พบผลลัพธ์ทั้งหมด 28 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 583/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดพิจารณาคดีและการไม่อนุญาตให้สืบพยานหลังยื่นบัญชีพยานเกินกำหนด
จำเลยมาศาลในวันนัดสืบพยานนัดแรก เมื่อสืบพยานโจทก์ได้ 2ปากแล้วโจทก์ขอเลื่อนไปสืบพยานที่เหลือต่อนัดหน้า จำเลยแถลงขอสืบพยานพร้อมพยานโจทก์ด้วย ถึงวันนัดจำเลยไม่มาศาลเช่นนี้ถือไม่ได้ว่าจำเลยขาดนัดพิจารณาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 197 วรรค 2 เพราะวันสืบพยานตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 1(10) หมายถึงวันที่ศาลเริ่มต้นทำการสืบพยานอีกทั้งการที่ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยแพ้คดีก็เพราะศาลสั่งไม่รับบัญชีระบุพยานของจำเลยด้วยเหตุที่ยื่นเกินกำหนดตามที่ระบุไว้ใน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88 ทำให้จำเลยไม่มีสิทธินำพยานเข้าสืบ ดังนี้ เป็นเรื่องที่จำเลยจะต้องอุทธรณ์คดีต่อไป จะร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่ไม่ได้กรณีไม่ต้องด้วย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 207ที่จะขอพิจารณาคดีใหม่ได้.(ที่มา-ส่งเสริม)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3341/2529
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนัดพิจารณาและการยื่นบัญชีพยาน: ความแตกต่างระหว่างวันนัดพิจารณาและวันสืบพยาน
ผู้ร้องยื่นคำร้องอ้างว่าเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาของจำเลยทั้งสองขอเฉลี่ยเงินที่ได้จากการขายทอดตลาดทรัพย์ของจำเลยตามส่วนศาลชั้นต้นมีคำสั่งในคำร้องว่านัดพิจารณาสำเนาให้โจทก์จำเลยเช่นนี้วันนัดพิจารณาคือวันที่ศาลชี้สองสถานสืบพยานทำการไต่สวนฟังคำขอต่างๆหรือฟังคำแถลงการณ์ด้วยวาจาเป็นต้นส่วนวันสืบพยานคือวันที่ศาลเริ่มต้นทำการสืบพยานวันที่ศาลนัดพิจารณาอาจจะมิใช่วันสืบพยานผู้ร้องและโจทก์จึงไม่จำต้องยื่นบัญชีพยานต่อศาลก่อนวันสืบพยานไม่น้อยกว่าสามวันตามบทบัญญัติประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา88.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3341/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนัดพิจารณาคำร้องขอเฉลี่ยเงินจากการบังคับคดี: ไม่ต้องยื่นบัญชีพยานก่อนวันสืบพยาน
ผู้ร้องยื่นคำร้องอ้างว่าเป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาของจำเลยขอเฉลี่ยเงินที่ได้จากการขายทอดตลาดทรัพย์ของจำเลยตามส่วนศาลชั้นต้นมีคำสั่งในคำร้องว่านัดพิจารณาสำเนาให้โจทก์จำเลยเช่นนี้วันนัดพิจารณาคือวันที่ศาลชี้สองสถานสืบพยานทำการไต่สวนฟังคำขอต่างๆหรือฟังคำแถลงการณ์ด้วยวาจาเป็นต้นส่วนวันสืบพยานคือวันที่ศาลเริ่มต้นทำการสืบพยานวันที่ศาลนัดพิจารณาอาจจะมิใช่วันสืบพยานผู้ร้องและโจทก์จึงไม่จำต้องยื่นบัญชีพยานต่อศาลก่อนวันสืบพยานไม่น้อยกว่าสามวันตามบทบัญญัติป.วิ.พ.มาตรา88.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3003/2527
