมีการต่ออายุสัญญา หรือทำสัญญาใหม่หรือไม่ อยู่ที่การตกลงระหว่างโจทก์จำเลยมิได้บังคับว่าโจทก์จะต้องยอมต่ออายุสัญญาเช่าให้แก่ จำเลย
จำเลยปลูกสร้างโรงเรือนลงในที่ดินซึ่งเช่าจากโจทก์ แม้ จะปลูกสร้างโดยสุจริต ก็เป็นการปลูกสร้างในที่ดินของผู้อื่นโดยมีสิทธิ โรงเรือนนั้นไม่กลายเป็นส่วนควบของที่ดิน และมิใช่เป็นการสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1310
โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาเช่า การที่โจทก์ไม่ยอมต่ออายุ สัญญาเช่าให้จำเลยและบอกเลิกสัญญาเช่า จะถือว่าเป็นการใช้ สิทธิบอกเลิกสัญญาเช่าและฟ้องขับไล่โดยไม่สุจริตไม่ได้
จำเลยฎีกาขอให้ยกคำพิพากษาศาลล่าง ให้ดำเนินการชี้สองสถานและสืบพยานโจทก์จำเลยแล้วพิพากษาใหม่ มิได้ขอให้พิพากษาให้จำเลยชนะคดี ต้องเสียค่าขึ้นศาลในชั้นฎีกาเพียงสองร้อยบาท ตาม ตาราง 1 ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ข้อ 2 ก. จำเลยเสียค่าขึ้นศาลในชั้นฎีกามาตามทุนทรัพย์ศาลฎีกาให้คืนค่าขึ้นศาลส่วนที่เกินแก่จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1500/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยึดทรัพย์เพื่อบังคับคดีและการครอบครองทรัพย์สินที่ถูกยึดโดยไม่สุจริต สิทธิของเจ้าหนี้และผู้ครอบครอง
เจ้าพนักงานบังคับคดียึดที่ดินรายพิพาทไว้เพื่อบังคับชำระหนี้ตามคำพิพากษาย่อมมีสิทธิยึดถือครอบครองจนกว่าจะบังคับคดีเสร็จสิ้นหรือมีการถอนการบังคับคดี ในระหว่างการยึดนั้นแม้ลูกหนี้ตามคำพิพากษาผู้เป็นเจ้าของก็ไม่อาจก่อให้เกิด โอน หรือเปลี่ยนแปลงซึ่งสิทธิในทรัพย์สินที่ถูกยึดไว้แล้ว ดังนั้น แม้จำเลยเข้าครอบครองที่ดินรายพิพาทก็ไม่อาจอ้างสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดอันจะเป็นเหตุให้ที่ดินรายพิพาทหลุดพ้นไปจากการบังคับคดี
จำเลยเข้าครอบครองปลูกยางพาราในที่ดินรายพิพาทโดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นทรัพย์สินที่เจ้าพนักงานบังคับคดียึดไว้เพื่อบังคับคดีย่อมมิใช่เป็นการเพาะปลูกต้นไม้ในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1310 ประกอบกับมาตรา 1314 โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินมีเพียงสิทธิที่จะบังคับตามมาตรา 1311 ประกอบกับมาตรา 1314 เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า ต้นยางพาราที่จำเลยกรีดเป็นของที่จำเลยปลูกทำลงไว้ การที่จำเลยกรีดยางดังกล่าวหาเป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์ไม่
จำเลยเข้าครอบครองปลูกยางพาราในที่ดินรายพิพาทโดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นทรัพย์สินที่เจ้าพนักงานบังคับคดียึดไว้เพื่อบังคับคดีย่อมมิใช่เป็นการเพาะปลูกต้นไม้ในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1310 ประกอบกับมาตรา 1314 โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินมีเพียงสิทธิที่จะบังคับตามมาตรา 1311 ประกอบกับมาตรา 1314 เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า ต้นยางพาราที่จำเลยกรีดเป็นของที่จำเลยปลูกทำลงไว้ การที่จำเลยกรีดยางดังกล่าวหาเป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1500/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยึดทรัพย์บังคับคดีและการครอบครองทำประโยชน์ในที่ดินที่ถูกยึด สิทธิของผู้ยึดและผู้ครอบครอง
