พบผลลัพธ์ทั้งหมด 65 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1124/2520 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การริบกางเกงที่เตรียมไว้เพื่อติดเครื่องหมายการค้าปลอม แม้ยังไม่ได้ติดก็ถือเป็นทรัพย์สินที่ใช้ในการกระทำผิดได้
กางเกงขายาวของกลางที่เจ้าพนักงานยึดได้พร้อมกางเกงขายาวที่ติดเครื่องหมายการค้าปลอม และแผ่นป้ายเครื่องหมายการค้าปลอม แม้จะยังไม่ได้ติดเครื่องหมายการค้าปลอม ก็ถือได้ว่าเป็นกางเกงที่เตรียมรอติดเครื่องหมายการค้าปลอม จึงเป็นของที่จำเลยมีไว้ด้วยเจตนาเพื่อใช้ในการกระทำความผิด พึงริบได้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33(1)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1236/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความความผิดเลียนเครื่องหมายการค้า และความผิดตามมาตรา 274 เท่านั้น
ความผิดฐานเลียนเครื่องหมายการค้าของผู้อื่นตามมาตรา 274 ไม่ใช่เป็นความผิดอันยอมความได้ จึงไม่อยู่ในบังคับของมาตรา 96
ถ้าการกระทำผิดของจำเลยยังกระทำสืบเนื่องตลอดมาจนถึงวันที่ผู้เสียหายร้องทุกข์แล้ว คดีย่อมไม่มีทางขาดอายุความ
การกระทำเพียงแต่เลียนเครื่องหมายการค้าของผู้อื่น มิได้เอาเครื่องหมายการค้าของผู้อื่นมาใช้โดยตรง ย่อมเป็นความผิดตามมาตรา 274 ไม่เป็นความผิดตามมาตรา 272 ด้วย (อ้างฎีกาที่ 782-783/2508)
ถ้าการกระทำผิดของจำเลยยังกระทำสืบเนื่องตลอดมาจนถึงวันที่ผู้เสียหายร้องทุกข์แล้ว คดีย่อมไม่มีทางขาดอายุความ
การกระทำเพียงแต่เลียนเครื่องหมายการค้าของผู้อื่น มิได้เอาเครื่องหมายการค้าของผู้อื่นมาใช้โดยตรง ย่อมเป็นความผิดตามมาตรา 274 ไม่เป็นความผิดตามมาตรา 272 ด้วย (อ้างฎีกาที่ 782-783/2508)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1236/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความความผิดฐานเลียนเครื่องหมายการค้า และความแตกต่างระหว่างความผิดตามมาตรา 272 กับ 274
ความผิดฐานเลียนเครื่องหมายการค้าของผู้อื่นตามมาตรา 274 ไม่ใช่เป็นความผิดอันยอมความได้ จึงไม่อยู่ในบังคับของมาตรา 96
ถ้าการกระทำผิดของจำเลยยังกระทำสืบเนื่องตลอดมาจนถึงวันที่ผู้เสียหายร้องทุกข์แล้ว คดีย่อมไม่มีทางขาดอายุความ
การกระทำเพียงแต่เลียนเครื่องหมายการค้าของผู้อื่น มิได้เอาเครื่องหมายการค้าของผู้อื่นมาใช้โดยตรง ย่อมเป็นความผิดตามมาตรา 274 ไม่เป็นความผิดตามมาตรา 272 ด้วย (อ้างฎีกาที่ 782-783/2508)
ถ้าการกระทำผิดของจำเลยยังกระทำสืบเนื่องตลอดมาจนถึงวันที่ผู้เสียหายร้องทุกข์แล้ว คดีย่อมไม่มีทางขาดอายุความ
