พบผลลัพธ์ทั้งหมด 259 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 602/2502
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษยักยอกทรัพย์: เกณฑ์อัตราโทษขั้นต่ำและบทแก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 176
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 176 เดิมบัญญัติถึงกรณีที่จะต้องสืบพยานประกอบคำรับสารภาพของจำเลยให้ถือเกณฑ์อัตราโทษจำคุกอย่างสูงตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไปแต่ที่แก้ไขใหม่ได้เปลี่ยนหลักเดิมเป็นถือเกณฑ์อัตราโทษอย่างต่ำจำคุกตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป หรือโทษสถานที่หนักกว่านั้นแม้ตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 131 ที่แก้ไข มีโทษขั้นสูงจำคุกตลอดชีวิต หรือ 20 ปีแต่ก็มีอัตราโทษอย่างต่ำจำคุกตั้งแต่ 1 ปี ขึ้นไปเมื่อจำเลยรับสารภาพก็ไม่ต้องสืบพยานประกอบ
โจทก์ฟ้องและอ้างประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2499 ย่อมเป็นที่เข้าใจได้ว่าหมายความถึงประมวลกฎหมายอาญาซึ่งประกาศใช้โดย พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2499 นั่นเอง
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 เป็นคุณแก่ผู้กระทำผิดกว่ากฎหมายลักษณะอาญา มาตรา131 ที่แก้ไข (เฉพาะข้อนี้โดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 4/2502 ควรเทียบดูกับฎีกาที่ 1292/2500 ซึ่งวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ และฎีกาที่1814/2500)
โจทก์ฟ้องและอ้างประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2499 ย่อมเป็นที่เข้าใจได้ว่าหมายความถึงประมวลกฎหมายอาญาซึ่งประกาศใช้โดย พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2499 นั่นเอง
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 เป็นคุณแก่ผู้กระทำผิดกว่ากฎหมายลักษณะอาญา มาตรา131 ที่แก้ไข (เฉพาะข้อนี้โดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 4/2502 ควรเทียบดูกับฎีกาที่ 1292/2500 ซึ่งวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ และฎีกาที่1814/2500)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 602/2502 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาโทษยักยอกทรัพย์: เกณฑ์อัตราโทษต่ำสุด 5 ปีตาม ป.วิ.อ. และการใช้บทบัญญัติที่กฎหมายอาญา
ป.วิ.อ. มาตรา 176 เดิมบัญญัติถึงกรณีที่จะต้องสืบพยานประกอบคำรับสารภาพของจำเลยให้ถือเกณฑ์อัตราโทษจำคุกอย่างสูงตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป แต่ที่แก้ไขใหม่ได้เปลี่ยนหลักเดิมเป็นถือเกณฑ์อัตราโทษอย่างต่ำจำคุกตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป หรือโทษสถานที่หนักกว่านั้น แม้ตามกฎหมายลักษณะอาญา ม. 131 ที่แก้ไข มีโทษขั้นสูงจำคุกตลอดชีวิตหรือ 20 ปี แต่ก็มีอัตราโทษอย่างต่ำจำคุกตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป เมื่อจำเลยรับสารภาพก็ไม่ต้องสืบพยานประกอบ
โจทก์ฟ้องและอ้างประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 ย่อมเป็นที่เข้าใจได้ว่าหมายความถึงประมวลกฎหมายอาญาซึ่งประกาศใช้โดย พ.ร.บ. ให้ใช้ประมวลกฎหมาย อาญา พ.ศ. 2499 นั่นเอง
