พบผลลัพธ์ทั้งหมด 226 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4170/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อพิพาทสัญญาซื้อขายเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซิน: การบอกเลิกสัญญา, เบี้ยปรับ, และค่าเสียหายจากการผิดสัญญา
สัญญาซื้อขายเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซิน ข้อ 8 กำหนดเบี้ยปรับในกรณีที่ผู้ขายผิดสัญญาไม่ส่งมอบสิ่งของที่ตกลงขายให้แก่ผู้ซื้อหรือส่งมอบสิ่งของทั้งหมดไม่ถูกต้อง ผู้ซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้และวรรคสองระบุว่า ในกรณีที่ผู้ซื้อใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา ผู้ขายยอมให้ผู้ซื้อริบหลักประกันหรือเรียกร้องจากธนาคารผู้ออกหนังสือค้ำประกันแล้วแต่ผู้ซื้อจะเห็นสมควร ส่วนสัญญาข้อ 9 กำหนดเบี้ยปรับในกรณีที่ผู้ซื้อไม่ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาต่อผู้ขาย ยังคงยอมให้ผู้ขายนำสิ่งของที่ซื้อขายตามสัญญาส่งให้แก่ผู้ซื้อต่อไป ผู้ซื้อจึงจะมีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับจากผู้ขายเป็นรายวันได้นับแต่วันถัดจากวันครบกำหนดตามสัญญาจนกว่าผู้ขายได้นำสิ่งของมาส่งให้แก่ผู้ซื้อจนครบถ้วน เมื่อโจทก์ซึ่งเป็นผู้ซื้อใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาเนื่องจากจำเลยส่งมอบเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินทั้งหมดไม่ถูกต้องตามสัญญาซื้อขาย จึงเป็นเรื่องโจทก์ไม่ได้รับเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินที่ไม่ถูกต้องตามที่สัญญากำหนดไว้ถือได้ว่าจำเลยไม่ได้ส่งมอบสิ่งของตามสัญญา ไม่ใช่เป็นเรื่องที่จำเลยส่งมอบสิ่งของให้โจทก์ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้องตามสัญญาและโจทก์ได้ยอมรับไว้โดยจะใช้สิทธิปรับเป็นรายวันตามสัญญาข้อ 9แต่อย่างใด โจทก์จึงมีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับตามสัญญา ข้อ 8วรรคสอง เท่านั้น หามีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับเป็นรายวันตามสัญญาข้อ 9 ไม่ แม้สัญญาซื้อขายจะได้กำหนดค่าเสียหายที่จำเลยต้องรับผิดชดใช้ให้แก่โจทก์ไว้ก็ตาม แต่การที่โจทก์ได้รับความเสียหายเนื่องจากจำเลยผิดสัญญา โจทก์ย่อมมีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชดใช้ค่าเสียหายที่โจทก์ได้รับอันเกิดแต่พฤติการณ์พิเศษได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 222 วรรคสอง โจทก์แจ้งความซื้อเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินเพื่อใช้ในราชการในการจัดซื้อจะต้องตั้งงบประมาณและต้องได้รับอนุมัติจำนวนเงินที่จะจัดซื้อจากรัฐบาล ซึ่งพ่อค้าเช่นจำเลยย่อมจะต้องทราบ เมื่อจำนวนเงินที่โจทก์ได้รับจากเงินงบประมาณที่รัฐบาลจัดสรรให้สามารถซื้อเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินจากจำเลยได้ 10 เครื่องตามความต้องการของโจทก์ จำเลยย่อมคาดเห็นล่วงหน้าแล้วว่าถ้าจำเลยผิดสัญญาไม่อาจส่งมอบเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินให้แก่โจทก์ได้โจทก์จะต้องได้รับความเสียหาย เมื่อโจทก์ไม่สามารถจะซื้อเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินที่จะใช้ทำงานได้ตามความต้องการของโจทก์จำเลยก็ต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4170/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายผิดนัด: สิทธิเรียกร้องเบี้ยปรับและค่าเสียหายจากการส่งมอบสินค้าไม่ถูกต้อง
สัญญาซื้อขายเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซิน ข้อ 8 กำหนดเบี้ยปรับในกรณีที่ผู้ขายผิดสัญญาไม่ส่งมอบสิ่งของที่ตกลงขายให้แก่ผู้ซื้อหรือส่งมอบสิ่งของทั้งหมดไม่ถูกต้อง ผู้ซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้และวรรคสองระบุว่า ในกรณีที่ผู้ซื้อใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา ผู้ขายยอมให้ผู้ซื้อริบหลักประกันหรือเรียกร้องจากธนาคารผู้ออกหนังสือค้ำประกันแล้วแต่ผู้ซื้อจะเห็นสมควร ส่วนสัญญาข้อ 9 กำหนดเบี้ยปรับในกรณีที่ผู้ซื้อไม่ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาต่อผู้ขาย ยังคงยอมให้ผู้ขายนำสิ่งของที่ซื้อขายตามสัญญาส่งให้แก่ผู้ซื้อต่อไป ผู้ซึ่งจึงจะมีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับจากผู้ขายเป็นรายวันได้ นับแต่วันถัดจากวันครบกำหนดตามสัญญาจนกว่าผู้ขายได้นำสิ่งของมาส่งให้แก่ผู้ซื้อจนครบถ้วน เมื่อโจทก์ซึ่งเป็นผู้ซื้อใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาเนื่องจากจำเลยส่งมอบเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินทั้งหมดไม่ถูกต้องตามสัญญาซื้อขาย จึงเป็นเรื่องโจทก์ไม่ได้รับเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินที่ไม่ถูกต้องตามที่สัญญากำหนดไว้ ถือได้ว่าจำเลยไม่ได้ส่งมอบสิ่งของตามสัญญา ไม่ใช่เป็นเรื่องที่จำเลยส่งมอบสิ่งของให้โจทก์ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้องตามสัญญา และโจทก์ได้ยอมรับไว้โดยจะใช้สิทธิปรับเป็นรายวันตามสัญญาข้อ 9 แต่อย่างใด โจทก์จึงมีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับตามสัญญาข้อ 8 วรรคสอง เท่านั้นหามีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับเป็นรายวันตามสัญญาข้อ 9 ไม่ แม้สัญญาซื้อขายจะได้กำหนดค่าเสียหายที่จำเลยต้องรับผิดชดใช้ให้แก่โจทก์ไว้ก็ตาม แต่การที่โจทก์ได้รับความเสียหายเนื่องจากจำเลยผิดสัญญา โจทก์ย่อมมีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชดใช้ค่าเสียหายที่โจทก์ได้รับอันเกิดแต่พฤติการณ์พิเศษได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 222 วรรคสอง โจทก์แจ้งความซื้อเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินเพื่อใช้ในราชการในการจัดซื้อจะต้องตั้งงบประมาณและต้องได้รับอนุมัติจำนวนเงินที่จะจัดซื้อจากรัฐบาล ซึ่งพ่อค้าเช่นจำเลยย่อมจะต้องทราบ เมื่อจำนวนเงินที่โจทก์ได้รับจากเงินงบประมาณที่รัฐบาลจัดสรรให้สามารถซื้อเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินจากจำเลยได้ 10 เครื่อง ตามความต้องการของโจทก์ จำเลยย่อมคาดเห็นล่วงหน้าแล้วว่าถ้าจำเลยผิดสัญญาไม่อาจส่งมอบเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินให้แก่โจทก์ได้ โจทก์จะต้องได้รับความเสียหาย เมื่อโจทก์ไม่สามารถจะซื้อเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินที่จะใช้ทำงานได้ตามความต้องการของโจทก์ จำเลยก็ต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4170/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เบี้ยปรับสัญญาซื้อขาย: การบอกเลิกสัญญาทำให้มีสิทธิเรียกร้องเบี้ยปรับตามสัญญาข้อ 8 ไม่ใช่ข้อ 9 และจำเลยต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายเพิ่มเติม
สัญญาซื้อขายเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซิน ข้อ 8 กำหนดเบี้ยปรับในกรณีที่ผู้ขายผิดสัญญาไม่ส่งมอบสิ่งของที่ตกลงขายให้แก่ผู้ซื้อ หรือส่งมอบสิ่งของทั้งหมดไม่ถูกต้อง ผู้ซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้และวรรคสองระบุว่า ในกรณีที่ผู้ซื้อใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา ผู้ขายยอมให้ผู้ซื้อริบหลักประกันหรือเรียกร้องจากธนาคารผู้ออกหนังสือค้ำประกันแล้วแต่ผู้ซื้อจะเห็นสมควร ส่วนสัญญาข้อ 9 กำหนดเบี้ยปรับในกรณีที่ผู้ซื้อไม่ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาต่อผู้ขาย ยังคงยอมให้ผู้ขายนำสิ่งของที่ซื้อขายตามสัญญาส่งให้แก่ผู้ซื้อต่อไป ผู้ซื้อจึงจะมีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับจากผู้ขายเป็นรายวันได้นับแต่วันถัดจากวันครบกำหนดตามสัญญาจนกว่าผู้ขายได้นำสิ่งของมาส่งให้แก่ผู้ซื้อจนครบถ้วน เมื่อโจทก์ซึ่งเป็นผู้ซื้อใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาเนื่องจากจำเลยส่งมอบเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินทั้งหมดไม่ถูกต้องตามสัญญาซื้อขาย จึงเป็นเรื่องโจทก์ไม่ได้รับเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินที่ไม่ถูกต้องตามที่สัญญากำหนดไว้ถือได้ว่าจำเลยไม่ได้ส่งมอบสิ่งของตามสัญญา ไม่ใช่เป็นเรื่องที่จำเลยส่งมอบสิ่งของให้โจทก์ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้องตามสัญญาและโจทก์ได้ยอมรับไว้โดยจะใช้สิทธิปรับเป็นรายวันตามสัญญาข้อ 9 แต่อย่างใด โจทก์จึงมีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับตามสัญญา ข้อ 8 วรรคสอง เท่านั้น หามีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับเป็นรายวันตามสัญญาข้อ 9 ไม่
แม้สัญญาซื้อขายจะได้กำหนดค่าเสียหายที่จำเลยต้องรับผิดชดใช้ให้แก่โจทก์ไว้ก็ตาม แต่การที่โจทก์ได้รับความเสียหายเนื่องจากจำเลยผิดสัญญา โจทก์ย่อมมีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชดใช้ค่าเสียหายที่โจทก์ได้รับอันเกิดแต่พฤติการณ์พิเศษได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 222 วรรคสอง
โจทก์แจ้งความซื้อเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินเพื่อใช้ในราชการในการจัดซื้อจะต้องตั้งงบประมาณและต้องได้รับอนุมัติจำนวนเงินที่จะจัดซื้อจากรัฐบาล ซึ่งพ่อค้าเช่นจำเลยย่อมจะต้องทราบ เมื่อจำนวนเงินที่โจทก์ได้รับจากเงินงบประมาณที่รัฐบาลจัดสรรให้สามารถซื้อเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินจากจำเลยได้ 10 เครื่องตามความต้องการของโจทก์ จำเลยย่อมคาดเห็นล่วงหน้าแล้วว่าถ้าจำเลยผิดสัญญาไม่อาจส่งมอบเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินให้แก่โจทก์ได้โจทก์จะต้องได้รับความเสียหาย เมื่อโจทก์ไม่สามารถจะซื้อเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินที่จะใช้ทำงานได้ตามความต้องการของโจทก์จำเลยก็ต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์
แม้สัญญาซื้อขายจะได้กำหนดค่าเสียหายที่จำเลยต้องรับผิดชดใช้ให้แก่โจทก์ไว้ก็ตาม แต่การที่โจทก์ได้รับความเสียหายเนื่องจากจำเลยผิดสัญญา โจทก์ย่อมมีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยชดใช้ค่าเสียหายที่โจทก์ได้รับอันเกิดแต่พฤติการณ์พิเศษได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 222 วรรคสอง
โจทก์แจ้งความซื้อเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินเพื่อใช้ในราชการในการจัดซื้อจะต้องตั้งงบประมาณและต้องได้รับอนุมัติจำนวนเงินที่จะจัดซื้อจากรัฐบาล ซึ่งพ่อค้าเช่นจำเลยย่อมจะต้องทราบ เมื่อจำนวนเงินที่โจทก์ได้รับจากเงินงบประมาณที่รัฐบาลจัดสรรให้สามารถซื้อเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินจากจำเลยได้ 10 เครื่องตามความต้องการของโจทก์ จำเลยย่อมคาดเห็นล่วงหน้าแล้วว่าถ้าจำเลยผิดสัญญาไม่อาจส่งมอบเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินให้แก่โจทก์ได้โจทก์จะต้องได้รับความเสียหาย เมื่อโจทก์ไม่สามารถจะซื้อเครื่องกลั่นน้ำมันเบนซินที่จะใช้ทำงานได้ตามความต้องการของโจทก์จำเลยก็ต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3974/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบอกเลิกสัญญาซื้อขายและการบังคับใช้หนังสือค้ำประกันเมื่อผู้ขายผิดสัญญา
สัญญาซื้อขายข้อ 3 มีใจความว่า จำเลยที่ 1 ผู้ขายจะส่งมอบสิ่งของที่ซื้อขายตามสัญญาให้แก่โจทก์ผู้ซื้อภายในกำหนด200 วัน นับแต่วันลงนามในสัญญาเป็นต้นไป โดยแบ่งการส่งมอบออกเป็น 4 งวด ภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ และได้กำหนดจำนวนเงินค่าสิ่งของแต่ละงวดเอาไว้ด้วย นอกจากนี้ตามสัญญาข้อ 5 วรรคสอง มีข้อความว่า การจ่ายเงินจะจ่ายให้ตามงวดที่ผู้ขายได้ส่งของถูกต้องครบถ้วนทุกรายการ และคณะกรรมการได้ทำการตรวจรับเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ตามสัญญาดังกล่าวการตกลงให้ผู้ขายส่งมอบสิ่งของให้แก่ผู้ซื้อเป็นงวด ๆ มีกำหนดเวลาแน่นอนนับว่าเป็นสาระสำคัญและเป็นเงื่อนไขอย่างหนึ่งของสัญญาเมื่อจำเลยที่ 1 ไม่ส่งมอบสิ่งของสำหรับงวดที่ 1 และงวดที่ 2ภายในกำหนด ก็ถือได้ว่าจำเลยที่ 1 ประพฤติผิดเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญาแล้ว โจทก์จึงมีสิทธิบอกเลิกสัญญาก่อนครบกำหนด200 วันได้ สัญญาซื้อขายข้อ 7 และข้อ 8 มีใจความว่า ในวันทำสัญญานี้ ผู้ขายได้นำหลักประกันเป็นหนังสือค้ำประกันของธนาคารเป็นจำนวนร้อยละ 10(สิบ) ของราคาสิ่งของทั้งหมดตามสัญญานี้คิดเป็นเงิน 1,085,480 บาท มามอบไว้แก่ผู้ซื้อเพื่อเป็นประกันการปฏิบัติตามสัญญานี้ หลักประกันที่ผู้ขายนำมามอบให้ตามวรรคหนึ่งผู้ซื้อจะคืนให้เมื่อผู้ขายพ้นจากข้อผูกพันตามสัญญานี้แล้ว ในกรณีที่ผู้ซื้อใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา ผู้ขายยอมให้ผู้ซื้อริบหลักประกันหรือเรียกร้องจากธนาคารผู้ออกหนังสือค้ำประกันเป็นจำนวนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนได้ตามแต่ผู้ซื้อจะเห็นสมควร การทำสัญญาระหว่างโจทก์ผู้ซื้อและจำเลยที่ 1 ผู้ขายนี้โจทก์ต้องการจะให้จำเลยที่ 1 มีหลักประกันมาวางเพื่อเป็นการปฏิบัติตามสัญญาและจำเลยที่ 1 ยอมให้โจทก์ริบหลักประกันได้ถ้าจำเลยที่ 1ผิดสัญญา แต่หลักประกันที่จำเลยที่ 1 นำมาวางนี้เป็นหนังสือค้ำประกันของธนาคารจำเลยที่ 3 ซึ่งจำเลยที่ 3 ก็ได้ทำสัญญากับโจทก์รับรองที่จะชำระเงินให้โจทก์ทันทีถ้าจำเลยที่ 1 ผิดสัญญาและโจทก์ใช้สิทธิริบหลักประกันทั้งนี้โดยไม่ต้องเรียกร้องให้จำเลยที่ 1 ชำระก่อน สัญญาดังกล่าวนี้ย่อมมีผลใช้บังคับได้ เมื่อจำเลยที่ 1 ไม่อาจปฏิบัติตามสัญญาได้และโจทก์ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาแล้ว จำเลยที่ 3 ต้องรับผิดชดใช้เงินจำนวน 1,085,480 บาทแก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3974/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบอกเลิกสัญญาซื้อขาย, หนังสือค้ำประกัน, และความรับผิดของผู้ค้ำประกัน
ตามสัญญาซื้อขายข้อ 3 มีใจความว่า จำเลยที่ 1 ผู้ขายจะส่งมอบสิ่งของที่ซื้อขายตามสัญญาให้แก่โจทก์ผู้ซื้อภายในกำหนด 200วัน นับแต่วันลงนามในสัญญาเป็นต้นไป โดยแบ่งการส่งมอบออกเป็น4 งวด ภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ และได้กำหนดจำนวนเงินค่าสิ่งของแต่ละงวดเอาไว้ด้วย นอกจากนี้ตามสัญญาข้อ 5 วรรคสองมีข้อความว่าการจ่ายเงินจะจ่ายให้ตามงวดที่ผู้ขายได้ส่งของถูกต้องครบถ้วนทุกรายการ และคณะกรรมการได้ทำการตรวจรับเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ตามสัญญาดังกล่าวจะเห็นว่าการตกลงให้ผู้ขายส่งมอบสิ่งของให้แก่ผู้ซื้อเป็นงวด ๆ มีกำหนดเวลาแน่นอน นับว่าเป็นสาระสำคัญและเป็นเงื่อนไขอย่างหนึ่งของสัญญา เมื่อปรากฏว่าจำเลยที่ 1 ไม่ส่งมอบสิ่งของสำหรับงวดที่ 1 และงวดที่ 2 ภายในกำหนด ก็ถือได้ว่าจำเลยที่ 1 ประพฤติผิดเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญาแล้ว โจทก์จึงมีสิทธิบอกเลิกสัญญาก่อนครบกำหนด200 วันได้
สัญญาซื้อขายข้อ 7 มีข้อความว่า "ในวันทำสัญญานี้ผู้ขายได้นำหลักประกันเป็นหนังสือค้ำประกันของธนาคารเป็นจำนวนร้อยละ10 (สิบ) ของราคาสิ่งของทั้งหมดตามสัญญานี้คิดเป็นเงิน 1,085,480 บาท มามอบไว้แก่ผู้ซื้อเพื่อเป็นประกันการปฏิบัติตามสัญญานี้..."และวรรคสองมีข้อความว่า "หลักประกันที่ผู้ขายนำมามอบให้ตามวรรคหนึ่งผู้ซื้อจะคืนให้เมื่อผู้ขายพ้นจากข้อผูกพันตามสัญญานี้แล้ว" และสัญญาข้อ 8 วรรคสอง มีข้อความว่า "ในกรณีที่ผู้ซื้อใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา ผู้ขายยอมให้ผู้ซื้อริบหลักประกันหรือเรียกร้องจากธนาคารผู้ออกหนังสือค้ำประกันตามสัญญาข้อ 7 เป็นจำนวนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนได้ตามแต่ผู้ซื้อจะเห็นสมควร..." จากข้อความในสัญญาดังกล่าวเห็นได้ว่า การทำสัญญาระหว่างโจทก์ผู้ซื้อและจำเลยที่ 1 ผู้ขายนี้โจทก์ต้องการจะให้จำเลยที่ 1 มีหลักประกันมาวางเพื่อเป็นการปฏิบัติตามสัญญา และจำเลยที่ 1 ยอมให้โจทก์ริบหลักประกันได้ถ้าจำเลยที่ 1 ผิดสัญญา แต่หลักประกันที่จำเลยที่ 1 นำมาวางนี้เป็นหนังสือค้ำประกันของธนาคารจำเลยที่ 3 ซึ่งจำเลยที่ 3 ก็ได้ทำสัญญากับโจทก์รับรองที่จะชำระเงินให้โจทก์ทันทีถ้าจำเลยที่ 1 ผิดสัญญาและโจทก์ใช้สิทธิริบหลักประกันดังที่ปรากฏในหนังสือค้ำประกันข้อ 1 วรรคสอง ซึ่งมีข้อความว่า "ข้าพเจ้า(จำเลยที่ 3) ยอมผูกพันตนเป็นผู้ค้ำประกันห้างหุ้นส่วนจำกัด ศรีเสาวภาค (จำเลยที่ 1) ต่อกรมตำรวจ (โจทก์) เป็นวงเงินไม่เกิน 1,085,480 บาท กล่าวคือ หากห้างหุ้นส่วนจำกัด ศรีเสาวภาค ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญาซื้อขายแผ่นป้ายอลูมิเนียม อัดวัสดุสะท้อนแสงและสีดำอบ แห้งที่ทำไว้กับกรมตำรวจหรือปฏิบัติผิดเงื่อนไขข้อหนึ่งข้อใดของสัญญาดังกล่าว ซึ่งกรมตำรวจมีสิทธิริบหลักประกันหรือค่าปรับหรือค่าเสียหายใด ๆ จากห้างหุ้นส่วนจำกัด ศรีเสาวภาค ได้แล้ว ข้าพเจ้ายอมชำระเงินแทนให้ทันทีโดยมิต้องเรียกร้องให้ห้างหุ้นส่วนจำกัด ศรีเสาวภาค ชำระก่อน" เมื่อข้อสัญญาเป็นดังนี้ก็เห็นได้ว่าคู่สัญญามีความประสงค์ที่จะผูกพันกันว่า ถ้าจำเลยที่ 1 ประพฤติผิดเงื่อนไขข้อหนึ่งข้อใดของสัญญา เป็นเหตุให้โจทก์บอกเลิกสัญญาและใช้สิทธิริบหลักประกันแล้วจำเลยที่ 3 รับรองที่จะใช้เงินจำนวน 1,085,480 บาท ให้แก่โจทก์ทันที สัญญาดังกล่าวนี้ย่อมมีผลใช้บังคับได้ เมื่อจำเลยที่ 1 ไม่อาจปฏิบัติตามสัญญาได้และโจทก์ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาแล้วจำเลยที่ 3 ต้องรับผิดชดใช้เงินจำนวน 1,085,480 แก่โจทก์
สัญญาซื้อขายข้อ 7 มีข้อความว่า "ในวันทำสัญญานี้ผู้ขายได้นำหลักประกันเป็นหนังสือค้ำประกันของธนาคารเป็นจำนวนร้อยละ10 (สิบ) ของราคาสิ่งของทั้งหมดตามสัญญานี้คิดเป็นเงิน 1,085,480 บาท มามอบไว้แก่ผู้ซื้อเพื่อเป็นประกันการปฏิบัติตามสัญญานี้..."และวรรคสองมีข้อความว่า "หลักประกันที่ผู้ขายนำมามอบให้ตามวรรคหนึ่งผู้ซื้อจะคืนให้เมื่อผู้ขายพ้นจากข้อผูกพันตามสัญญานี้แล้ว" และสัญญาข้อ 8 วรรคสอง มีข้อความว่า "ในกรณีที่ผู้ซื้อใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา ผู้ขายยอมให้ผู้ซื้อริบหลักประกันหรือเรียกร้องจากธนาคารผู้ออกหนังสือค้ำประกันตามสัญญาข้อ 7 เป็นจำนวนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนได้ตามแต่ผู้ซื้อจะเห็นสมควร..." จากข้อความในสัญญาดังกล่าวเห็นได้ว่า การทำสัญญาระหว่างโจทก์ผู้ซื้อและจำเลยที่ 1 ผู้ขายนี้โจทก์ต้องการจะให้จำเลยที่ 1 มีหลักประกันมาวางเพื่อเป็นการปฏิบัติตามสัญญา และจำเลยที่ 1 ยอมให้โจทก์ริบหลักประกันได้ถ้าจำเลยที่ 1 ผิดสัญญา แต่หลักประกันที่จำเลยที่ 1 นำมาวางนี้เป็นหนังสือค้ำประกันของธนาคารจำเลยที่ 3 ซึ่งจำเลยที่ 3 ก็ได้ทำสัญญากับโจทก์รับรองที่จะชำระเงินให้โจทก์ทันทีถ้าจำเลยที่ 1 ผิดสัญญาและโจทก์ใช้สิทธิริบหลักประกันดังที่ปรากฏในหนังสือค้ำประกันข้อ 1 วรรคสอง ซึ่งมีข้อความว่า "ข้าพเจ้า(จำเลยที่ 3) ยอมผูกพันตนเป็นผู้ค้ำประกันห้างหุ้นส่วนจำกัด ศรีเสาวภาค (จำเลยที่ 1) ต่อกรมตำรวจ (โจทก์) เป็นวงเงินไม่เกิน 1,085,480 บาท กล่าวคือ หากห้างหุ้นส่วนจำกัด ศรีเสาวภาค ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญาซื้อขายแผ่นป้ายอลูมิเนียม อัดวัสดุสะท้อนแสงและสีดำอบ แห้งที่ทำไว้กับกรมตำรวจหรือปฏิบัติผิดเงื่อนไขข้อหนึ่งข้อใดของสัญญาดังกล่าว ซึ่งกรมตำรวจมีสิทธิริบหลักประกันหรือค่าปรับหรือค่าเสียหายใด ๆ จากห้างหุ้นส่วนจำกัด ศรีเสาวภาค ได้แล้ว ข้าพเจ้ายอมชำระเงินแทนให้ทันทีโดยมิต้องเรียกร้องให้ห้างหุ้นส่วนจำกัด ศรีเสาวภาค ชำระก่อน" เมื่อข้อสัญญาเป็นดังนี้ก็เห็นได้ว่าคู่สัญญามีความประสงค์ที่จะผูกพันกันว่า ถ้าจำเลยที่ 1 ประพฤติผิดเงื่อนไขข้อหนึ่งข้อใดของสัญญา เป็นเหตุให้โจทก์บอกเลิกสัญญาและใช้สิทธิริบหลักประกันแล้วจำเลยที่ 3 รับรองที่จะใช้เงินจำนวน 1,085,480 บาท ให้แก่โจทก์ทันที สัญญาดังกล่าวนี้ย่อมมีผลใช้บังคับได้ เมื่อจำเลยที่ 1 ไม่อาจปฏิบัติตามสัญญาได้และโจทก์ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาแล้วจำเลยที่ 3 ต้องรับผิดชดใช้เงินจำนวน 1,085,480 แก่โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3974/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบอกเลิกสัญญาซื้อขายและริบหลักประกันเมื่อผู้ขายผิดสัญญา ส่งมอบสิ่งของไม่ตรงตามกำหนด
ตามสัญญาซื้อขายข้อ 3 มีใจความว่า จำเลยที่ 1 ผู้ขายจะส่งมอบสิ่งของที่ซื้อขายตามสัญญาให้แก่โจทก์ผู้ซื้อภายในกำหนด 200วัน นับแต่วันลงนามในสัญญาเป็นต้นไป โดยแบ่งการส่งมอบออกเป็น4 งวด ภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ และได้กำหนดจำนวนเงินค่าสิ่งของแต่ละงวดเอาไว้ด้วย นอกจากนี้ตามสัญญาข้อ 5 วรรคสองมีข้อความว่าการจ่ายเงินจะจ่ายให้ตามงวดที่ผู้ขายได้ส่งของถูกต้องครบถ้วนทุกรายการ และคณะกรรมการได้ทำการตรวจรับเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ตามสัญญาดังกล่าวจะเห็นว่าการตกลงให้ผู้ขายส่งมอบสิ่งของให้แก่ผู้ซื้อเป็นงวด ๆ มีกำหนดเวลาแน่นอน นับว่าเป็นสาระสำคัญและเป็นเงื่อนไขอย่างหนึ่งของสัญญา เมื่อปรากฏว่าจำเลยที่ 1 ไม่ส่งมอบสิ่งของสำหรับงวดที่ 1 และงวดที่ 2ภายในกำหนด ก็ถือได้ว่าจำเลยที่ 1 ประพฤติผิดเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญาแล้ว โจทก์จึงมีสิทธิบอกเลิกสัญญาก่อนครบกำหนด200 วันได้ สัญญาซื้อขายข้อ 7 มีข้อความว่า "ในวันทำสัญญานี้ผู้ขายได้นำหลักประกันเป็นหนังสือค้ำประกันของธนาคารเป็นจำนวนร้อยละ10(สิบ) ของราคาสิ่งของทั้งหมดตามสัญญานี้คิดเป็นเงิน 1,085,480บาท มามอบไว้แก่ผู้ซื้อเพื่อเป็นประกันการปฏิบัติตามสัญญานี้..."และวรรคสองมีข้อความว่า "หลักประกันที่ผู้ขายนำมามอบให้ตามวรรคหนึ่งผู้ซื้อจะคืนให้เมื่อผู้ขายพ้นจากข้อผูกพันตามสัญญานี้แล้ว" และสัญญาข้อ 8 วรรคสอง มีข้อความว่า "ในกรณีที่ผู้ซื้อใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา ผู้ขายยอมให้ผู้ซื้อริบหลักประกันหรือเรียกร้องจากธนาคารผู้ออกหนังสือค้ำประกันตามสัญญาข้อ 7 เป็นจำนวนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนได้ตามแต่ผู้ซื้อจะเห็นสมควร..." จากข้อความในสัญญาดังกล่าวเห็นได้ว่า การทำสัญญาระหว่างโจทก์ผู้ซื้อและจำเลยที่ 1 ผู้ขายนี้โจทก์ต้องการจะให้จำเลยที่ 1 มีหลักประกันมาวางเพื่อเป็นการปฏิบัติตามสัญญา และจำเลยที่ 1 ยอมให้โจทก์ริบหลักประกันได้ถ้าจำเลยที่ 1 ผิดสัญญา แต่หลักประกันที่จำเลยที่ 1 นำมาวางนี้เป็นหนังสือค้ำประกันของธนาคารจำเลยที่ 3 ซึ่งจำเลยที่ 3 ก็ได้ทำสัญญากับโจทก์รับรองที่จะชำระเงินให้โจทก์ทันทีถ้าจำเลยที่ 1 ผิดสัญญาและโจทก์ใช้สิทธิริบหลักประกันดังที่ปรากฏในหนังสือค้ำประกันข้อ 1 วรรคสอง ซึ่งมีข้อความว่า "ข้าพเจ้า(จำเลยที่ 3) ยอมผูกพันตนเป็นผู้ค้ำประกันห้างหุ้นส่วนจำกัด ศรีเสาวภาค (จำเลยที่ 1) ต่อกรมตำรวจ (โจทก์) เป็นวงเงินไม่เกิน 1,085,480 บาท กล่าวคือ หากห้างหุ้นส่วนจำกัด ศรีเสาวภาค ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญาซื้อขายแผ่นป้ายอลูมิเนียม อัดวัสดุสะท้อนแสงและสีดำอบ แห้งที่ทำไว้กับกรมตำรวจหรือปฏิบัติผิดเงื่อนไขข้อหนึ่งข้อใดของสัญญาดังกล่าว ซึ่งกรมตำรวจมีสิทธิริบหลักประกันหรือค่าปรับหรือค่าเสียหายใด ๆ จากห้างหุ้นส่วนจำกัด ศรีเสาวภาค ได้แล้ว ข้าพเจ้ายอมชำระเงินแทนให้ทันทีโดยมิต้องเรียกร้องให้ห้างหุ้นส่วนจำกัด ศรีเสาวภาค ชำระก่อน" เมื่อข้อสัญญาเป็นดังนี้ก็เห็นได้ว่าคู่สัญญามีความประสงค์ที่จะผูกพันกันว่า ถ้าจำเลยที่ 1 ประพฤติผิดเงื่อนไขข้อหนึ่งข้อใดของสัญญา เป็นเหตุให้โจทก์บอกเลิกสัญญาและใช้สิทธิริบหลักประกันแล้วจำเลยที่ 3 รับรองที่จะใช้เงินจำนวน 1,085,480 บาท ให้แก่โจทก์ทันที สัญญาดังกล่าวนี้ย่อมมีผลใช้บังคับได้ เมื่อจำเลยที่ 1ไม่อาจปฏิบัติตามสัญญาได้และโจทก์ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาแล้วจำเลยที่ 3 ต้องรับผิดชดใช้เงินจำนวน 1,085,480 แก่โจทก์.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3342/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