การกระทำเพียงแต่เลียนเครื่องหมายการค้าของผู้อื่น มิได้เอาเครื่องหมายการค้าของผู้อื่นมาใช้โดยตรง ย่อมเป็นความผิดตามมาตรา 274 ไม่เป็นความผิดตามมาตรา 272 ด้วย (อ้างฎีกาที่ 782-783/2508)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1591/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้เครื่องหมายการค้าของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต ถือเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 272(1)
การที่จำเลยซึ่งไม่ใช่ผู้แทนจำหน่ายสินค้าของโจทก์ร่วมเอาเครื่องหมายการค้าสำหรับสินค้าชนิดนั้นของโจทก์ร่วมติดไว้ที่หน้าร้านจำเลย และพิมพ์เครื่องหมายการค้าของโจทก์ร่วมลงให้ปรากฏในนามบัตรร้านจำเลยโดยไม่มีอำนาจจะกระทำได้ดังนี้ ถือได้ว่าจำเลยกระทำเพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็นสินค้าหรือการค้าของผู้อื่น (คือ ของโจทก์ร่วม) จึงเป็นความผิดตามมาตรา 272 (1) ประมวลกฎหมายอาญา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1591/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การใช้เครื่องหมายการค้าของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต ถือเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 272(1)
การที่จำเลยซึ่งไม่ใช่ผู้แทนจำหน่ายสินค้าของโจทก์ร่วมเอาเครื่องหมายการค้าสำหรับสินค้าชนิดนั้นของโจทก์ร่วมติดไว้ที่หน้าร้านจำเลย และพิมพ์เครื่องหมายการค้าของโจทก์ร่วมลงให้ปรากฏในนามบัตรร้านจำเลยโดยไม่มีอำนาจจะกระทำได้ดังนี้ ถือได้ว่าจำเลยกระทำเพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็นสินค้าหรือการค้าของผู้อื่น (คือ ของโจทก์ร่วม) จึงเป็นความผิดตามมาตรา 272(1) ประมวลกฎหมายอาญา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 353/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคุ้มครองรูปร่างลักษณะสินค้า: เมื่อไม่มีกฎหมายเฉพาะคุ้มครอง การผลิตสินค้าเลียนแบบจึงไม่ถือเป็นการละเมิด
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 272(1) เป็นบทบัญญัติว่าด้วยเรื่องเครื่องหมายการค้า มิได้บังคับในเรื่องรูปทรงลวดลายของสินค้าหรือสิ่งผลิต จึงมิใช่เป็นบทบัญญัติห้ามการผลิตวัตถุอันเป็นสินค้ามิให้ซ้ำกันหรือมีแบบรูปเหมือนคล้ายกัน
เมื่อไม่มีกฎหมายคุ้มครองสิทธิในการประดิษฐ์สินค้า แม้จำเลยจะผลิตสินค้ามีรูปลักษณะอย่างเดียวกับสินค้าของโจทก์ ก็หาเป็นการละเมิดต่อโจทก์ไม่ โจทก์จะกล่าวอ้างว่าจำเลยใช้สิทธิโดยไม่สุจริตหรือใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะให้เกิดเสียหายแก่โจทก์หาได้ไม่
เมื่อไม่มีกฎหมายคุ้มครองสิทธิในการประดิษฐ์สินค้า แม้จำเลยจะผลิตสินค้ามีรูปลักษณะอย่างเดียวกับสินค้าของโจทก์ ก็หาเป็นการละเมิดต่อโจทก์ไม่ โจทก์จะกล่าวอ้างว่าจำเลยใช้สิทธิโดยไม่สุจริตหรือใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะให้เกิดเสียหายแก่โจทก์หาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 353/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคุ้มครองรูปร่างสินค้า: แม้มีลักษณะเหมือนกัน แต่หากไม่มีกฎหมายคุ้มครองสิทธิในการประดิษฐ์ ก็ไม่ถือเป็นการละเมิด
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 272(1) เป็นบทบัญญัติว่าด้วยเรื่องเครื่องหมายการค้า มิได้บังคับในเรื่องรูปทรงลวดลายของสินค้าหรือสิ่งผลิตจึงมิใช่เป็นบทบัญญัติห้ามการผลิตวัตถุอันเป็นสินค้ามิให้ ซ้ำกันหรือมีแบบรูปเหมือนคล้ายกัน
เมื่อไม่มีกฎหมายคุ้มครองสิทธิในการประดิษฐ์สินค้าแม้จำเลยจะผลิตสินค้ามีรูปลักษณะอย่างเดียวกับสินค้าของโจทก์ก็หาเป็นการละเมิดต่อโจทก์ไม่โจทก์จะกล่าวอ้างว่าจำเลยใช้สิทธิโดยไม่สุจริตหรือใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะให้เกิดเสียหายแก่โจทก์หาได้ไม่
เมื่อไม่มีกฎหมายคุ้มครองสิทธิในการประดิษฐ์สินค้าแม้จำเลยจะผลิตสินค้ามีรูปลักษณะอย่างเดียวกับสินค้าของโจทก์ก็หาเป็นการละเมิดต่อโจทก์ไม่โจทก์จะกล่าวอ้างว่าจำเลยใช้สิทธิโดยไม่สุจริตหรือใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะให้เกิดเสียหายแก่โจทก์หาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 386/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคุ้มครองรูปแบบสินค้า: ศาลฎีกาตัดสินว่าประมวลกฎหมายอาญามาตรา 272(1) คุ้มครองเฉพาะเครื่องหมายการค้า ไม่ได้คุ้มครองรูปแบบสินค้าโดยรวม
โจทก์เป็นผู้ผลิตไฟฉายเรโอแวคส่งเข้ามาจำหน่ายในประเทศไทย จำเลยผลิตไฟฉายยี่ห้อไพล๊อต โจทก์จึงฟ้องว่าจำเลยเอาลักษณะ รูปและรอยประดิษฐ์ของโจทก์ไปใช้กับไฟฉายของจำเลย ด้วยเจตนาจะให้ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็นไฟฉายของโจทก์ เป็นการละเมิดต่อโจทก์
ศาลฎีกาเห็นว่า ที่จะเป็นละเมิดนั้น ต้องเป็นการกระทำโดยผิดกฎหมายต่อสิทธิของโจทก์ที่มีอยู่ตามกฎหมายมาตรา 272 (1) แห่งประมวลกฎหมายอาญา ที่โจทก์อ้างว่าบัญญัติคุ้มครองสิทธิของโจทก์ไว้นั้น เป็นบทบัญญัติเรื่องเครื่องหมายของสินค้าเท่านั้น เพราะชื่อหรือข้อความในการประกอบการค้าจะแปลว่าเป็นแบบของวัตถุที่ผลิตเป็นสินค้านั้นไม่ได้ ส่วนรอยประดิษฐ์ก็เป็นแต่ลวดลายของเครื่องหมาย รูปนั้นก็คือภาพเขียน ภาพถ่ายของบุคคลหรือสถานที่หรือสิ่งอื่นที่ใช้ให้ปรากฏที่สินค้าเพื่อให้เป็นที่สังเกตุว่าเป็นสินค้าของตนหาใช่รูปทรงลวดลายของสิ่งผลิตไม่ มาตรา 272(1) แห่งประมวลกฎหมายอาญา จึงไม่ใช่บทบัญญัติห้ามการผลิตวัตถุอันเป็นสินค้ามิให้ซ้ำกันหรือมีแบบมีรูปอย่างเดียวกัน เมื่อไม่มีกฎหมายคุ้มครองประโยชน์ที่โจทก์ต้องการจึงไม่เป็นสิทธิที่มีตามกฎหมาย การกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์
ศาลฎีกาเห็นว่า ที่จะเป็นละเมิดนั้น ต้องเป็นการกระทำโดยผิดกฎหมายต่อสิทธิของโจทก์ที่มีอยู่ตามกฎหมายมาตรา 272 (1) แห่งประมวลกฎหมายอาญา ที่โจทก์อ้างว่าบัญญัติคุ้มครองสิทธิของโจทก์ไว้นั้น เป็นบทบัญญัติเรื่องเครื่องหมายของสินค้าเท่านั้น เพราะชื่อหรือข้อความในการประกอบการค้าจะแปลว่าเป็นแบบของวัตถุที่ผลิตเป็นสินค้านั้นไม่ได้ ส่วนรอยประดิษฐ์ก็เป็นแต่ลวดลายของเครื่องหมาย รูปนั้นก็คือภาพเขียน ภาพถ่ายของบุคคลหรือสถานที่หรือสิ่งอื่นที่ใช้ให้ปรากฏที่สินค้าเพื่อให้เป็นที่สังเกตุว่าเป็นสินค้าของตนหาใช่รูปทรงลวดลายของสิ่งผลิตไม่ มาตรา 272(1) แห่งประมวลกฎหมายอาญา จึงไม่ใช่บทบัญญัติห้ามการผลิตวัตถุอันเป็นสินค้ามิให้ซ้ำกันหรือมีแบบมีรูปอย่างเดียวกัน เมื่อไม่มีกฎหมายคุ้มครองประโยชน์ที่โจทก์ต้องการจึงไม่เป็นสิทธิที่มีตามกฎหมาย การกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 386/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคุ้มครองรูปแบบสินค้า: มาตรา 272(1) คุ้มครองเฉพาะเครื่องหมายการค้า ไม่ได้คุ้มครองรูปแบบหรือรูปร่างของสินค้า
โจทก์เป็นผู้ผลิตไฟฉายเรโอแวคส่งเข้ามาจำหน่ายในประเทศไทย จำเลยผลิตไฟฉายยี่ห้อไฟล๊อต โจทก์จึงฟ้องว่าจำเลยเอาลักษณะ รูปและรอยประดิษฐ์ของโจทก์ไปใช้กับไฟฉายของจำเลย ด้วยเจตนาจะให้ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็นไฟฉายของโจทก์ เป็นการละเมิดต่อโจทก์
ศาลฎีกาเห็นว่า ที่จะเป็นละเมิดนั้น ต้องเป็นการกระทำโดยผิดกฎหมายต่อสิทธิของโจทก์ที่มีอยู่ตามกฎหมาย มาตรา 272(1) แห่งประมวลกฎหมายอาญา ที่โจทก์อ้างว่าบัญญัติคุ้มครองสิทธิของโจทก์ไว้นั้น เป็นบทบัญญัติเรื่องเครื่องหมายของสินค้าเท่านั้น เพราะชื่อหรือข้อความในการประกอบการค้าจะแปลว่าเป็นแบบของวัตถุที่ผลิตเป็นสินค้านั้นไม่ได้ ส่วนรอยประดิษฐ์ก็เป็นแต่ลวดลายของเครื่องหมายรูปนั้นก็คือภาพเขียนภาพถ่ายของบุคคลหรือสถานที่หรือสิ่งอื่นที่ใช้ให้ปรากฏที่สินค้าเพื่อให้เป็นที่สังเกตุว่าเป็นสินค้าของตนหาใช่รูปทรงลวดลายของสิ่งผลิตไม่มาตรา 272(1) แห่งประมวลกฎหมายอาญา จึงไม่ใช่บทบัญญัติห้ามการผลิตวัตถุอันเป็นสินค้ามิให้ซ้ำกันหรือมีแบบมีรูปอย่างเดียวกันเมื่อไม่มีกฎหมายคุ้มครองประโยชน์ที่โจทก์ต้องการจึงไม่เป็นสิทธิที่มีตามกฎหมายการกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์
ศาลฎีกาเห็นว่า ที่จะเป็นละเมิดนั้น ต้องเป็นการกระทำโดยผิดกฎหมายต่อสิทธิของโจทก์ที่มีอยู่ตามกฎหมาย มาตรา 272(1) แห่งประมวลกฎหมายอาญา ที่โจทก์อ้างว่าบัญญัติคุ้มครองสิทธิของโจทก์ไว้นั้น เป็นบทบัญญัติเรื่องเครื่องหมายของสินค้าเท่านั้น เพราะชื่อหรือข้อความในการประกอบการค้าจะแปลว่าเป็นแบบของวัตถุที่ผลิตเป็นสินค้านั้นไม่ได้ ส่วนรอยประดิษฐ์ก็เป็นแต่ลวดลายของเครื่องหมายรูปนั้นก็คือภาพเขียนภาพถ่ายของบุคคลหรือสถานที่หรือสิ่งอื่นที่ใช้ให้ปรากฏที่สินค้าเพื่อให้เป็นที่สังเกตุว่าเป็นสินค้าของตนหาใช่รูปทรงลวดลายของสิ่งผลิตไม่มาตรา 272(1) แห่งประมวลกฎหมายอาญา จึงไม่ใช่บทบัญญัติห้ามการผลิตวัตถุอันเป็นสินค้ามิให้ซ้ำกันหรือมีแบบมีรูปอย่างเดียวกันเมื่อไม่มีกฎหมายคุ้มครองประโยชน์ที่โจทก์ต้องการจึงไม่เป็นสิทธิที่มีตามกฎหมายการกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 981/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขายยาที่ผิดกฎหมายหลังยกเลิกทะเบียนตำรับยา และการใส่ร้ายผู้อื่นเพื่อประโยชน์ทางการค้า
เมื่อทะเบียนตำรับยาซึ่งห้างหุ้นส่วนจำกัด ไทยเกษมผู้เสียหายได้ขึ้ยทะเบียนไว้ ได้ถูกยกเลิกไปโดยผลแห่งพระราชบัญญัติการขายยา (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2505 มาตรา 15 วรรคแรกแล้ว จำเลยจะอาศัยทะเบียนตำรับยาดังกล่าวสั่งยาเข้ามาจำหน่ายอีกไม่ได้ มาตรา 15 วรรค 2 บัญญัติยกเว้นให้เฉพาะเจ้าของผู้ขึ้นทะเบียนตำรับยาไว้แล้วเท่านั้น โดยผ่อนผันให้ขายยาเก่าไปได้อีก 1 ปี หาได้ร่วมถึงบุคคลอื่นซึ่งอาศัยทะเบียนตำรับยาของคนอื่นสั่งยาเข้ามาจำหน่ายดังกรณีของจำเลยไม่
จำเลยรู้ดีแล้วว่า ห้างหุ้นส่วนจำกัดไทยเกษมผู้เสียหายเป็นผู้ขึ้นทะเบียนตำรับยาสำเร็จรูปเลขที่ 869/2502 ไว้ก่อนแล้ว หาใช่ห้างหรือบริษัทอื่นไม่ ดังนี้ การที่จำเลยประกาศโฆษณาว่า มีบุคคลกระทำผิดกฎหมายเลียนแบบผลิตยาออกจำหน่าย ทั้งยังแอบอ้างใช้เลขทะเบียนปิดอยู่หน้ากล่าองยา เช่นนี้ ย่อมเข้าใจได้ว่าหมายถึงห้างหุ้นส่วนจำกัดไทยเกษม ผู้เสียหายเป็นผู้ปลอมแปลงผลิตยาเลียนแบบออกจำหน่าย อันเป็นเท็จ เจตนาจะให้ห้างหุ้นส่วนจำกัดไทยเกษมเสียความเชื่อถือโดยมุ่งประโยชน์แก่การค้าของจำเลย มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 272.
จำเลยรู้ดีแล้วว่า ห้างหุ้นส่วนจำกัดไทยเกษมผู้เสียหายเป็นผู้ขึ้นทะเบียนตำรับยาสำเร็จรูปเลขที่ 869/2502 ไว้ก่อนแล้ว หาใช่ห้างหรือบริษัทอื่นไม่ ดังนี้ การที่จำเลยประกาศโฆษณาว่า มีบุคคลกระทำผิดกฎหมายเลียนแบบผลิตยาออกจำหน่าย ทั้งยังแอบอ้างใช้เลขทะเบียนปิดอยู่หน้ากล่าองยา เช่นนี้ ย่อมเข้าใจได้ว่าหมายถึงห้างหุ้นส่วนจำกัดไทยเกษม ผู้เสียหายเป็นผู้ปลอมแปลงผลิตยาเลียนแบบออกจำหน่าย อันเป็นเท็จ เจตนาจะให้ห้างหุ้นส่วนจำกัดไทยเกษมเสียความเชื่อถือโดยมุ่งประโยชน์แก่การค้าของจำเลย มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 272.