พบผลลัพธ์ทั้งหมด 53 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5689/2545 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถอนคำร้องทุกข์หลังคดีถึงที่สุด และการเพิกถอนการอ่านคำพิพากษาลับหลัง จำเป็นต้องไต่สวนก่อน
การขอถอนคำร้องทุกข์ที่จะทำให้สิทธินำคดีอาญามาฟ้องระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39 (2) นั้น ต้องถอนคำร้องทุกข์ก่อนคดีถึงที่สุด
จำเลยยื่นคำร้องอ้างว่าศาลชั้นต้นอ่านคำพิพากษาลับหสังจำเลยเป็นการไม่ชอบ เพราะการส่งหมายแจ้งวันนัดไม่ชอบด้วยกฎหมาย ขอให้เพิกถอนการอ่านคำพิพากษา ศาลชั้นต้นชอบที่จะทำการไต่สวนคำร้องก่อนว่าเป็นจริงตามที่จำเลยกล่าวอ้างหรือไม่ การที่ศาลชั้นต้นสั่งให้จำเลยทำเป็นคำฟ้องอุทธรณ์โดยอนุญาตให้ขยายระยะเวลาอุทธรณ์จึงเป็นการไม่ชอบ เมื่อจำเลยยื่นอุทธรณ์ศาลอุทธรณ์ชอบที่จะมีคำสั่งให้ศาลชั้นต้นทำการไต่สวนและมีคำสั่งว่าการอ่านคำพิพากษาของศาลชั้นต้นชอบหรือไม่เสียก่อน โดยไม่จำต้องวินิจฉัยอุทธรณ์ของจำเลย การที่ศาลอุทธรณ์มิได้มีคำสั่งดังกล่าวจึงเป็นการไม่ชอบเช่นกัน ปัญหานี้เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย ศาลฎีกามีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยได้
จำเลยยื่นคำร้องอ้างว่าศาลชั้นต้นอ่านคำพิพากษาลับหสังจำเลยเป็นการไม่ชอบ เพราะการส่งหมายแจ้งวันนัดไม่ชอบด้วยกฎหมาย ขอให้เพิกถอนการอ่านคำพิพากษา ศาลชั้นต้นชอบที่จะทำการไต่สวนคำร้องก่อนว่าเป็นจริงตามที่จำเลยกล่าวอ้างหรือไม่ การที่ศาลชั้นต้นสั่งให้จำเลยทำเป็นคำฟ้องอุทธรณ์โดยอนุญาตให้ขยายระยะเวลาอุทธรณ์จึงเป็นการไม่ชอบ เมื่อจำเลยยื่นอุทธรณ์ศาลอุทธรณ์ชอบที่จะมีคำสั่งให้ศาลชั้นต้นทำการไต่สวนและมีคำสั่งว่าการอ่านคำพิพากษาของศาลชั้นต้นชอบหรือไม่เสียก่อน โดยไม่จำต้องวินิจฉัยอุทธรณ์ของจำเลย การที่ศาลอุทธรณ์มิได้มีคำสั่งดังกล่าวจึงเป็นการไม่ชอบเช่นกัน ปัญหานี้เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย ศาลฎีกามีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1505/2542 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถอนคำร้องทุกข์ของผู้เสียหายทำให้สิทธิในการฟ้องคดีอาญาของโจทก์ระงับ
การถอนคำร้องทุกข์เป็นสิทธิของผู้เสียหายเมื่อได้ถอนคำร้องทุกข์แล้ว สิทธิที่ผู้เสียหายหรือพนักงานอัยการ ที่จะนำความผิดอันยอมความได้นั้นมาฟ้องผู้กระทำผิด ย่อมเป็นอันระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39(2) ผู้เสียหายจะถอนคำร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนหรือ ต่อพนักงานอัยการหรือต่อศาลก็ได้ แม้ขณะคดีจะอยู่ในระหว่าง การพิจารณาของศาลก็ไม่มีบทบัญญัติกฎหมายใดกำหนดให้ผู้เสียหาย