จำเลยผิดสัญญาซื้อขายวิทยุหาทิศ ศาลยืนตามสัญญาให้ริบเงินประกันและไม่ให้เรียกค่าปรับรายวัน
โจทก์ทำสัญญาซื้อวิทยุหาทิศขนาดเล็กจากจำเลย จำเลยจึงมีหน้าที่จัดหาวิทยุหาทิศตามสัญญาส่งมอบให้แก่โจทก์ การที่บริษัทผู้ผลิตไม่ส่งวิทยุหาทิศมาให้จำเลยจึงเป็นความผิดของจำเลย หาใช่เหตุสุดวิสัยหรือพ้นวิสัยไม่ จำเลยจึงตกเป็นฝ่ายผิดสัญญา ตามสัญญาซื้อขายข้อ 8 ระบุว่า "เมื่อครบกำหนดส่งมอบสิ่งของตามสัญญานี้แล้ว ถ้าผู้ขายไม่ส่งมอบสิ่งของที่ตกลงขายให้แก่ผู้ซื้อหรือส่งมอบสิ่งของทั้งหมดไม่ถูกต้อง หรือส่งมอบสิ่งของไม่ครบจำนวนผู้ซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ ในกรณีที่ผู้ซื้อใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา ผู้ขายยอมให้ผู้ซื้อริบหลักประกันหรือเรียกร้องจากธนาคารผู้ออกหนังสือค้ำประกันตามสัญญาข้อ 7 เป็นจำนวนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนก็ได้ แล้วแต่ผู้ซื้อจะเห็นสมควร และถ้าผู้ซื้อจัดซื้อสิ่งของจากบุคคลอื่นเต็มจำนวนหรือเฉพาะจำนวนที่ขาดส่งแล้วแต่กรณีภายในกำหนด 90 วัน นับแต่วันบอกเลิกสัญญาโดยให้นับวันที่บอกเลิกสัญญาเป็นวันเริ่มต้น ผู้ขายยอมรับชดใช้ราคาที่เพิ่มจากราคาที่กำหนดไว้ในสัญญานี้ด้วย" และข้อ 9 ระบุว่า"ในกรณีที่ผู้ซื้อไม่ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาตามสัญญาข้อ 8 ผู้ขายยอมให้ผู้ซื้อปรับเป็นรายวันในอัตราร้อยละ 1.2 ของราคาสิ่งของที่ยังไม่ได้รับมอบนับแต่วันถัดจากวันครบกำหนดตามสัญญาจนถึงวันที่ผู้ขายได้นำสิ่งของมาส่งให้แก่ผู้ซื้อจนถูกต้องครบถ้วน..." ดังนี้ ตามสัญญาข้อ 8 เป็นการกำหนดเบี้ยปรับในกรณีที่ผู้ขายผิดสัญญาโดยไม่ส่งมอบสิ่งของที่ตกลงขายให้แก่ผู้ซื้อหรือส่งมอบสิ่งของทั้งหมดไม่ถูกต้องหรือส่งมอบสิ่งของไม่ครบจำนวน และผู้ซื้อได้บอกเลิกสัญญาต่อผู้ขายส่วนสัญญาข้อ 9 นั้นเป็นการกำหนดเบี้ยปรับในกรณีที่ผู้ซื้อไม่ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาต่อผู้ขายยังคงยอมให้ผู้ขายนำสิ่งของที่ซื้อขายตามสัญญามาส่งให้แก่ผู้ซื้อต่อไปผู้ซื้อจึงจะมีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับจากผู้ขายเป็นรายวันได้ เมื่อโจทก์ซึ่งเป็นผู้ซื้อได้ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาเนื่องจากจำเลยไม่นำสิ่งของมามอบให้ทั้งหมดโจทก์จึงมีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับตามสัญญาข้อ 8 เท่านั้นไม่มีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับเป็นรายวันตามสัญญาข้อ 9 อีก โจทก์ฟ้องว่าจำเลยผิดสัญญา โจทก์จึงบอกเลิกสัญญาพร้อมทั้งแจ้งการริบเงินประกันตามสัญญา และแจ้งให้จำเลยใช้ค่าปรับ จำเลยให้การว่าไม่ได้เป็นฝ่ายผิดสัญญา โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกค่าเสียหายและค่าปรับตามสัญญา ประเด็นเกี่ยวกับเบี้ยปรับจึงเป็นประเด็นพิพาทในคดีด้วย ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้อง โจทก์อุทธรณ์ จำเลยแก้อุทธรณ์ว่าจำเลยไม่เป็นฝ่ายผิดสัญญา แต่ศาลอุทธรณ์ไม่ได้วินิจฉัยในประเด็นดังกล่าวซึ่งเป็นการไม่ชอบ ศาลฎีกาวินิจฉัยในประเด็นดังกล่าวโดยไม่ย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3342/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
จำเลยมีหน้าที่ส่งมอบสินค้าตามสัญญา การที่บริษัทผู้ผลิตไม่ส่งมอบไม่ใช่เหตุสุดวิสัย โจทก์มีสิทธิบอกเลิกสัญญาและริบหลักประกัน
โจทก์ทำสัญญาซื้อวิทยุหาทิศขนาดเล็กจากจำเลย จำเลยจึงมีหน้าที่จัดหาวิทยุหาทิศตามสัญญาส่งมอบให้แก่โจทก์ การที่บริษัทผู้ผลิตไม่ส่งวิทยุหาทิศมาให้จำเลย จึงเป็นความผิดของจำเลยหาใช่เหตุสุดวิสัยหรือพ้นวิสัยไม่ จำเลยจึงตกเป็นฝ่ายผิดสัญญา ตามสัญญาซื้อขายข้อ 8 ระบุว่า "เมื่อครบกำหนดส่งมอบสิ่งของตามสัญญานี้แล้ว ถ้าผู้ขายไม่ส่งมอบสิ่งของที่ตกลงขายให้แก่ผู้ซื้อหรือส่งมอบสิ่งของทั้งหมดไม่ถูกต้อง หรือส่งมอบสิ่งของไม่ครบจำนวนผู้ซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ ในกรณีที่ผู้ซื้อใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา ผู้ขายยอมให้ผู้ซื้อริบหลักประกันหรือเรียกร้องจากธนาคารผู้ออกหนังสือค้ำประกันตามสัญญาข้อ 7 เป็นจำนวนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนก็ได้ แล้วแต่ผู้ซื้อจะเห็นสมควร และถ้าผู้ซื้อจัดซื้อสิ่งของจากบุคคลอื่นเต็มจำนวนหรือเฉพาะจำนวนที่ขาดส่งแล้วแต่กรณีภายในกำหนด 90 วัน นับแต่วันบอกเลิกสัญญาโดยให้นับวันที่บอกเลิกสัญญาเป็นวันเริ่มต้น ผู้ขายยอมรับชดใช้ราคาที่เพิ่มจากราคาที่กำหนดไว้ในสัญญานี้ด้วย" และข้อ 9 ระบุว่า"ในกรณีที่ผู้ซื้อไม่ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาตามสัญญาข้อ 8 ผู้ขายยอมให้ผู้ซื้อปรับเป็นรายวันในอัตราร้อยละ 0.2 ของราคาสิ่งของที่ยังไม่ได้รับมอบนับแต่วันถัดจากวันครบกำหนดตามสัญญาจนถึงวันที่ผู้ขายได้นำสิ่งของมาส่งให้แก่ผู้ซื้อจนถูกต้องครบถ้วน..."