ประมวลกฎหมายอาญา ม. 147 เป็นคุณแก่ผู้กระทำผิดกว่ากฎหมายลักษณะอาญา ม. 131 ที่แก้ไข (เฉพาะข้อนี้โดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 4/2502 ควรเทียบดูกับฎีกาที่ 1292/2500 ซึ่งวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่และฎีกาที่ 1814/2500)
โจทก์ฟ้องและอ้างประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 ย่อมเป็นที่เข้าใจได้ว่าหมายความถึงประมวลกฎหมายอาญาซึ่งประกาศใช้โดย พ.ร.บ. ให้ใช้ประมวลกฎหมาย อาญา พ.ศ. 2499 นั่นเอง
ประมวลกฎหมายอาญา ม. 147 เป็นคุณแก่ผู้กระทำผิดกว่ากฎหมายลักษณะอาญา ม. 131 ที่แก้ไข (เฉพาะข้อนี้โดยที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 4/2502 ควรเทียบดูกับฎีกาที่ 1292/2500 ซึ่งวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่และฎีกาที่ 1814/2500)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 707/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
รวมกระทงลงโทษ – มาตรา 3(1) ประมวลกฎหมายอาญา – ไม่หนักกว่ากฎหมายเดิม
ศาลรวมกระทงลงโทษจำคุกจำเลย 15 ปีตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา 131 และ 230 มิใช่ลงโทษตามบทที่หนัก โทษที่กำหนดตามคำพิพากษาในกรณีนี้จึงไม่หนักกว่าโทษที่กำหนดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 และ 162 ซึ่งเป็นกฎหมายที่บัญญัติในภายหลังตามความหมายของประมวลกฎหมายอาญา มาตรา3(1) ไม่เป็นกรณีที่ศาลจะต้องกำหนดโทษเสียใหม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1397-1398/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์, ปลอมแปลงเอกสาร, ฟ้องเคลือบคลุม: การพิจารณาความผิดและขอบเขตการฟ้องร้อง
บุคคลที่นายอำเภอท้องที่แต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าชลประทานตามพ.ร.บ. การชลประทานราษฎร์ ย่อมเป็นเจ้าพนักงานตามกฏหมาย
จำเลยเป็นผู้แทนราษฎร กฏหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2492 ม. 80 ห้ามมิให้รับตำแหน่งหรือหน้าที่จากรัฐโดยมีประโยชน์ตอบแทน จำเลยได้รับแต่งตั้งจากนายอำเภอให้เป็นหัวหน้าการชลประทานราษฎร แต่ไม่ปรากฏว่าเป็นตำแหน่งที่ได้รับประโยชน์ตอบแทน เช่นนี้จึงไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ถือว่าจำเลยเป็นเจ้าพนักงานโดยชอบด้วยกฏหมาย
การที่โจทก์บรรยายในฟ้องว่า เมื่อระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน 2493 ถึงวันที่ 17 ตุลาคม 2493 จำเลยเบิกเงินคลังไป 3 งวด 100,000 บาท ครั้นระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน 2493 ถึง 2 ธันวาคม 2493 เวลากลางวันและกลางคืนจำเลยบังอาจสมคบกันกระทำหลักฐานเท็จและปลอมหนังสือหลายครั้ง โดยทำใบสำคัญจ่ายเงินค่าซ่อมฝายปลอมหลายฉบับ เป็นเงิน 65,744 บาท แสดงต่อกรมชลประทาน ซึ่งความจริงจำเลยหาได้จ่ายเงินไปตามใบสำคัญเหล่านั้นไม่ จำเลยกลับบังอาจมีเจตนาทุจริตคิดยักยอกเงิน 65,744 บาท และต่อไปก็บรรยายถึง วันเดือนปีใบสำคัญที่จำเลยทำทุจริตทุกฉบับเป็นข้อ ๆ เช่นนี้ไม่เป็นการเคลือบคลุม
อนึ่ง การที่โจทก์บรรยายฟ้องว่าระหว่างวัน.....ถึงวัน....... จำเลยไดบังอาจยักยอกสิ่งของ แต่วันต้นของฟ้องเป็นวันที่จำเลยยังไม่ได้รับมอบสิ่งของที่ถูกหายักยอก เพราะความพลั้งเผลอ แต่โจทก์มีพยานสืบว่าจำเลยได้รับของในระหว่างวันในฟ้องนั้น และจำเลยยักยอกไประหว่างนั้น เช่นนี้ยังไม่เป็นการฟ้องเคลือบคลุม.