เจ้าพนักงานบังคับคดียึดที่ดินรายพิพาทไว้เพื่อบังคับชำระหนี้ตามคำพิพากษาย่อมมีสิทธิยึดถือครอบครองจนกว่าจะบังคับคดีเสร็จสิ้นหรือมีการถอนการบังคับคดี ในระหว่างการยึดนั้นแม้ลูกหนี้ตามคำพิพากษาผู้เป็นเจ้าของก็ไม่อาจก่อให้เกิด โอน หรือเปลี่ยนแปลงซึ่งสิทธิในทรัพย์สินที่ถูกยึดไว้แล้ว ดังนั้น แม้จำเลยเข้าครอบครองที่ดินรายพิพาทก็ไม่อาจอ้างสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดอันจะเป็นเหตุให้ที่ดินรายพิพาทหลุดพ้นไปจากการบังคับคดี
จำเลยเข้าครอบครองปลูกยางพาราในที่ดินรายพิพาทโดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นทรัพย์สินที่เจ้าพนักงานบังคับคดียึดไว้เพื่อบังคับคดี ย่อมมิใช่เป็นการเพาะปลูกต้นไม้ในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1310 ประกอบกับมาตรา 1314 โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินมีเพียงสิทธิที่จะบังคับตามมาตรา 1311 ประกอบกับมาตรา 1314 เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า ต้นยางพาราที่จำเลยกรีดเป็นของที่จำเลยปลูกทำลงไว้ การที่จำเลยกรีดยางดังกล่าวหาเป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์ไม่
จำเลยเข้าครอบครองปลูกยางพาราในที่ดินรายพิพาทโดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นทรัพย์สินที่เจ้าพนักงานบังคับคดียึดไว้เพื่อบังคับคดี ย่อมมิใช่เป็นการเพาะปลูกต้นไม้ในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริตตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1310 ประกอบกับมาตรา 1314 โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินมีเพียงสิทธิที่จะบังคับตามมาตรา 1311 ประกอบกับมาตรา 1314 เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่า ต้นยางพาราที่จำเลยกรีดเป็นของที่จำเลยปลูกทำลงไว้ การที่จำเลยกรีดยางดังกล่าวหาเป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3240/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิภารจำยอม-ส่วนควบ-การซื้อขายโดยสุจริต กรณีสร้างบ้านในที่ดินของตนเอง
ปัญหาว่าโจทก์มีสิทธิฟ้องขอให้จดทะเบียนภารจำยอมที่พิพาทโดยอ้างเหตุเจ้าของรวมคนหนึ่งของสามยทรัพย์ได้ใช้สิทธิมาแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1396 ได้หรือไม่ โจทก์เพิ่งจะยกขึ้นอ้างในชั้นอุทธรณ์ฎีกาและมิใช่ปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
เจ้าของเดิมปลูกบ้านในที่ดินของตนเอง ต่อมาโจทก์อ้างว่าโจทก์รับโอนบ้านจำเลยรับโอนที่ดิน ดังนี้ กรณีจะ ปรับเข้ากับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1310 หาได้ไม่เพราะมาตรา 1310 เป็นเรื่องสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่น