ต้องถอนคำร้องทุกข์ต่อศาลเท่านั้น เมื่อได้ความว่าพนักงานอัยการที่เป็นโจทก์ได้รับคำร้อง ขอถอนคำร้องทุกข์ของผู้เสียหายโดยชอบแล้ว สิทธิในการนำคดีนี้ ของโจทก์มาฟ้องจำเลยย่อมเป็นอันระงับไป เมื่อโจทก์ แถลงยืนยันต่อศาลในวันนัดสืบพยานโจทก์ว่าผู้เสียหาย ได้ถอนคำร้องทุกข์ต่อโจทก์แล้ว ก็ชอบที่ศาลจะสั่งจำหน่ายคดีได้โดยศาลไม่จำต้องสอบถามผู้เสียหายที่ไม่ได้มาศาลอีกเพราะผู้เสียหายไม่ได้ขอถอนคำร้องทุกข์ต่อศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1505/2542
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถอนคำร้องทุกข์ของผู้เสียหายทำให้สิทธิในการฟ้องอาญาของโจทก์ระงับ แม้ถอนต่อพนักงานสอบสวนหรืออัยการ
การถอนคำร้องทุกข์เป็นสิทธิของผู้เสียหายเมื่อได้ถอนคำร้องทุกข์แล้ว สิทธิที่ผู้เสียหายหรือพนักงานอัยการที่จะนำความผิดอันยอมความได้นั้นมาฟ้องผู้กระทำผิดย่อมเป็นอันระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39(2) ผู้เสียหายจะถอนคำร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนหรือต่อพนักงานอัยการหรือต่อศาลก็ได้ แม้ขณะคดีจะอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาล ก็ไม่มีบทบัญญัติกฎหมายใดกำหนดให้ผู้เสียหายต้องถอนคำร้องทุกข์ต่อศาลเท่านั้น เมื่อได้ความว่าพนักงานอัยการที่เป็นโจทก์ได้รับคำร้องขอถอนคำร้องทุกข์ของผู้เสียหายโดยชอบแล้ว สิทธิในการนำคดีนี้ของโจทก์มาฟ้องจำเลยย่อมเป็นอันระงับไปเมื่อโจทก์แถลงยืนยันต่อศาลในวันนัดสืบพยานโจทก์ว่าผู้เสียหายได้ถอนคำร้องทุกข์ต่อโจทก์แล้ว ก็ชอบที่ศาลจะสั่งจำหน่ายคดีโดยไม่จำต้องสอบถามผู้เสียหายที่ไม่ได้มาศาลอีกเพราะผู้เสียหายไม่ได้ขอถอนคำร้องทุกข์ต่อศาล การที่ศาลชั้นต้นยังคงดำเนินคดีต่อไปจึงเป็นการไม่ชอบ ศาลฎีกาย่อมพิพากษายกคำพิพากษาศาลล่างและให้จำหน่ายคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1505/2542 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถอนคำร้องทุกข์ของผู้เสียหายทำให้สิทธิในการฟ้องอาญาของโจทก์ระงับ แม้ถอนต่อพนักงานสอบสวน/อัยการ
การถอนคำร้องทุกข์เป็นสิทธิของผู้เสียหาย เมื่อได้ถอนคำร้องทุกข์แล้ว สิทธิที่ผู้เสียหายหรือพนักงานอัยการที่จะนำความผิดอันยอมความได้นั้นมาฟ้องผู้กระทำผิดย่อมเป็นอันระงับไปตาม ป.วิ.อ.มาตรา 39 (2)
ผู้เสียหายจะถอนคำร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนหรือต่อพนักงานอัยการหรือต่อศาลก็ได้ แม้ขณะคดีจะอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาล ก็ไม่มีบทบัญญัติกฎหมายใดกำหนดให้ผู้เสียหายต้องถอนคำร้องทุกข์ต่อศาลเท่านั้น