จำเลยเป็นผู้แทนราษฎร กฏหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2492 ม. 80 ห้ามมิให้รับตำแหน่งหรือหน้าที่จากรัฐโดยมีประโยชน์ตอบแทน จำเลยได้รับแต่งตั้งจากนายอำเภอให้เป็นหัวหน้าการชลประทานราษฎร แต่ไม่ปรากฏว่าเป็นตำแหน่งที่ได้รับประโยชน์ตอบแทน เช่นนี้จึงไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ถือว่าจำเลยเป็นเจ้าพนักงานโดยชอบด้วยกฏหมาย
การที่โจทก์บรรยายในฟ้องว่า เมื่อระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน 2493 ถึงวันที่ 17 ตุลาคม 2493 จำเลยเบิกเงินคลังไป 3 งวด 100,000 บาท ครั้นระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน 2493 ถึง 2 ธันวาคม 2493 เวลากลางวันและกลางคืนจำเลยบังอาจสมคบกันกระทำหลักฐานเท็จและปลอมหนังสือหลายครั้ง โดยทำใบสำคัญจ่ายเงินค่าซ่อมฝายปลอมหลายฉบับ เป็นเงิน 65,744 บาท แสดงต่อกรมชลประทาน ซึ่งความจริงจำเลยหาได้จ่ายเงินไปตามใบสำคัญเหล่านั้นไม่ จำเลยกลับบังอาจมีเจตนาทุจริตคิดยักยอกเงิน 65,744 บาท และต่อไปก็บรรยายถึง วันเดือนปีใบสำคัญที่จำเลยทำทุจริตทุกฉบับเป็นข้อ ๆ เช่นนี้ไม่เป็นการเคลือบคลุม
อนึ่ง การที่โจทก์บรรยายฟ้องว่าระหว่างวัน.....ถึงวัน....... จำเลยไดบังอาจยักยอกสิ่งของ แต่วันต้นของฟ้องเป็นวันที่จำเลยยังไม่ได้รับมอบสิ่งของที่ถูกหายักยอก เพราะความพลั้งเผลอ แต่โจทก์มีพยานสืบว่าจำเลยได้รับของในระหว่างวันในฟ้องนั้น และจำเลยยักยอกไประหว่างนั้น เช่นนี้ยังไม่เป็นการฟ้องเคลือบคลุม.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1397-1398/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ – การฟ้องเคลือบคลุม – การแต่งตั้งตำแหน่งโดยไม่มีประโยชน์ตอบแทน
บุคคลที่นายอำเภอท้องที่แต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าชลประทานตามพระราชบัญญัติการชลประทานราษฎร์ ย่อมเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมาย
จำเลยเป็นผู้แทนราษฎร กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ.2492 มาตรา 80 ห้ามมิให้รับตำแหน่งหรือหน้าที่ใดๆจากรัฐโดยมีประโยชน์ตอบแทน จำเลยได้รับแต่งตั้งจากนายอำเภอให้เป็นหัวหน้าการชลประทานราษฎร์ แต่ไม่ปรากฏว่าเป็นตำแหน่งที่ได้รับประโยชน์ตอบแทน เช่นนี้จึงไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ถือว่าจำเลยเป็นเจ้าพนักงานโดยชอบด้วยกฎหมาย
การที่โจทก์บรรยายในฟ้องว่า เมื่อระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน 2493 ถึงวันที่ 17 ตุลาคม 2493 จำเลยเบิกเงินคลังไป3 งวด 100,000 บาท ครั้นระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน 2493. ถึง 2 ธันวาคม 2493 เวลากลางวันและกลางคืนจำเลยบังอาจสมคบกันกระทำหลักฐานเท็จและปลอมหนังสือหลายครั้ง โดยทำใบสำคัญจ่ายเงินค่าซ่อมฝายปลอมหลายฉบับ เป็นเงิน 65,744 บาท แสดงต่อกรมชลประทาน ซึ่งความจริงจำเลยหาได้จ่ายเงินไปตามใบสำคัญเหล่านั้นไม่ จำเลยกลับบังอาจมีเจตนาทุจริตคิดยักยอกเงิน 65,744 บาท และต่อไปก็บรรยายถึง วันเดือนปีใบสำคัญที่จำเลยทำทุจริตทุกฉบับเป็นข้อๆ เช่นนี้ไม่เป็นการเคลือบคลุม
