พบผลลัพธ์ทั้งหมด 125 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1447/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในการจัดการมรดกถูกระงับด้วยสัญญาประนีประนอมยอมความ ผู้ร้องไม่สามารถเป็นผู้จัดการมรดกได้
ผู้ร้องกับบุตรผู้คัดค้านเป็นสามีภริยากันโดยไม่จดทะเบียนสมรสเกิดบุตรด้วยกัน 1 คน ซึ่งบิดาได้รับรองแล้ว ต่อมาบุตรผู้คัดค้านและบุตรผู้ร้องถึงแก่ความตายวันเดียวกัน โดยบุตรผู้คัดค้านตายก่อนผู้ร้องจึงร้องขอจัดการมรดกของบุตร ซึ่งได้รับมรดกตกทอดมาจากบุตรผู้คัดค้าน ไม่มีมรดกอื่นอีก ผู้คัดค้านได้คัดค้านว่า ผู้ร้องได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความกับผู้คัดค้านว่าจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับทรัพย์มรดกของบุตรผู้คัดค้าน โดยผู้คัดค้านได้จ่ายเงินจำนวนหนึ่งให้ผู้ร้องรับไปเสร็จสิ้นแล้ว ดังนั้นหากฟังได้ตามคำคัดค้านย่อมถือได้ว่า ผู้ร้องได้ยอมสละสิทธิที่จะไม่ยุ่งเกี่ยวหรือเรียกร้องทรัพย์สินใดๆเกี่ยวกับทรัพย์มรดกของบุตรผู้คัดค้าน อันจะเป็นมรดกแก่บุตรผู้ร้อง และตกทอดมายังผู้ร้อง เมื่อผู้ร้องได้สละสิทธิดังกล่าวโดยได้รับเงินตอบแทนไปแล้ว จึงเป็นอันว่ามรดกของบุตรผู้ร้องไม่มีแล้ว แม้ผู้ร้องจะเป็นทายาทของบุตร ตามพฤติการณ์ก็ไม่มีเหตุที่จะให้ศาลตั้งเพื่อประโยชน์แก่กองมรดกของบุตร ซึ่งไม่มีจะให้จัดการอีกต่อไป คำคัดค้านของผู้คัดค้านจึงไม่ใช่เรื่องนอกประเด็น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1447/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาประนีประนอมยอมความกับการสละสิทธิเรียกร้องมรดก: ผลกระทบต่อการจัดการมรดกของทายาท
ผู้ร้องกับบุตรผู้คัดค้านเป็นสามีภริยากันโดยไม่จดทะเบียนสมรส. เกิดบุตรด้วยกัน 1 คน. ซึ่งบิดาได้รับรองแล้ว. ต่อมาบุตรผู้คัดค้านและบุตรผู้ร้องถึงแก่ความตายวันเดียวกัน. โดยบุตรผู้คัดค้านตายก่อนผู้ร้องจึงร้องขอจัดการมรดกของบุตร. ซึ่งได้รับมรดกตกทอดมาจากบุตรผู้คัดค้าน. ไม่มีมรดกอื่นอีก. ผู้คัดค้านได้คัดค้านว่า. ผู้ร้องได้ทำสัญญาประนีประนอมยอมความกับผู้คัดค้านว่าจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับทรัพย์มรดกของบุตรผู้คัดค้าน. โดยผู้คัดค้านได้จ่ายเงินจำนวนหนึ่งให้ผู้ร้องรับไปเสร็จสิ้นแล้ว. ดังนั้นหากฟังได้ตามคำคัดค้าน.ย่อมถือได้ว่า ผู้ร้องได้ยอมสละสิทธิที่จะไม่ยุ่งเกี่ยวหรือเรียกร้องทรัพย์สินใดๆเกี่ยวกับทรัพย์มรดกของบุตรผู้คัดค้าน. อันจะเป็นมรดกแก่บุตรผู้ร้อง. และตกทอดมายังผู้ร้อง. เมื่อผู้ร้องได้สละสิทธิดังกล่าวโดยได้รับเงินตอบแทนไปแล้ว. จึงเป็นอันว่ามรดกของบุตรผู้ร้องไม่มีแล้ว. แม้ผู้ร้องจะเป็นทายาทของบุตร. ตามพฤติการณ์ก็ไม่มีเหตุที่จะให้ศาลตั้งเพื่อประโยชน์แก่กองมรดกของบุตร.ซึ่งไม่มีจะให้จัดการอีกต่อไป. คำคัดค้านของผู้คัดค้านจึงไม่ใช่เรื่องนอกประเด็น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 543/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความการเรียกร้องมรดกตามพินัยกรรม: ผู้รับพินัยกรรมมีสิทธิฟ้องภายใน 1 ปี หากไม่มีผู้จัดการมรดก