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
วันสืบพยานคือวันเริ่มต้นสืบพยาน การไม่มาศาลในวันนัดสืบพยานจำเลยไม่ใช่ขาดนัดพิจารณา
วันสืบพยานตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 1(10)หมายความถึงวันที่ศาลเริ่มต้นทำการสืบพยาน ศาลชั้นต้นสืบพยานโจทก์เสร็จสิ้นแล้ว นัดสืบพยานจำเลย การที่จำเลยไม่มาศาลในวันนัดสืบพยานจำเลย จึงไม่ใช่เป็นการขาดนัดพิจารณาตามมาตรา 197 วรรคสองศาลชั้นต้นมีคำสั่งว่าจำเลยไม่มีพยานมาสืบให้งดสืบพยานจำเลย แล้วพิพากษาให้จำเลยแพ้คดี ดังนี้ จำเลยจะต้องอุทธรณ์ต่อไป จะยื่นคำร้องว่าไม่จงใจขาดนัด ขอให้พิจารณาคดีใหม่หาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2909/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขเพิ่มเติมฟ้องคดีแรงงาน, การเลิกจ้างลูกจ้างที่มีประวัติเคยถูกจำคุก, และข้อยกเว้นค่าชดเชย
เมื่อคดีไม่ปรากฏว่าศาลแรงงานกลางได้ทำการชี้สองสถานหรือทำการสืบพยานโจทก์ย่อมยื่นคำร้องแก้ไขเพิ่มเติมฟ้องได้ก่อนศาลแรงงานกลางมีคำพิพากษา
เมื่อศาลแรงงานกลางฟังว่าโจทก์มิได้จงใจทำความเสียหายให้จำเลยจำเลยจะอุทธรณ์ว่าการกระทำของโจทก์ย่อมเล็งเห็นผลทำให้จำเลยเสียหายอันเป็นการโต้แย้งคำวินิจฉัยในข้อเท็จจริงมิได้อุทธรณ์จำเลยต้องห้ามตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522 มาตรา 54วรรคแรก
ข้อยกเว้นซึ่งนายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ ลูกจ้างประจำซึ่งเลิกจ้างตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน ลงวันที่ 16 เมษายน 2515 ข้อ 47(6) ได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกหมายถึงได้รับโทษตามคำพิพากษาของศาลให้จำคุกคดีถึงที่สุดขณะที่เป็นลูกจ้างหาใช่ได้รับโทษและพ้นโทษมาแล้วจึงมาเป็นลูกจ้างไม่
เมื่อศาลแรงงานกลางฟังว่าโจทก์มิได้จงใจทำความเสียหายให้จำเลยจำเลยจะอุทธรณ์ว่าการกระทำของโจทก์ย่อมเล็งเห็นผลทำให้จำเลยเสียหายอันเป็นการโต้แย้งคำวินิจฉัยในข้อเท็จจริงมิได้อุทธรณ์จำเลยต้องห้ามตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522 มาตรา 54วรรคแรก
ข้อยกเว้นซึ่งนายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ ลูกจ้างประจำซึ่งเลิกจ้างตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงาน ลงวันที่ 16 เมษายน 2515 ข้อ 47(6) ได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกหมายถึงได้รับโทษตามคำพิพากษาของศาลให้จำคุกคดีถึงที่สุดขณะที่เป็นลูกจ้างหาใช่ได้รับโทษและพ้นโทษมาแล้วจึงมาเป็นลูกจ้างไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2909/2524 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขฟ้อง, การเลิกจ้าง, และข้อยกเว้นค่าชดเชย: กรณีลูกจ้างเคยถูกจำคุกก่อนเข้าทำงาน
เมื่อคดีไม่ปรากฏว่าศาลแรงงานกลางได้ทำการชี้สองสถาน หรือทำการสืบพยานโจทก์ย่อมยื่นคำร้องแก้ไขเพิ่มเติมฟ้องได้ก่อนศาลแรงงานกลางมีคำพิพากษา
เมื่อศาลแรงงานกลางฟังว่าโจทก์มิได้จงใจทำความเสียหายให้จำเลย จำเลยจะอุทธรณ์ว่าการกระทำของโจทก์ย่อมเล็งเห็นผลทำให้จำเลยเสียหายอันเป็นการโต้แย้งคำวินิจฉัยในข้อเท็จจริงมิได้ อุทธรณ์จำเลยต้องห้ามตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 54 วรรคแรก
ข้อยกเว้นซึ่งนายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างประจำซึ่งเลิกจ้างตามประกาศกระทราวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงานลงวันที่ 16 เมษายน 2515 ข้อ 47(6) ได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก หมายถึง ได้รับโทษตามคำพิพากษาของศาลให้จำคุกคดีถึงที่สุดขณะที่เป็นลูกจ้าง หาใช่ได้รับโทษและพ้นโทษมาแล้วจึงมาเป็นลูกจ้างไม่
เมื่อศาลแรงงานกลางฟังว่าโจทก์มิได้จงใจทำความเสียหายให้จำเลย จำเลยจะอุทธรณ์ว่าการกระทำของโจทก์ย่อมเล็งเห็นผลทำให้จำเลยเสียหายอันเป็นการโต้แย้งคำวินิจฉัยในข้อเท็จจริงมิได้ อุทธรณ์จำเลยต้องห้ามตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 54 วรรคแรก
ข้อยกเว้นซึ่งนายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างประจำซึ่งเลิกจ้างตามประกาศกระทราวงมหาดไทย เรื่องการคุ้มครองแรงงานลงวันที่ 16 เมษายน 2515 ข้อ 47(6) ได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก หมายถึง ได้รับโทษตามคำพิพากษาของศาลให้จำคุกคดีถึงที่สุดขณะที่เป็นลูกจ้าง หาใช่ได้รับโทษและพ้นโทษมาแล้วจึงมาเป็นลูกจ้างไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1496/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดพิจารณาคดี: วันนัดสืบพยานจำเลยไม่ใช่การขาดนัดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ศาลชั้นต้นสืบพยานโจทก์เสร็จแล้วนัดสืบพยานจำเลย จำเลยทราบวันนัดแล้วไม่มาศาล ดังนี้ ไม่ใช่การขาดนัดพิจารณาตามความหมายของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 197 ประกอบด้วยมาตรา 1(10) จำเลยไม่มีสิทธิขอให้พิจารณาใหม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 726/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดพิจารณา: ศาลต้องมีคำสั่งแสดงการขาดนัดก่อนชี้ขาดคดี
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 197 วรรคสองเป็นบทบัญญัติถึงลักษณะของการที่จะถือว่าคู่ความขาดนัดพิจารณา. ส่วนมาตรา 202 เป็นบทบัญญัติที่กำหนดวิธีการปฏิบัติเมื่อจำเลยขาดนัดพิจารณา บทบัญญัติสองมาตรานี้ผิดแผกแตกต่างกัน.
ในกรณีที่จำเลยไม่มาศาลในวันสืบพยานและมิได้ร้องขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องที่ไม่มาศาลเสียก่อนลงมือสืบพยาน. ซึ่งถือว่าจำเลยขาดนัดพิจารณานั้น ศาลจำต้องมีคำสั่งว่าจำเลยขาดนัดพิจารณาเสียก่อน. แล้วจึงจะทำการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีไปฝ่ายเดียวตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 202 และมาตราต่อๆ ไปได้. หากไม่มีคำสั่งดังกล่าวเสียก่อน. ก็ไม่เป็นการพิจารณาฝ่ายเดียวตามกฎหมาย.