อนึ่ง การที่โจทก์บรรยายฟ้องว่าระหว่างวัน....ถึงวัน..... จำเลยได้บังอาจยักยอกสิ่งของ แต่วันต้นของฟ้องเป็นวันที่จำเลยยังไม่ได้รับมอบสิ่งของที่ถูกหายักยอก เพราะความพลั้งเผลอ แต่โจทก์มีพยานสืบว่าจำเลยได้รับของในระหว่างวันในฟ้องนั้น และจำเลยยักยอกไประหว่างนั้น เช่นนี้ยังไม่เป็นการฟ้องเคลือบคลุม
จำเลยเป็นผู้แทนราษฎร กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพ.ศ.2492 มาตรา 80 ห้ามมิให้รับตำแหน่งหรือหน้าที่ใดๆจากรัฐโดยมีประโยชน์ตอบแทน จำเลยได้รับแต่งตั้งจากนายอำเภอให้เป็นหัวหน้าการชลประทานราษฎร์ แต่ไม่ปรากฏว่าเป็นตำแหน่งที่ได้รับประโยชน์ตอบแทน เช่นนี้จึงไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ถือว่าจำเลยเป็นเจ้าพนักงานโดยชอบด้วยกฎหมาย
การที่โจทก์บรรยายในฟ้องว่า เมื่อระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน 2493 ถึงวันที่ 17 ตุลาคม 2493 จำเลยเบิกเงินคลังไป3 งวด 100,000 บาท ครั้นระหว่างวันที่ 15 มิถุนายน 2493. ถึง 2 ธันวาคม 2493 เวลากลางวันและกลางคืนจำเลยบังอาจสมคบกันกระทำหลักฐานเท็จและปลอมหนังสือหลายครั้ง โดยทำใบสำคัญจ่ายเงินค่าซ่อมฝายปลอมหลายฉบับ เป็นเงิน 65,744 บาท แสดงต่อกรมชลประทาน ซึ่งความจริงจำเลยหาได้จ่ายเงินไปตามใบสำคัญเหล่านั้นไม่ จำเลยกลับบังอาจมีเจตนาทุจริตคิดยักยอกเงิน 65,744 บาท และต่อไปก็บรรยายถึง วันเดือนปีใบสำคัญที่จำเลยทำทุจริตทุกฉบับเป็นข้อๆ เช่นนี้ไม่เป็นการเคลือบคลุม
อนึ่ง การที่โจทก์บรรยายฟ้องว่าระหว่างวัน....ถึงวัน..... จำเลยได้บังอาจยักยอกสิ่งของ แต่วันต้นของฟ้องเป็นวันที่จำเลยยังไม่ได้รับมอบสิ่งของที่ถูกหายักยอก เพราะความพลั้งเผลอ แต่โจทก์มีพยานสืบว่าจำเลยได้รับของในระหว่างวันในฟ้องนั้น และจำเลยยักยอกไประหว่างนั้น เช่นนี้ยังไม่เป็นการฟ้องเคลือบคลุม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1267/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานยักยอกเงินราชการ และการวินิจฉัยหลักฐานการปลอมแปลงเอกสาร
เงินราชการที่เบิกมาเพื่อจ่ายแก่ผู้ใด แต่ยังไม่จ่ายนั้น ไม่ถือว่าเป็นเงินของผู้ที่จะได้รับเงิน ดั่งนั้น เจ้าพนักงานผู้ใดยักยอกเงินนั้น จึงมีผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานยักยอกเงินของทางราชการ ไม่ใช่ความผิดต่อส่วนตัว
การฟังว่าจำเลยปลอมเอกสารโดยไม่มีพยานมาแสดงให้ชัดว่าจำเลยปลอม เพียงแต่ศาลนำเอกสารที่กล่าวหามาเทียบเคียงกับเอกสารฉบับอื่นแล้วลงความเห็นว่าเหมือนกับลายมือของจำเลยนั้น ไม่ชอบด้วยการวินิจฉัยหลักฐานคำพยาน
การฟังว่าจำเลยปลอมเอกสารโดยไม่มีพยานมาแสดงให้ชัดว่าจำเลยปลอม เพียงแต่ศาลนำเอกสารที่กล่าวหามาเทียบเคียงกับเอกสารฉบับอื่นแล้วลงความเห็นว่าเหมือนกับลายมือของจำเลยนั้น ไม่ชอบด้วยการวินิจฉัยหลักฐานคำพยาน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1267/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าพนักงานยักยอกเงินราชการ และการวินิจฉัยหลักฐานการปลอมเอกสาร