บ้านเป็นส่วนควบของที่ดิน หากจำเลยซื้อที่ดินจากเจ้าของเดิมโดยสุจริตจำเลยย่อมได้บ้านไปด้วยตามหลักส่วนควบดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 107 วรรคสอง
ประเด็นเรื่องส่วนควบเป็นประเด็นที่ว่ากันมาแล้วตั้งแต่ศาลชั้นต้นและจำเลยได้ยกขึ้นต่อสู้ไว้ในชั้นอุทธรณ์ด้วยแล้ว แต่ศาลอุทธรณ์มิได้วินิจฉัยให้ จึงเป็นการไม่ชอบด้วยกระบวนพิจารณา แม้จำเลยจะมิได้ฎีกา ศาลฎีกาเห็นสมควรวินิจฉัยประเด็นข้อนี้เสียเองได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 243(1), 247 โดยไม่ต้องย้อนสำนวนให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาใหม่
เจ้าของเดิมปลูกบ้านในที่ดินของตนเอง ต่อมาโจทก์อ้างว่าโจทก์รับโอนบ้านจำเลยรับโอนที่ดิน ดังนี้ กรณีจะ ปรับเข้ากับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1310 หาได้ไม่เพราะมาตรา 1310 เป็นเรื่องสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่น
บ้านเป็นส่วนควบของที่ดิน หากจำเลยซื้อที่ดินจากเจ้าของเดิมโดยสุจริตจำเลยย่อมได้บ้านไปด้วยตามหลักส่วนควบดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 107 วรรคสอง
ประเด็นเรื่องส่วนควบเป็นประเด็นที่ว่ากันมาแล้วตั้งแต่ศาลชั้นต้นและจำเลยได้ยกขึ้นต่อสู้ไว้ในชั้นอุทธรณ์ด้วยแล้ว แต่ศาลอุทธรณ์มิได้วินิจฉัยให้ จึงเป็นการไม่ชอบด้วยกระบวนพิจารณา แม้จำเลยจะมิได้ฎีกา ศาลฎีกาเห็นสมควรวินิจฉัยประเด็นข้อนี้เสียเองได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 243(1), 247 โดยไม่ต้องย้อนสำนวนให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาใหม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3240/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิภารจำยอมและกรรมสิทธิ์ในส่วนควบ กรณีซื้อขายที่ดินและบ้านโดยไม่สุจริต
ปัญหาว่าโจทก์มีสิทธิฟ้องขอให้จดทะเบียนภารจำยอมที่พิพาทโดยอ้างเหตุเจ้าของรวมคนหนึ่งของสามยทรัพย์ได้ใช้สิทธิมาแล้วตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1396 ได้หรือไม่ โจทก์เพิ่งจะยกขึ้นอ้างในชั้นอุทธรณ์ฎีกาและมิใช่ปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัยให้
เจ้าของเดิมปลูกบ้านในที่ดินของตนเอง ต่อมาโจทก์อ้างว่าโจทก์รับโอนบ้านจำเลยรับโอนที่ดิน ดังนี้ กรณีจะปรับเข้ากับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1310 หาได้ไม่เพราะมาตรา 1310 เป็นเรื่องสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่น
บ้านเป็นส่วนควบของที่ดิน หากจำเลยซื้อที่ดินจากเจ้าของเดิมโดยสุจริตจำเลยย่อมได้บ้านไปด้วยตามหลักส่วนควบดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 107 วรรคสอง
ประเด็นเรื่องส่วนควบเป็นประเด็นที่ว่ากันมาแล้วตั้งแต่ศาลชั้นต้นและจำเลยได้ยกขึ้นต่อสู้ไว้ในชั้นอุทธรณ์ด้วยแล้ว แต่ศาลอุทธรณ์มิได้วินิจฉัยให้ จึงเป็นการไม่ชอบด้วยกระบวนพิจารณา แม้จำเลยจะมิได้ฎีกา ศาลฎีกาเห็นสมควรวินิจฉัยประเด็นข้อนี้เสียเองได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 243(1), 247 โดยไม่ต้องย้อนสำนวนให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาใหม่
เจ้าของเดิมปลูกบ้านในที่ดินของตนเอง ต่อมาโจทก์อ้างว่าโจทก์รับโอนบ้านจำเลยรับโอนที่ดิน ดังนี้ กรณีจะปรับเข้ากับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1310 หาได้ไม่เพราะมาตรา 1310 เป็นเรื่องสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่น
บ้านเป็นส่วนควบของที่ดิน หากจำเลยซื้อที่ดินจากเจ้าของเดิมโดยสุจริตจำเลยย่อมได้บ้านไปด้วยตามหลักส่วนควบดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 107 วรรคสอง
ประเด็นเรื่องส่วนควบเป็นประเด็นที่ว่ากันมาแล้วตั้งแต่ศาลชั้นต้นและจำเลยได้ยกขึ้นต่อสู้ไว้ในชั้นอุทธรณ์ด้วยแล้ว แต่ศาลอุทธรณ์มิได้วินิจฉัยให้ จึงเป็นการไม่ชอบด้วยกระบวนพิจารณา แม้จำเลยจะมิได้ฎีกา ศาลฎีกาเห็นสมควรวินิจฉัยประเด็นข้อนี้เสียเองได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 243(1), 247 โดยไม่ต้องย้อนสำนวนให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาใหม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2565/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างรุกล้ำที่ดินหลังแบ่งแยกกรรมสิทธิ์และสิทธิเรียกร้องค่าชดเชย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1310 และมาตรา 1312เป็นบทบัญญัติเรื่องที่ผู้สร้างมิได้รู้ว่า ที่ดินที่สร้างโรงเรือนหรือสร้างรุกล้ำนั้นเป็นที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริต จะนำมาใช้ในกรณีจำเลยสร้างโรงเรือนในที่ดินขณะยังเป็นกรรมสิทธิ์รวมระหว่างโจทก์จำเลยและบุคคลอื่นอยู่ หลังจากรังวัดแบ่งแยกที่ดินแล้วปรากฏว่า เรือนจำเลยปลูกสร้างอยู่ในที่ดินของโจทก์ไม่ได้ จำเลยต้องรื้อเรือนออกไป และไม่มีสิทธิฟ้องร้องว่ากล่าวเกี่ยวกับค่าแห่งที่ดินที่เพิ่มขึ้นเพราะการสร้างโรงเรือนของจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1612/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรุกล้ำที่ดินโดยสุจริตของผู้รับโอน สิทธิเรียกร้องค่าที่ดิน มิใช่การรื้อถอน
เจ้าของเดิมได้ปลูกสร้างตึกแถวเลขที่ 40, 41 และ 42 ลงบนที่ดิน 2 แปลงของตนคือที่ดินโฉนดที่ 811 และ ที่ 237 ปรากฏว่าตึกแถวเลขที่ 41 ได้ปลูกล้ำเข้าไปในที่ดินโฉนดที่ 811 ต่อมาที่ดินโฉนดที่ 811 พร้อมตึกแถวได้ตกเป็นของโจทก์ส่วนที่ดินโฉนดที่ 237 พร้อมทั้งตึกแถวได้ตกเป็นของจำเลยกรณีนี้ ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้โดยเฉพาะต้องนำบทกฎหมายที่ใกล้เคียงมาใช้บังคับคือประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1312 การที่ตึกแถวเลขที่ 41 ปลูกล้ำเข้าไปในโฉนดที่ 811 ของโจทก์นั้น เจ้าของเดิมเป็นผู้ปลูกหาใช่จำเลยไม่โจทก์จำเลยต่างรับโอนที่ดินและตึกแถวมาอีกทอดหนึ่งถือได้ว่าการรุกล้ำดังกล่าวเป็นมาโดยสุจริต จะให้จำเลยรื้อถอนไปหาชอบด้วยความยุติธรรมไม่และจะนำมาตรา 1310 มาปรับกับกรณีนี้ก็ไม่ได้ เพราะมาตรา 1310 เป็นบทบัญญัติกรณีที่ปลูกสร้างโรงเรือนลงในที่ดินผู้อื่นทั้งหลัง มิใช่ปลูกสร้างรุกล้ำเข้าไปในที่ดินผู้อื่นเพียงบางส่วนเช่นกรณีนี้โจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องบังคับให้จำเลยรื้อถอนฝาห้องเลขที่ 41 ออกไปจากที่ดินโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1612/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรุกล้ำที่ดินโดยสุจริต โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องรื้อถอน แต่มีสิทธิเรียกค่าที่ดิน
เจ้าของเดิมได้ปลูกสร้างตึกแถวเลขที่ 40,41 และ 42ลงบนที่ดิน2 แปลงของตนคือที่ดินโฉนดที่ 811 และที่237ปรากฏว่าตึกแถวเลขที่ 41 ได้ปลูกล้ำเข้าไปในที่ดินโฉนดที่ 811ต่อมาที่ดินโฉนดที่ 811 พร้อมตึกแถวได้ตกเป็นของโจทก์ส่วนที่ดินโฉนดที่ 237 พร้อมทั้งตึกแถวได้ตกเป็นของจำเลยกรณีนี้ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้โดยเฉพาะต้องนำบทกฎหมายที่ใกล้เคียงมาใช้บังคับคือประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1312การที่ตึกแถวเลขที่41 ปลูกล้ำเข้าไปในโฉนดที่ 811 ของโจทก์นั้นเจ้าของเดิมเป็นผู้ปลูกหาใช่จำเลยไม่โจทก์จำเลยต่างรับโอนที่ดินและตึกแถวมาอีกทอดหนึ่งถือได้ว่าการรุกล้ำดังกล่าวเป็นมาโดยสุจริตจะให้จำเลยรื้อถอนไปหาชอบด้วยความยุติธรรมไม่และจะนำมาตรา1310 มาปรับกับกรณีนี้ก็ไม่ได้ เพราะมาตรา 1310 เป็นบทบัญญัติกรณีที่ปลูกสร้างโรงเรือนลงในที่ดินผู้อื่นทั้งหลัง มิใช่ปลูกสร้างรุกล้ำเข้าไปในที่ดินผู้อื่นเพียงบางส่วนเช่นกรณีนี้โจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องบังคับให้จำเลยรื้อถอนฝาห้องเลขที่ 41 ออกไปจากที่ดินโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 283-284/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ในเรือนพิพาทแยกจากกรรมสิทธิ์ในที่ดิน จำเลยไม่มีสิทธิภารจำยอมเมื่อซื้อเฉพาะเรือน
ที่ดินของโจทก์ทั้งสองเดิมเป็นของนาง ส.นางส.เป็นผู้ปลูกเรือนพิพาทขึ้นบนที่ดิน. ต่อมานาง ส.ขายเฉพาะตัวเรือนพิพาทให้จำเลย จากนั้นจึงแบ่งแยกที่ดินแปลงใหญ่ออกเป็นแปลงเล็กหลายแปลง และนางส.ได้แบ่งขายที่ดินให้โจทก์ทั้งสองคนละแปลง ที่ดินที่แบ่งขายให้โจทก์ทั้งสองนี้มีเรือนพิพาทปลูกรุกล้ำคร่อมอยู่ โดยจำเลยไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่ติดต่อกับโจทก์ทั้งสองเลย ดังนี้ เป็นเรื่องจำเลยซื้อเรือนพิพาทซึ่งเจ้าของที่ดินเดิมปลูกไว้ แม้การซื้อขายจะทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ถูกต้อง จำเลยก็ได้กรรมสิทธิ์เฉพาะตัวเรือนพิพาทเท่านั้น ไม่มีสิทธิในที่ดินปลูกเรือน จำเลยซึ่งเป็นเจ้าของเรือนพิพาทจึงไม่มีสิทธิฟ้องให้โจทก์จดทะเบียนสิทธิเป็นภารจำยอม เมื่อเจ้าของเดิมขายที่ดินซึ่งปลูกเรือนพิพาทให้โจทก์ทั้งสอง และโจทก์ทั้งสองไม่ประสงค์จะให้จำเลยอยู่อาศัยต่อไป จำเลยก็ไม่มีสิทธิเหนือพื้นดินที่จะอยู่ต่อไปได้