โจทก์และจำเลยต่างเป็นผู้รับพินัยกรรม แต่โจทก์เป็นผู้ครอบครองมรดกแต่ผู้เดียว เมื่อจำเลยมิได้ฟ้องร้องคดีเพื่อเรียกร้องเอามรดกตามพินัยกรรมจนพ้นกำหนดหนึ่งปี นับแต่วันที่จำเลยรู้ถึงสิทธิซึ่งจำเลยมีอยู่ตามพินัยกรรมแล้ว โจทก์ย่อมกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 วรรคสอง ขึ้นใช้ยันจำเลย และฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้คัดค้านการที่โจทก์ขอรับมรดกได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1755 เป็นบทบัญญัติถึงเรื่องการใช้อายุความหนึ่งปีขึ้นต่อสู้ว่าต้องเป็นทายาท หรือบุคคลซึ่งชอบที่จะใช้สิทธิของทายาท หรือผู้จัดการมรดก โจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรม จึงมีสิทธิกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีขึ้นใช้ยันจำเลยซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมด้วยกันได้
ที่ดินมรดกมีหลายแปลง มีข้อกำหนดตามพินัยกรรมในเรื่องผู้จัดการมรดกเฉพาะที่ดินที่พิพาทกับผู้มีชื่อ โดยไม่ได้ระบุว่าที่ดินแปลงใดอันจะเป็นมรดกที่มีผู้จัดการซึ่งมีสิทธิฟ้องเรียกเอาได้เกินหนึ่งปี เมื่อจำเลยจะอ้างประโยชน์จากอายุความเพราะเหตุนี้ ภาระการพิสูจน์ย่อมตกแก่จำเลย
ที่ดินมรดกหลายแปลง แปลงใดที่พินัยกรรมมิได้กำหนดให้มีผู้จัดการมรดก ผู้รับพินัยกรรมจะฟ้องเรียกเอาเกินกว่าหนึ่งปีไม่ได้
โจทก์ซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมครอบครองที่ดินมรดกมาแต่ผู้เดียวเกินกว่าหนึ่งปี ฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้เกี่ยวข้องกับมรดก จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่ามรดกรายนี้มีผู้จัดการอันจะทำให้มีสิทธิฟ้องร้องเกินหนึ่งปีได้ ประเด็นนี้จึงไม่เป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาแล้วในศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ไม่มีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัย เพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1755 เป็นบทบัญญัติถึงเรื่องการใช้อายุความหนึ่งปีขึ้นต่อสู้ว่าต้องเป็นทายาท หรือบุคคลซึ่งชอบที่จะใช้สิทธิของทายาท หรือผู้จัดการมรดก โจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรม จึงมีสิทธิกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีขึ้นใช้ยันจำเลยซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมด้วยกันได้
ที่ดินมรดกมีหลายแปลง มีข้อกำหนดตามพินัยกรรมในเรื่องผู้จัดการมรดกเฉพาะที่ดินที่พิพาทกับผู้มีชื่อ โดยไม่ได้ระบุว่าที่ดินแปลงใดอันจะเป็นมรดกที่มีผู้จัดการซึ่งมีสิทธิฟ้องเรียกเอาได้เกินหนึ่งปี เมื่อจำเลยจะอ้างประโยชน์จากอายุความเพราะเหตุนี้ ภาระการพิสูจน์ย่อมตกแก่จำเลย
ที่ดินมรดกหลายแปลง แปลงใดที่พินัยกรรมมิได้กำหนดให้มีผู้จัดการมรดก ผู้รับพินัยกรรมจะฟ้องเรียกเอาเกินกว่าหนึ่งปีไม่ได้
โจทก์ซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมครอบครองที่ดินมรดกมาแต่ผู้เดียวเกินกว่าหนึ่งปี ฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้เกี่ยวข้องกับมรดก จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่ามรดกรายนี้มีผู้จัดการอันจะทำให้มีสิทธิฟ้องร้องเกินหนึ่งปีได้ ประเด็นนี้จึงไม่เป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาแล้วในศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ไม่มีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัย เพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 543/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความการเรียกร้องมรดกตามพินัยกรรม: การครอบครองมรดกแต่ผู้เดียวและการยกเว้นอายุความ