เงินราชการที่เบิกมาเพื่อจ่ายแก่ผู้ใด แต่ยังไม่จ่ายนั้น ไม่ถือว่าเป็นเงินของผู้ที่จะได้รับเงิน ดั่งนั้น เจ้าพนักงานผู้ใดยักยอกเงินนั้น จึงมีผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานยักยอกเงินของทางราชการ ไม่ใช่ความผิดต่อส่วนตัว
การฟังว่าจำเลยปลอมเอกสารโดยไม่มีพยานมาแสดงให้ชัดว่าจำเลยปลอม เพียงแต่ศาลนำเอกสารที่กล่าวหามาเทียบเคียงกับเอกสารฉบับอื่นแล้วลงความเห็นว่าเหมือนกับลายมือของจำเลยนั้น ไม่ชอบด้วยการวินิจฉัยหลักฐานคำพยาน
การฟังว่าจำเลยปลอมเอกสารโดยไม่มีพยานมาแสดงให้ชัดว่าจำเลยปลอม เพียงแต่ศาลนำเอกสารที่กล่าวหามาเทียบเคียงกับเอกสารฉบับอื่นแล้วลงความเห็นว่าเหมือนกับลายมือของจำเลยนั้น ไม่ชอบด้วยการวินิจฉัยหลักฐานคำพยาน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1753/2498 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิฟ้องคดีอาญา: ผู้เสียหายต้องมีความเสียหายโดยตรงจากการกระทำของจำเลย มิใช่เพียงความเสียหายต่อกระบวนการยุติธรรม
ฟ้องโจทก์กล่าวว่าจำเลยที่ 1 ถูกบังคับให้มาเบิกความเป็นพยานในคดีที่โ่จทก์ถูกฟ้อง เป็นคดีอาญาเรื่องหนึ่ง แต่จำเลยทั้ง 3 สมคบกันทำรายงานแพทย์เท็จว่าจำเลยที่ 1 ป่วยเป็นโรคบิดท้องร่วงอย่างแรง และจำเลยที่ 1 ทำหนังสือร้องเรียนศาลว่าตนป่วยเป็นโรคท้องร่วงอย่างแรงให้จำเลยที่ 3 นำหนังสือของจำเลยที่ 1 และรายงานแพทย์มาแสดงต่อศาล ฝ่ายจำเลยที่ 3 นำความรู้ว่าเป็นเท็จไปร้องเรียนต่อศาลว่าจำเลยที่ 1 ป่วยอยู่ ณ สถานที่แห่งหนึ่ง ซึ่งศาลพร้อมด้วยแพทย์จะไปตรวจพิสูจน์จำเลยที่ 3 กลับนำศาลไปตรวจยังสถานที่อีกแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นสถานที่คนละแห่งกับที่จำเลยที่ 3 แถลงไว้กับทั้งปรากฎว่าจำเลยที่ 1 หาได้ป่วยและอยู่ที่บ้านหลังนั้นไม่อันเป็นการประวิงคดีและเจตนาให้โจทก์ถูกถอนประกันทำให้โจทก์และสาธารณชนเสียหาย ตามฟ้องของโจทก์ดังกล่าวนี้เห็นได้ว่าการกระทำของจำเลยเป็นเรื่องเกี่ยวกับส่วนตัวของจำเลยเองทั้งสิ้นมิได้มีสิ่งหนึ่งประการใดที่กล่าวอ้างหรือเกี่ยวพันถึงตัวโจทก์เลย แม้คำร้องเรียนของจำเลยจะเป็นความเท็จ โจทก์ในฐานะที่เป็นคู่ความมีสิทธิที่จะร้องต่อศาลซึ่งพิจารณาคดีเรื่องนั้นเพื่อขอให้จัดการกับพยานได้ตามวิธีพิจารณาเท่านั้นเพราะเป็นเรื่องอยู่ในดุลยพินิจของศาลที่จะจัดการได้เองตลอดจนการที่จะให้เลื่อนสืบพยานคนนั้นหรือไม่ประการใด เมื่อศาลสั่งอนุญาตให้เลื่อนการพิจารณาต่อไปก็เป็นเรื่องของศาล โจทก์จะนำคดีมาฟ้องร้องดังเช่นคดีเรื่องนี้ไม่ได้ เพราะแม้เรื่องจะเป็นจริงตามโจทก์กล่าว จำเลยก็กระทำผิดต่อศาลโจทก์ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรงจากการกระทำของจำเลย จึงไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยได้