พบผลลัพธ์ทั้งหมด 226 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 351-352/2495
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายและการเรียกค่าเสียหายเมื่อมีการบังคับคดีให้ปฏิบัติตามสัญญา
ตามสัญญาจำซื้อขายใส่ไว้ด้วยว่า ถ้าผู้ขาย ขายที่ดินให้ผู้ซื้อไม่ได้ตามสัญญา ก็ให้ผู้ซื้อเรียกค่าเสียหายอีกหนึ่งเป็นเงิน 2,000 บาท ดังนี้ แม้ผู้ขายจะบิดพลิ้วไม่ยอมขายที่ดินแก่ผู้ซื้อตามสัญญา จนผู้ซื้อต้องฟ้อง ศาลบังคับให้ขายก็ดี ถ้าศาลพิพากษาให้ผู้ขายขายที่ดินให้ผู้ซื้อตามสัญญาแล้ว ศาลก็ไม่ให้ผู้ขายใช้เงิน 2,000 บาท แก่ผู้ซื้อ เพราะถือว่าได้มีการซื้อขายกันตามสัญญาแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 289/2495 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าของร่วม vs. เจ้าของทรัพย์สินที่มีส่วนแบ่งชัดเจน, สิทธิในการบังคับขายตามสัญญา, และเบี้ยปรับ
เจ้าของรวมตาม ป.ม.แพ่งฯมาตรา 1357 นั้น ต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สสินอันรวมกันไม่ทราบว่าส่วนของใครเท่าไร ตรงไหนในทรัพย์นั้น ๆ กฎหมายจึงสันนิษฐษนไว้ก่อนว่าผู้เป็นเจ้าของรวมมีส่วนเท่ากัน
โฉนดที่ดินมีชื่อบุคคล 2 คนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ แต่ได้จดทะเบียนบรรยายส่วนของใครไว้ในโฉนดแล้วว่า ของใครไว้ในโฉนดแล้วว่า ของใครอยู่ตอนไหน เป็นจำนวนเนื้อที่เท่าไร ชัดแจ้งแล้ว เช่นนี้ หาใช่ เป็นเจ้าของรวมไม่
เงื่อนไขแห่งนิติกรรมานั้นหมายถึงเหตุการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งจะเกิดขึ้นในอนาคตและไม่แน่นอน
สัญญาจะซื้อขายมีข้อตกลงกันว่าผู้ซื้อขายกันในวันมาทำการจะทะเบียนแบ่งแยกที่ดินนั้น หาใช่เป็นเงื่อนไขไม่
แม้สัญญาจะซื้อขายที่ดินได้กำหนดเบี้ยปรับกันไว้ ในเมื่อผู้ขายผิดสัญญาก็ดี ตามป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 380 บัญญัติให้สิทธิแก่เจ้าหนี้เลือกเรียกเอาเบี้ยแรับชำระหนี้แต่อย่างหนึ่งอย่างใดได้ ฉะนั้นถ้าผู้ขายทำผิดสัญญาโดยไม่ยอมขายที่ดินให้แก่ผู้ซื้อ ผู้ซื้อก็ย่อมมีสิทธิฟ้องร้องผู้ขายขอให้ศาลบังคับให้โอนขายตามสัญญาได้
(อ้างฎีกาที่ 131 / 1449)
โฉนดที่ดินมีชื่อบุคคล 2 คนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ แต่ได้จดทะเบียนบรรยายส่วนของใครไว้ในโฉนดแล้วว่า ของใครไว้ในโฉนดแล้วว่า ของใครอยู่ตอนไหน เป็นจำนวนเนื้อที่เท่าไร ชัดแจ้งแล้ว เช่นนี้ หาใช่ เป็นเจ้าของรวมไม่
เงื่อนไขแห่งนิติกรรมานั้นหมายถึงเหตุการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งจะเกิดขึ้นในอนาคตและไม่แน่นอน
สัญญาจะซื้อขายมีข้อตกลงกันว่าผู้ซื้อขายกันในวันมาทำการจะทะเบียนแบ่งแยกที่ดินนั้น หาใช่เป็นเงื่อนไขไม่
แม้สัญญาจะซื้อขายที่ดินได้กำหนดเบี้ยปรับกันไว้ ในเมื่อผู้ขายผิดสัญญาก็ดี ตามป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 380 บัญญัติให้สิทธิแก่เจ้าหนี้เลือกเรียกเอาเบี้ยแรับชำระหนี้แต่อย่างหนึ่งอย่างใดได้ ฉะนั้นถ้าผู้ขายทำผิดสัญญาโดยไม่ยอมขายที่ดินให้แก่ผู้ซื้อ ผู้ซื้อก็ย่อมมีสิทธิฟ้องร้องผู้ขายขอให้ศาลบังคับให้โอนขายตามสัญญาได้
(อ้างฎีกาที่ 131 / 1449)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 289/2495
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าของรวม vs. สัญญาซื้อขาย: การแบ่งแยกกรรมสิทธิ์และเงื่อนไขสัญญา
เจ้าของรวมตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1357 นั้นต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินอันรวมกันอยู่ไม่ทราบว่าส่วนของใครเท่าไร ตรงไหนในทรัพย์นั้นๆ กฎหมายจึงให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้เป็นเจ้าของรวมมีส่วนเท่ากัน
โฉนดที่ดินมีชื่อบุคคล 2 คนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ แต่ได้จดทะเบียนบรรยายส่วนของใครไว้ในโฉนดแล้วว่าของใครอยู่ตอนไหน เป็นจำนวนเนื้อที่เท่าไรชัดแจ้งแล้วเช่นนี้หาใช่เป็นเจ้าของรวมไม่
เงื่อนไขแห่งนิติกรรมนั้นหมายถึงเหตุการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งจะเกิดขึ้นในอนาคตและ ไม่แน่นอน
สัญญาจะซื้อขายมีข้อตกลงกันว่าผู้ซื้อผู้ขายจะมาทำการโอนซื้อขายกันในวันมาทำการจดทะเบียนแบ่งแยกที่ดินนั้น หาใช่เป็นเงื่อนไขไม่
แม้สัญญาจะซื้อขายที่ดินได้ กำหนดเบี้ยปรับกันไว้ในเมื่อผู้ขายผิดสัญญาก็ดี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 380 บัญญัติให้สิทธิแก่เจ้าหนี้เลือกเรียกเอาเบี้ยปรับหรือเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้แต่อย่างหนึ่งอย่างใดได้ ฉะนั้นถ้าผู้ขายทำผิดสัญญาโดยไม่ยอมขายที่ดินให้แก่ผู้ซื้อผู้ซื้อก็ย่อมมีสิทธิฟ้องร้องผู้ขายขอให้ศาลบังคับให้โอนขายตามสัญญาได้(อ้างฎีกาที่ 131/2489)
โฉนดที่ดินมีชื่อบุคคล 2 คนเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ แต่ได้จดทะเบียนบรรยายส่วนของใครไว้ในโฉนดแล้วว่าของใครอยู่ตอนไหน เป็นจำนวนเนื้อที่เท่าไรชัดแจ้งแล้วเช่นนี้หาใช่เป็นเจ้าของรวมไม่
เงื่อนไขแห่งนิติกรรมนั้นหมายถึงเหตุการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งจะเกิดขึ้นในอนาคตและ ไม่แน่นอน
สัญญาจะซื้อขายมีข้อตกลงกันว่าผู้ซื้อผู้ขายจะมาทำการโอนซื้อขายกันในวันมาทำการจดทะเบียนแบ่งแยกที่ดินนั้น หาใช่เป็นเงื่อนไขไม่
แม้สัญญาจะซื้อขายที่ดินได้ กำหนดเบี้ยปรับกันไว้ในเมื่อผู้ขายผิดสัญญาก็ดี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 380 บัญญัติให้สิทธิแก่เจ้าหนี้เลือกเรียกเอาเบี้ยปรับหรือเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้แต่อย่างหนึ่งอย่างใดได้ ฉะนั้นถ้าผู้ขายทำผิดสัญญาโดยไม่ยอมขายที่ดินให้แก่ผู้ซื้อผู้ซื้อก็ย่อมมีสิทธิฟ้องร้องผู้ขายขอให้ศาลบังคับให้โอนขายตามสัญญาได้(อ้างฎีกาที่ 131/2489)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1695/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้ค้ำประกันเมื่อลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ และสิทธิของเจ้าหนี้ในการเรียกร้องค่าเสียหายเกินเบี้ยปรับ
เมื่อลูกหนี้ไม่ชำระหนี้นอกจากเบี้ยปรับตามที่กำหนดกันไว้ในสัญญาแล้ว เจ้าหนี้ยังมีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายที่เสียไปเกินจากที่กำหนดเป็นเบี้ยปรับกันไว้ได้อีกตามมาตรา 380 วรรค 2
เจ้าหนี้ฟ้องผู้ค้ำประกันให้รับผิดแทนลูกหนี้ เพราะลูกหนี้ไม่ชำระหนี้แก่เจ้าหนี้และอ้างว่าลูกหนี้ไม่มีทรัพย์สินพอชำระหนี้เมื่อไม่ปรากฎว่าลูกหนี้อยู่แห่งใดผู้ค้ำ ประกันพิศูจน์ไม่ได้ว่าลูกหนี้มีทางที่จะชำระหนี้ได้ และพิศูจน์ไม่ได้ว่าการที่จะบังคับให้ลูกหนี้ชำระหนี้ไม่เป็นการยากดังนี้นผู้ค้ำประกันจึงไม่พ้นจากความรับผิด
เจ้าหนี้ฟ้องผู้ค้ำประกันให้รับผิดแทนลูกหนี้ เพราะลูกหนี้ไม่ชำระหนี้แก่เจ้าหนี้และอ้างว่าลูกหนี้ไม่มีทรัพย์สินพอชำระหนี้เมื่อไม่ปรากฎว่าลูกหนี้อยู่แห่งใดผู้ค้ำ ประกันพิศูจน์ไม่ได้ว่าลูกหนี้มีทางที่จะชำระหนี้ได้ และพิศูจน์ไม่ได้ว่าการที่จะบังคับให้ลูกหนี้ชำระหนี้ไม่เป็นการยากดังนี้นผู้ค้ำประกันจึงไม่พ้นจากความรับผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1695/2493
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดของผู้ค้ำประกันเมื่อลูกหนี้ผิดสัญญาและมีทรัพย์สินไม่พอชำระหนี้ เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายเกินเบี้ยปรับ
เมื่อลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ นอกจากเบี้ยปรับตามที่กำหนดกันไว้ในสัญญาแล้ว เจ้าหนี้ยังมีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายที่เสียไป เกินจากที่กำหนดเป็นเบี้ยปรับกันไว้ได้อีก ตามมาตรา 380 วรรคสอง
เจ้าหนี้ฟ้องผู้ค้ำประกันให้รับผิดแทนลูกหนี้ เพราะลูกหนี้ไม่ชำระหนี้แก่เจ้าหนี้และอ้างว่าลูกหนี้ไม่มีทรัพย์สินพอชำระหนี้ เมื่อไม่ปรากฏว่า ลูกหนี้อยู่แห่งใด ผู้ค้ำประกันพิสูจน์ไม่ได้ว่า ลูกหนี้มีทางที่จะชำระหนี้ได้ และพิสูจน์ไม่ได้ว่าการที่จะบังคับให้ลูกหนี้ชำระหนี้ไม่เป็นการยาก ดังนั้นผู้ค้ำประกันจึงไม่พ้นจากความรับผิด
เจ้าหนี้ฟ้องผู้ค้ำประกันให้รับผิดแทนลูกหนี้ เพราะลูกหนี้ไม่ชำระหนี้แก่เจ้าหนี้และอ้างว่าลูกหนี้ไม่มีทรัพย์สินพอชำระหนี้ เมื่อไม่ปรากฏว่า ลูกหนี้อยู่แห่งใด ผู้ค้ำประกันพิสูจน์ไม่ได้ว่า ลูกหนี้มีทางที่จะชำระหนี้ได้ และพิสูจน์ไม่ได้ว่าการที่จะบังคับให้ลูกหนี้ชำระหนี้ไม่เป็นการยาก ดังนั้นผู้ค้ำประกันจึงไม่พ้นจากความรับผิด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1486/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจะซื้อขาย: สิทธิในการบังคับให้โอนกรรมสิทธิแม้มีข้อตกลงเรื่องค่าปรับ
ทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินกัน ผู้ซื้อได้ชำระราคาส่วนใหญ่ให้แก่ผู้ขายไปแล้ว ราคาส่วนน้อยจะชำระเมื่อทำโอนกัน และผู้ซื้อได้เข้าครอบครองที่ดินนั้นแล้วดังนี้แม้ในสัญญาจะมีว่าถ้าผู้ขายบิดพลิ้วไม่ยอมขาย ยอมให้ผู้ซื้อฟ้องเรียกค่าเสียหาย และยอมให้ปรับอีกเป็นเงินจำนวนหนึ่งก็ตาม ผู้ซื้อก็ย่อมมีสิทธิที่จะมาฟ้องผู้ขายให้ชำระหนี้ตามสัญญาคือให้โอนขายที่ดินให้แก่ผู้ซื้อได้ ผู้ขายจะเถียงว่าผู้ซื้อยอมให้ผู้ขายเลือกชำระหนี้นั้นไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1486/2493
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาจะซื้อขายที่ดิน: ผู้ซื้อมีสิทธิฟ้องบังคับให้โอนกรรมสิทธิ์ได้ แม้มีข้อตกลงเรื่องค่าปรับ
ทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินกัน ผู้ซื้อได้ชำระราคาส่วนใหญ่ให้แก่ผู้ขายไปแล้ว ราคาส่วนน้อยจะชำระเมื่อทำโอนกันและผู้ซื้อได้เข้าครอบครองที่ดินนั้นแล้ว ดังนี้ แม้ในสัญญาจะมีว่าถ้าผู้ขายบิดพลิ้วไม่ยอมขาย ยอมให้ผู้ซื้อฟ้องเรียกค่าเสียหาย และยอมให้ปรับอีกเป็นเงินจำนวนหนึ่งก็ตาม ผู้ซื้อก็ย่อมมีสิทธิที่จะมาฟ้องผู้ขายให้ชำระหนี้ตามสัญญา คือให้โอนขายที่ดินให้แก่ผู้ซื้อได้ ผู้ขายจะเถียงว่าผู้ซื้อยอมให้ผู้ขายเลือกชำระหนี้นั้นไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1284/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหักเงินประกันผิดสัญญาจากค่าเสียหาย: ศาลฎีกาแก้ไขคำพิพากษาให้หักเงินประกัน 3,500 บาทออกจากค่าเสียหายที่โจทก์ต้องชดใช้
คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งวางเงินประกันในการผิดสัญญาไว้แล้วเกิดผิดสัญญาขึ้น ทำให้อีกฝ่ายหนึงเสียหายเมื่อฝ่ายนั้นจะริบเงินที่วางประกัน ก็ต้องหักเงินจำนวนที่ริบไว้จากค่าเสียหายที่จะให้ฝ่ายผิดสัญญาใช้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1284/2493
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การหักเงินประกันความเสียหาย: ค่าเสียหายต้องหักเงินวางประกันก่อน
คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งวางเงินประกันในการผิดสัญญาไว้แล้วเกิดผิดสัญญาขึ้น ทำให้อีกฝ่ายหนึ่ง เสียหาย เมื่อฝ่ายนั้นจะริบเงินที่วางประกัน ก็ต้องหักเงินจำนวนที่ริบไว้จากค่าเสียหายที่จะให้ฝ่ายผิดสัญญาใช้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1482-1483/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าเสียหายจากผิดสัญญาซื้อขายที่ดิน คำนวณจากราคาตลาดเมื่อจำเลยผัดผ่อน
การให้ค่าสินไหมทดแทนในกรณีผิดสัญญา ก็เพื่อที่จะชดใช้ และให้ความพอใจแก่ฝ่ายที่ไม่ผิดสัญญาสำหรับความเสียหายที่ฝ่ายนั้นได้รับ ฉะนั้น จึงต้องกำหนดจำนวนเงินที่จะให้ให้เพียงพอที่จะทำให้ฝ่ายที่ไม่ผิดสัญญากลับไปอยู่ในฐานะเดิมเช่นเดียวกับเมื่อไม่มีการผิดสัญญาเกิดขึ้น
คดีโจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยโอนที่ให้โจทก์ตามสัญญาจะขาย ถ้าจำเลยโอนที่ให้โจทก์ โจทก์ก็ย่อมได้ที่ถ้าหากที่นั้นมีราคามากกว่าราคาที่ตกลงไว้ในสัญญาราคาที่ผิดกันนั้น ย่อมเป็นผลประโยชน์ที่โจทก์สูญเสียไปจึงเป็นหลักค่าคำนวณค่าเสียหายได้
ในกรณีที่ผู้ขายที่ดินผิดสัญญา มีปัญหาว่าจะเอาราคาอันใด เมื่อได้ไปเทียบกับราคาในสัญญา ป.ม.แพ่งฯมาตรา 222 ไม่ได้กำหนดข้อนี้ไว้ ทั้งเป็นกรณีไม่ได้กำหนดเบี้ยปรับกันไว้ในสัญญา จึงไม่เข้ามาตรา 380 เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าเมื่อครบกำหนดโอนตามสัญญา จำเลยผัดผ่อนเรื่อยมาเพิ่งมาปฏิเสธไม่ยอมขายในภายหลัง จึงจะถือเอาราคาที่ดินในวันที่ครบกำหนดโอนตามสัญญาไม่ได้
คดีโจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยโอนที่ให้โจทก์ตามสัญญาจะขาย ถ้าจำเลยโอนที่ให้โจทก์ โจทก์ก็ย่อมได้ที่ถ้าหากที่นั้นมีราคามากกว่าราคาที่ตกลงไว้ในสัญญาราคาที่ผิดกันนั้น ย่อมเป็นผลประโยชน์ที่โจทก์สูญเสียไปจึงเป็นหลักค่าคำนวณค่าเสียหายได้
ในกรณีที่ผู้ขายที่ดินผิดสัญญา มีปัญหาว่าจะเอาราคาอันใด เมื่อได้ไปเทียบกับราคาในสัญญา ป.ม.แพ่งฯมาตรา 222 ไม่ได้กำหนดข้อนี้ไว้ ทั้งเป็นกรณีไม่ได้กำหนดเบี้ยปรับกันไว้ในสัญญา จึงไม่เข้ามาตรา 380 เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าเมื่อครบกำหนดโอนตามสัญญา จำเลยผัดผ่อนเรื่อยมาเพิ่งมาปฏิเสธไม่ยอมขายในภายหลัง จึงจะถือเอาราคาที่ดินในวันที่ครบกำหนดโอนตามสัญญาไม่ได้