ดังนี้ ตามสัญญาข้อ 8 เป็นการกำหนดเบี้ยปรับในกรณีที่ผู้ขายผิดสัญญาโดยไม่ส่งมอบสิ่งของที่ตกลงขายให้แก่ผู้ซื้อหรือส่งมอบสิ่งของทั้งหมดไม่ถูกต้อง หรือส่งมอบสิ่งของไม่ครบจำนวน และผู้ซื้อได้บอกเลิกสัญญาต่อผู้ขาย ส่วนสัญญาข้อ 9 นั้นเป็นการกำหนดเบี้ยปรับในกรณีที่ผู้ซื้อไม่ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาต่อผู้ขายยังคงยอมให้ผู้ขายนำสิ่งของที่ซื้อขายตามสัญญามาส่งให้แก่ผู้ซื้อต่อไป ผู้ซื้อจึงจะมีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับจากผู้ขายเป็นรายวันได้ เมื่อโจทก์ซึ่งเป็นผู้ซื้อได้ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาเนื่องจากจำเลยไม่นำสิ่งของมามอบให้ทั้งหมด โจทก์จึงมีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับตามสัญญาข้อ 8 เท่านั้น ไม่มีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับเป็นรายวันตามสัญญาข้อ 9 อีก โจทก์ฟ้องว่าจำเลยผิดสัญญา โจทก์จึงบอกเลิกสัญญาพร้อมทั้งแจ้งการริบเงินประกันตามสัญญา และแจ้งให้จำเลยใช้ค่าปรับจำเลยให้การว่าไม่ได้เป็นฝ่ายผิดสัญญา โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกค่าเสียหายและค่าปรับตามสัญญา ประเด็นเกี่ยวกับเบี้ยปรับจึงเป็นประเด็นพิพาทในคดีด้วย ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้อง โจทก์อุทธรณ์ จำเลยแก้อุทธรณ์ว่าจำเลยไม่เป็นฝ่ายผิดสัญญา แต่ศาลอุทธรณ์ไม่ได้วินิจฉัยในประเด็นดังกล่าวซึ่งเป็นการไม่ชอบ ศาลฎีกาวินิจฉัยในประเด็นดังกล่าวโดยไม่ย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยอีก.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3342/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
จำเลยมีหน้าที่จัดหาสิ่งของตามสัญญา การที่บริษัทผู้ผลิตไม่ส่งมอบไม่ใช่เหตุสุดวิสัย ผู้ซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาและริบหลักประกัน
โจทก์ทำสัญญาซื้อวิทยุหาทิศขนาดเล็กจากจำเลย จำเลยจึงมีหน้าที่จัดหาวิทยุหาทิศตามสัญญาส่งมอบให้แก่โจทก์ การที่บริษัทผู้ผลิตไม่ส่งวิทยุหาทิศมาให้จำเลย จึงเป็นความผิดของจำเลยหาใช่เหตุสุดวิสัยหรือพ้นวิสัยไม่ จำเลยจึงตกเป็นฝ่ายผิดสัญญา
ตามสัญญาซื้อขายข้อ 8 ระบุว่า "เมื่อครบกำหนดส่งมอบสิ่งของตามสัญญานี้แล้ว ถ้าผู้ขายไม่ส่งมอบสิ่งของที่ตกลงขายให้แก่ผู้ซื้อหรือส่งมอบสิ่งของทั้งหมดไม่ถูกต้อง หรือส่งมอบสิ่งของไม่ครบจำนวนผู้ซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ ในกรณีที่ผู้ซื้อใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา ผู้ขายยอมให้ผู้ซื้อริบหลักประกันหรือเรียกร้องจากธนาคารผู้ออกหนังสือค้ำประกันตามสัญญาข้อ 7 เป็นจำนวนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนก็ได้ แล้วแต่ผู้ซื้อจะเห็นสมควร และถ้าผู้ซื้อจัดซื้อสิ่งของจากบุคคลอื่นเต็มจำนวนหรือเฉพาะจำนวนที่ขาดส่งแล้วแต่กรณีภายในกำหนด 90 วัน นับแต่วันบอกเลิกสัญญาโดยให้นับวันที่บอกเลิกสัญญาเป็นวันเริ่มต้น ผู้ขายยอมรับชดใช้ราคาที่เพิ่มจากราคาที่กำหนดไว้ในสัญญานี้ด้วย" และข้อ 9 ระบุว่า"ในกรณีที่ผู้ซื้อไม่ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาตามสัญญาข้อ 8 ผู้ขายยอมให้ผู้ซื้อปรับเป็นรายวันในอัตราร้อยละ 0.2 ของราคาสิ่งของที่ยังไม่ได้รับมอบนับแต่วันถัดจากวันครบกำหนดตามสัญญาจนถึงวันที่ผู้ขายได้นำสิ่งของมาส่งให้แก่ผู้ซื้อจนถูกต้องครบถ้วน..." ดังนี้ ตามสัญญาข้อ 8 เป็นการกำหนดเบี้ยปรับในกรณีที่ผู้ขายผิดสัญญาโดยไม่ส่งมอบสิ่งของที่ตกลงขายให้แก่ผู้ซื้อหรือส่งมอบสิ่งของทั้งหมดไม่ถูกต้อง หรือส่งมอบสิ่งของไม่ครบจำนวน และผู้ซื้อได้บอกเลิกสัญญาต่อผู้ขาย ส่วนสัญญาข้อ 9 นั้นเป็นการกำหนดเบี้ยปรับในกรณีที่ผู้ซื้อไม่ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาต่อผู้ขายยังคงยอมให้ผู้ขายนำสิ่งของที่ซื้อขายตามสัญญามาส่งให้แก่ผู้ซื้อต่อไป ผู้ซื้อจึงจะมีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับจากผู้ขายเป็นรายวันได้ เมื่อโจทก์ซึ่งเป็นผู้ซื้อได้ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาเนื่องจากจำเลยไม่นำสิ่งของมามอบให้ทั้งหมด โจทก์จึงมีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับตามสัญญาข้อ 8 เท่านั้น ไม่มีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับเป็นรายวันตามสัญญาข้อ 9 อีก
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยผิดสัญญา โจทก์จึงบอกเลิกสัญญาพร้อมทั้งแจ้งการริบเงินประกันตามสัญญา และแจ้งให้จำเลยใช้ค่าปรับจำเลยให้การว่าไม่ได้เป็นฝ่ายผิดสัญญา โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกค่าเสียหายและค่าปรับตามสัญญา ประเด็นเกี่ยวกับเบี้ยปรับจึงเป็นประเด็นพิพาทในคดีด้วย
ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้อง โจทก์อุทธรณ์ จำเลยแก้อุทธรณ์ว่าจำเลยไม่เป็นฝ่ายผิดสัญญา แต่ศาลอุทธรณ์ไม่ได้วินิจฉัยในประเด็นดังกล่าวซึ่งเป็นการไม่ชอบ ศาลฎีกาวินิจฉัยในประเด็นดังกล่าวโดยไม่ย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยอีก
ตามสัญญาซื้อขายข้อ 8 ระบุว่า "เมื่อครบกำหนดส่งมอบสิ่งของตามสัญญานี้แล้ว ถ้าผู้ขายไม่ส่งมอบสิ่งของที่ตกลงขายให้แก่ผู้ซื้อหรือส่งมอบสิ่งของทั้งหมดไม่ถูกต้อง หรือส่งมอบสิ่งของไม่ครบจำนวนผู้ซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ ในกรณีที่ผู้ซื้อใช้สิทธิบอกเลิกสัญญา ผู้ขายยอมให้ผู้ซื้อริบหลักประกันหรือเรียกร้องจากธนาคารผู้ออกหนังสือค้ำประกันตามสัญญาข้อ 7 เป็นจำนวนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนก็ได้ แล้วแต่ผู้ซื้อจะเห็นสมควร และถ้าผู้ซื้อจัดซื้อสิ่งของจากบุคคลอื่นเต็มจำนวนหรือเฉพาะจำนวนที่ขาดส่งแล้วแต่กรณีภายในกำหนด 90 วัน นับแต่วันบอกเลิกสัญญาโดยให้นับวันที่บอกเลิกสัญญาเป็นวันเริ่มต้น ผู้ขายยอมรับชดใช้ราคาที่เพิ่มจากราคาที่กำหนดไว้ในสัญญานี้ด้วย" และข้อ 9 ระบุว่า"ในกรณีที่ผู้ซื้อไม่ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาตามสัญญาข้อ 8 ผู้ขายยอมให้ผู้ซื้อปรับเป็นรายวันในอัตราร้อยละ 0.2 ของราคาสิ่งของที่ยังไม่ได้รับมอบนับแต่วันถัดจากวันครบกำหนดตามสัญญาจนถึงวันที่ผู้ขายได้นำสิ่งของมาส่งให้แก่ผู้ซื้อจนถูกต้องครบถ้วน..." ดังนี้ ตามสัญญาข้อ 8 เป็นการกำหนดเบี้ยปรับในกรณีที่ผู้ขายผิดสัญญาโดยไม่ส่งมอบสิ่งของที่ตกลงขายให้แก่ผู้ซื้อหรือส่งมอบสิ่งของทั้งหมดไม่ถูกต้อง หรือส่งมอบสิ่งของไม่ครบจำนวน และผู้ซื้อได้บอกเลิกสัญญาต่อผู้ขาย ส่วนสัญญาข้อ 9 นั้นเป็นการกำหนดเบี้ยปรับในกรณีที่ผู้ซื้อไม่ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาต่อผู้ขายยังคงยอมให้ผู้ขายนำสิ่งของที่ซื้อขายตามสัญญามาส่งให้แก่ผู้ซื้อต่อไป ผู้ซื้อจึงจะมีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับจากผู้ขายเป็นรายวันได้ เมื่อโจทก์ซึ่งเป็นผู้ซื้อได้ใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาเนื่องจากจำเลยไม่นำสิ่งของมามอบให้ทั้งหมด โจทก์จึงมีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับตามสัญญาข้อ 8 เท่านั้น ไม่มีสิทธิเรียกร้องเอาเบี้ยปรับเป็นรายวันตามสัญญาข้อ 9 อีก
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยผิดสัญญา โจทก์จึงบอกเลิกสัญญาพร้อมทั้งแจ้งการริบเงินประกันตามสัญญา และแจ้งให้จำเลยใช้ค่าปรับจำเลยให้การว่าไม่ได้เป็นฝ่ายผิดสัญญา โจทก์ไม่มีสิทธิเรียกค่าเสียหายและค่าปรับตามสัญญา ประเด็นเกี่ยวกับเบี้ยปรับจึงเป็นประเด็นพิพาทในคดีด้วย
ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้อง โจทก์อุทธรณ์ จำเลยแก้อุทธรณ์ว่าจำเลยไม่เป็นฝ่ายผิดสัญญา แต่ศาลอุทธรณ์ไม่ได้วินิจฉัยในประเด็นดังกล่าวซึ่งเป็นการไม่ชอบ ศาลฎีกาวินิจฉัยในประเด็นดังกล่าวโดยไม่ย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยอีก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1721/2532
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดอกเบี้ยสัญญาเช่าซื้อ-ค่าเสียหาย-เบี้ยปรับ: ศาลลดเบี้ยปรับที่สูงเกินไปได้
ค่าเสียหายที่โจทก์ขายทรัพย์สินที่เช่าซื้อ ไม่ได้ราคาเท่ากับราคาค่าเช่าซื้อ ไม่ใช่เงินที่ผู้เช่าซื้อค้างชำระตาม ความหมายของ"ค้างเงินใด ๆ แก่เจ้าของ" ตาม สัญญาเช่าซื้อระหว่างโจทก์จำเลยข้อที่ 9 ที่ว่า "ถ้า ผู้เช่าซื้อผิดนัดไม่ชำระหนี้หรือค้างเงินใด ๆแก่เจ้าของ ผู้เช่าซื้อยอมเสียดอกเบี้ย สำหรับเงินที่ค้างนับแต่วันผิดนัดในอัตราร้อยละ 15 ต่อปี..." ดังนั้น โจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยที่ 1 ใช้ ดอกเบี้ย ในอัตราร้อยละ 15 ต่อปีคงมีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยที่ 1 ใช้ ดอกเบี้ย ในอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 224 เท่านั้น สัญญาเช่าซื้อข้อ 10 ที่ว่า "...แต่ ถ้า เจ้าของได้ ขายทรัพย์สินที่เช่าซื้อ ไปแล้ว ยังไม่คุ้ม ราคาค่าเช่าซื้อที่ต้อง ชำระทั้งหมดตาม สัญญานี้กับค่าเสียหายอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น ผู้เช่าซื้อจะชดใช้ให้เจ้าของจนครบ" นั้น เป็นวิธีการกำหนดค่าเสียหายวิธีหนึ่งมีลักษณะเป็นการกำหนดเบี้ยปรับ เมื่อโจทก์ขอมาสูงเกินไปศาลก็ชอบที่จะลดเบี้ยปรับลงได้ ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 383.