เมื่อได้ความว่าพนักงานอัยการที่เป็นโจทก์ได้รับคำร้องขอถอนคำร้องทุกข์ของผู้เสียหายโดยชอบแล้ว สิทธิในการนำคดีนี้ของโจทก์มาฟ้องจำเลยย่อมเป็นอันระงับไป เมื่อโจทก์แถลงยืนยันต่อศาลในวันนัดสืบพยานโจทก์ว่าผู้เสียหายได้ถอนคำร้องทุกข์ต่อโจทก์แล้ว ก็ชอบที่ศาลจะสั่งจำหน่ายคดีโดยไม่จำต้องสอบถามผู้เสียหายที่ไม่ได้มาศาลอีก เพราะผู้เสียหายไม่ได้ขอถอนคำร้องทุกข์ต่อศาล การที่ศาลชั้นต้นยังคงดำเนินคดีต่อไปจึงเป็นการไม่ชอบ ศาลฎีกาย่อมพิพากษายกคำพิพากษาศาลล่างและให้จำหน่ายคดี
ผู้เสียหายจะถอนคำร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนหรือต่อพนักงานอัยการหรือต่อศาลก็ได้ แม้ขณะคดีจะอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาล ก็ไม่มีบทบัญญัติกฎหมายใดกำหนดให้ผู้เสียหายต้องถอนคำร้องทุกข์ต่อศาลเท่านั้น
เมื่อได้ความว่าพนักงานอัยการที่เป็นโจทก์ได้รับคำร้องขอถอนคำร้องทุกข์ของผู้เสียหายโดยชอบแล้ว สิทธิในการนำคดีนี้ของโจทก์มาฟ้องจำเลยย่อมเป็นอันระงับไป เมื่อโจทก์แถลงยืนยันต่อศาลในวันนัดสืบพยานโจทก์ว่าผู้เสียหายได้ถอนคำร้องทุกข์ต่อโจทก์แล้ว ก็ชอบที่ศาลจะสั่งจำหน่ายคดีโดยไม่จำต้องสอบถามผู้เสียหายที่ไม่ได้มาศาลอีก เพราะผู้เสียหายไม่ได้ขอถอนคำร้องทุกข์ต่อศาล การที่ศาลชั้นต้นยังคงดำเนินคดีต่อไปจึงเป็นการไม่ชอบ ศาลฎีกาย่อมพิพากษายกคำพิพากษาศาลล่างและให้จำหน่ายคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1505/2542 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถอนคำร้องทุกข์ของผู้เสียหายเป็นเหตุให้ระงับสิทธิการฟ้องคดีอาญาได้ แม้จะอยู่ในระหว่างการพิจารณาคดี
การขอถอนคำร้องทุกข์นั้น ผู้เสียหายจะถอนต่อพนักงานสอบสวนหรือต่อพนักงานอัยการหรือต่อศาลก็ได้แม้ขณะคดีจะอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลก็ตามเมื่อปรากฏว่า พนักงานอัยการโจทก์ได้รับคำร้องขอถอนคำร้องทุกข์ของผู้เสียหายโดยชอบแล้วสิทธิในการนำคดีของโจทก์มาฟ้องจำเลยย่อมเป็นอันระงับไป การที่โจทก์แถลงยืนยันต่อศาลในวันนัดสืบพยานโจทก์ว่าผู้เสียหายได้ถอนคำร้องทุกข์ ต่อโจทก์แล้วเช่นนี้ ศาลก็ชอบที่จะสั่งจำหน่ายคดี โดยไม่จำเป็นต้องสอบถามผู้เสียหายที่ไม่ได้มาศาลอีก เพราะผู้เสียหายไม่ได้ขอถอนคำร้องทุกข์ต่อศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4967/2541
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถอนฟ้องคดีอาญาโดยโจทก์ร่วมผู้เสียหาย ทำให้สิทธิในการฟ้องระงับ
คดีอาญาความผิดต่อส่วนตัวและยังไม่ถึงที่สุดเมื่อปรากฏตามคำร้องของ โจทก์ร่วมว่า โจทก์ร่วมไม่ติดใจดำเนินคดีอาญากับจำเลย โดยโจทก์และจำเลยไม่คัดค้านแสดงว่าโจทก์ร่วมซึ่งเป็นผู้เสียหายประสงค์ที่จะถอนคำร้องทุกข์ แต่โจทก์ร่วมใช้ข้อความผิดไปเป็นถอนฟ้องเนื่องจากคดีนี้พนักงานอัยการเป็นโจทก์ ส่วนผู้เสียหายเป็นเพียงโจทก์ร่วม เช่นนี้ สิทธินำคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39(2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4967/2541 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ถอนคำร้องทุกข์คดีอาญาโดยโจทก์ร่วม ย่อมระงับการดำเนินคดี
คดีอาญาความผิดต่อส่วนตัวและยังไม่ถึงที่สุด เมื่อปรากฏตามคำร้องของโจทก์ร่วมว่า โจทก์ร่วมไม่ติดใจดำเนินคดีอาญากับจำเลย โดยโจทก์และจำเลยไม่คัดค้าน แสดงว่าโจทก์ร่วมซึ่งเป็นผู้เสียหายประสงค์ที่จะถอนคำร้องทุกข์ แต่โจทก์ร่วมใช้ข้อความผิดไปเป็นถอนฟ้องเนื่องจากคดีนี้พนักงานอัยการเป็นโจทก์ ส่วนผู้เสียหายเป็นเพียงโจทก์ร่วม เช่นนี้ สิทธินำคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไปตาม ป.วิ.อ.มาตรา 39 (2)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8408/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อผิดพลาดชื่อผู้เสียหายในฟ้อง และการใช้หนังสือมอบอำนาจที่ไม่ติดอากรแสตมป์ในคดีอาญา
แม้โจทก์บรรยายฟ้องผิดไปว่า บริษัทฮ. เป็นผู้เสียหายก็ตามแต่ทางพิจารณาได้ความว่า บริษัทส.เป็นผู้เสียหายการดำเนินกระบวนพิจารณาชั้นผัดฟ้องฝากขังก็ระบุชื่อผู้เสียหายถูกต้องมาแต่แรก ดังนี้ ถือว่าเป็นข้อผิดพลาดเล็กน้อย และข้อแตกต่างดังกล่าวมิใช่สาระสำคัญ ทั้งจำเลยไม่หลงข้อต่อสู้เพราะไม่ติดใจสืบพยาน ศาลจึงลงโทษจำเลยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 192 วรรคสองกรณีมิใช่เป็นเรื่องทางพิจารณาได้ความแตกต่างในสาระสำคัญที่ศาลต้องพิพากษายกฟ้องตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 192 วรรคสอง ตราสารใดที่ไม่ปิดแสตมป์บริบูรณ์ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 118 นั้น จะใช้เป็นพยานหลักฐานไม่ได้เฉพาะคดีแพ่งเท่านั้น ไม่รวมถึงคดีอาญาด้วย ดังนี้การที่ผู้เสียหายทำหนังสือให้ ฐ. ผู้รับมอบอำนาจไปแจ้งความต่อพนักงานสอบสวนเกี่ยวกับเช็คเรียกเก็บเงินไม่ได้ แม้หนังสือดังกล่าวจะปิดอากรแสตมป์ 10 บาท ก็ตาม แต่เมื่อไปแจ้งความตามหนังสือดังกล่าวแล้ว กรณีเป็นการมอบอำนาจให้ร้องทุกข์และเมื่อมีการร้องทุกข์ที่ชอบด้วยกฎหมายแล้ว พนักงานสอบสวนจึงมีอำนาจสอบสวน และพนักงานอัยการโจทก์มีอำนาจฟ้องคดีนี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8408/2540 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อผิดพลาดการระบุผู้เสียหายในฟ้อง ไม่กระทบการดำเนินคดีหากไม่เป็นสาระสำคัญ และการใช้เอกสารไม่ติดอากรแสตมป์ในคดีอาญา
แม้โจทก์บรรยายฟ้องผิดไปว่า บริษัท ฮ.เป็นผู้เสียหายก็ตามแต่ทางพิจารณาได้ความว่า บริษัท ส.เป็นผู้เสียหาย การดำเนินกระบวนพิจารณาชั้นผัดฟ้องฝากขังก็ระบุชื่อผู้เสียหายถูกต้องมาแต่แรก ดังนี้ ถือว่าเป็นข้อผิดพลาดเล็กน้อย และข้อแตกต่างดังกล่าวมิใช่สาระสำคัญ ทั้งจำเลยไม่หลงข้อต่อสู้เพราะไม่ติดใจสืบพยาน ศาลจึงลงโทษจำเลยได้ ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 192 วรรคสองกรณีมิใช่เป็นเรื่องทางพิจารณาได้ความแตกต่างในสาระสำคัญที่ศาลต้องพิพากษายกฟ้องตาม ป.วิ.อ.มาตรา 192 วรรคสอง
ตราสารใดที่ไม่ปิดแสตมป์บริบูรณ์ตาม ป.รัษฎากร มาตรา 118นั้น จะใช้เป็นพยานหลักฐานไม่ได้เฉพาะคดีแพ่งเท่านั้น ไม่รวมถึงคดีอาญาด้วย ดังนี้การที่ผู้เสียหายทำหนังสือมอบอำนาจให้ ฐ.ผู้รับมอบอำนาจไปแจ้งความพนักงาน-สอบสวนเกี่ยวกับเช็คเรียกเก็บเงินไม่ได้ แม้หนังสือดังกล่าวจะปิดอากรแสตมป์10 บาทก็ตาม แต่เมื่อก็ไปแจ้งความตามหนังสือดังกล่าวแล้ว กรณีเป็นการมอบอำนาจให้ร้องทุกข์และเมื่อมีการร้องทุกข์ที่ชอบด้วยกฎหมายแล้ว พนักงานสอบสวนจึงมีอำนาจสอบสวน และพนักงานอัยการโจทก์มีอำนาจฟ้องคดีนี้
ตราสารใดที่ไม่ปิดแสตมป์บริบูรณ์ตาม ป.รัษฎากร มาตรา 118นั้น จะใช้เป็นพยานหลักฐานไม่ได้เฉพาะคดีแพ่งเท่านั้น ไม่รวมถึงคดีอาญาด้วย ดังนี้การที่ผู้เสียหายทำหนังสือมอบอำนาจให้ ฐ.ผู้รับมอบอำนาจไปแจ้งความพนักงาน-สอบสวนเกี่ยวกับเช็คเรียกเก็บเงินไม่ได้ แม้หนังสือดังกล่าวจะปิดอากรแสตมป์10 บาทก็ตาม แต่เมื่อก็ไปแจ้งความตามหนังสือดังกล่าวแล้ว กรณีเป็นการมอบอำนาจให้ร้องทุกข์และเมื่อมีการร้องทุกข์ที่ชอบด้วยกฎหมายแล้ว พนักงานสอบสวนจึงมีอำนาจสอบสวน และพนักงานอัยการโจทก์มีอำนาจฟ้องคดีนี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4065/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถอนฟ้องคดีอาญาโดยโจทก์ร่วมผู้เสียหาย และผลกระทบต่อการดำเนินคดี
ระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา โจทก์ร่วมซึ่งเป็นผู้เสียหายยื่นคำร้องขอถอนฟ้อง จำเลยไม่ค้าน คดีนี้เป็นคดีอาญาความผิดต่อส่วนตัวและยังไม่ถึงที่สุด ดังนั้นเมื่อปรากฏตามคำร้องขอถอนฟ้องของโจทก์ร่วมว่า โจทก์ร่วมและจำเลยสามารถตกลงกันได้แล้ว โดยจำเลยได้ชดใช้ค่าเสียหาย ให้แก่โจทก์ร่วมจนพอใจแล้ว โจทก์ร่วมจึงไม่ติดใจที่จะ ดำเนินคดีนี้แก่จำเลยอีกต่อไป ตามพฤติการณ์ดังกล่าวแสดงว่าโจทก์ร่วมซึ่งเป็นผู้เสียหายไม่ติดใจว่ากล่าวเอาความแก่จำเลยและประสงค์จะขอถอนคำร้องทุกข์นั่นเองแต่โจทก์ร่วมใช้ข้อความผิดไปเป็นถอนฟ้องเพราะคดีนี้พนักงานอัยการเป็นโจทก์ ส่วนผู้เสียหายเป็นเพียงโจทก์ร่วมสิทธินำคดีอาญามาฟ้องของโจทก์ย่อมระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39(2)