ในกรณีที่จำเลยไม่มาศาลในวันสืบพยานและมิได้ร้องขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องที่ไม่มาศาลเสียก่อนลงมือสืบพยาน. ซึ่งถือว่าจำเลยขาดนัดพิจารณานั้น ศาลจำต้องมีคำสั่งว่าจำเลยขาดนัดพิจารณาเสียก่อน. แล้วจึงจะทำการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีไปฝ่ายเดียวตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 202 และมาตราต่อๆ ไปได้. หากไม่มีคำสั่งดังกล่าวเสียก่อน. ก็ไม่เป็นการพิจารณาฝ่ายเดียวตามกฎหมาย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 726/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขาดนัดพิจารณาคดีล้มละลาย: จำเป็นต้องมีคำสั่งแสดงการขาดนัดก่อนพิจารณาคดี
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 197 วรรคสองเป็นบทบัญญัติถึงลักษณะของการที่จะถือว่าคู่ความขาดนัดพิจารณา ส่วนมาตรา 202 เป็นบทบัญญัติที่กำหนดวิธีการปฏิบัติเมื่อจำเลยขาดนัดพิจารณา บทบัญญัติสองมาตรานี้ผิดแผกแตกต่างกัน
ในกรณีที่จำเลยไม่มาศาลในวันสืบพยานและมิได้ร้องขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องที่ไม่มาศาลเสียก่อนลงมือสืบพยาน ซึ่งถือว่าจำเลยขาดนัดพิจารณานั้น ศาลจำต้องมีคำสั่งว่าจำเลยขาดนัดพิจารณาเสียก่อน แล้วจึงจะทำการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีไปฝ่ายเดียวตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 202 และมาตราต่อ ๆ ไปได้ หากไม่มีคำสั่งดังกล่าวเสียก่อน ก็ไม่เป็นการพิจารณาฝ่ายเดียวตามกฎหมาย
ในกรณีที่จำเลยไม่มาศาลในวันสืบพยานและมิได้ร้องขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องที่ไม่มาศาลเสียก่อนลงมือสืบพยาน ซึ่งถือว่าจำเลยขาดนัดพิจารณานั้น ศาลจำต้องมีคำสั่งว่าจำเลยขาดนัดพิจารณาเสียก่อน แล้วจึงจะทำการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีไปฝ่ายเดียวตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 202 และมาตราต่อ ๆ ไปได้ หากไม่มีคำสั่งดังกล่าวเสียก่อน ก็ไม่เป็นการพิจารณาฝ่ายเดียวตามกฎหมาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 726/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขาดนัดพิจารณา: ศาลต้องมีคำสั่งแสดงการขาดนัดก่อนชี้ขาดคดีตามมาตรา 202
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 197 วรรคสองเป็นบทบัญญัติถึงลักษณะของการที่จะถือว่าคู่ความขาดนัดพิจารณาส่วนมาตรา 202 เป็นบทบัญญัติที่กำหนดวิธีการปฏิบัติเมื่อจำเลยขาดนัดพิจารณา บทบัญญัติสองมาตรานี้ผิดแผกแตกต่างกัน
ในกรณีที่จำเลยไม่มาศาลในวันสืบพยานและมิได้ร้องขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องที่ไม่มาศาลเสียก่อนลงมือสืบพยานซึ่งถือว่าจำเลยขาดนัดพิจารณานั้น ศาลจำต้องมีคำสั่งว่าจำเลยขาดนัดพิจารณาเสียก่อนแล้วจึงจะทำการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีไปฝ่ายเดียวตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 202 และมาตราต่อๆ ไปได้ หากไม่มีคำสั่งดังกล่าวเสียก่อน ก็ไม่เป็นการพิจารณาฝ่ายเดียวตามกฎหมาย
ในกรณีที่จำเลยไม่มาศาลในวันสืบพยานและมิได้ร้องขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหตุขัดข้องที่ไม่มาศาลเสียก่อนลงมือสืบพยานซึ่งถือว่าจำเลยขาดนัดพิจารณานั้น ศาลจำต้องมีคำสั่งว่าจำเลยขาดนัดพิจารณาเสียก่อนแล้วจึงจะทำการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีไปฝ่ายเดียวตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 202 และมาตราต่อๆ ไปได้ หากไม่มีคำสั่งดังกล่าวเสียก่อน ก็ไม่เป็นการพิจารณาฝ่ายเดียวตามกฎหมาย