โจทก์และจำเลยต่างเป็นผู้รับพินัยกรรมแต่โจทก์เป็นผู้ครอบครองมรดกแต่ผู้เดียวเมื่อจำเลยมิได้ฟ้องร้องคดีเพื่อเรียกร้องเอามรดกตามพินัยกรรมจนพ้นกำหนดหนึ่งปีนับแต่วันที่จำเลยรู้ถึงสิทธิซึ่งจำเลยมีอยู่ตามพินัยกรรมแล้ว โจทก์ย่อมกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 วรรคสอง ขึ้นใช้ยันจำเลย และฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้คัดค้านการที่โจทก์ขอรับมรดกได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1755 เป็นบทบัญญัติถึงเรื่องการใช้อายุความหนึ่งปีขึ้นต่อสู้ว่าต้องเป็นทายาทหรือบุคคลซึ่งชอบที่จะใช้สิทธิของทายาทหรือผู้จัดการมรดก โจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรม จึงมีสิทธิกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีขึ้นใช้ยันจำเลยซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมด้วยกันได้
ที่ดินมรดกมีหลายแปลง มีข้อกำหนดตามพินัยกรรมในเรื่องผู้จัดการมรดกเฉพาะที่ดินที่พิพาทกับผู้มีชื่อโดยไม่ได้ระบุว่าที่ดินแปลงใดอันจะเป็นมรดกที่มีผู้จัดการซึ่งมีสิทธิฟ้องเรียกเอาได้เกินหนึ่งปีเมื่อจำเลยจะอ้างประโยชน์จากอายุความเพราะเหตุนี้ภาระการพิสูจน์ย่อมตกแก่จำเลย
ที่ดินมรดกหลายแปลง แปลงใดที่พินัยกรรมมิได้กำหนดให้มีผู้จัดการมรดก ผู้รับพินัยกรรมจะฟ้องเรียกเอาเกินกว่าหนึ่งปีไม่ได้
โจทก์ซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมครอบครองที่ดินมรดกมาแต่ผู้เดียวเกินกว่าหนึ่งปีฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้เกี่ยวข้องกับมรดกจำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่ามรดกรายนี้มีผู้จัดการอันจะทำให้มีสิทธิฟ้องร้องเกินหนึ่งปีได้ประเด็นนี้จึงไม่เป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาแล้วในศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ไม่มีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยเพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1755 เป็นบทบัญญัติถึงเรื่องการใช้อายุความหนึ่งปีขึ้นต่อสู้ว่าต้องเป็นทายาทหรือบุคคลซึ่งชอบที่จะใช้สิทธิของทายาทหรือผู้จัดการมรดก โจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรม จึงมีสิทธิกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีขึ้นใช้ยันจำเลยซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมด้วยกันได้
ที่ดินมรดกมีหลายแปลง มีข้อกำหนดตามพินัยกรรมในเรื่องผู้จัดการมรดกเฉพาะที่ดินที่พิพาทกับผู้มีชื่อโดยไม่ได้ระบุว่าที่ดินแปลงใดอันจะเป็นมรดกที่มีผู้จัดการซึ่งมีสิทธิฟ้องเรียกเอาได้เกินหนึ่งปีเมื่อจำเลยจะอ้างประโยชน์จากอายุความเพราะเหตุนี้ภาระการพิสูจน์ย่อมตกแก่จำเลย
ที่ดินมรดกหลายแปลง แปลงใดที่พินัยกรรมมิได้กำหนดให้มีผู้จัดการมรดก ผู้รับพินัยกรรมจะฟ้องเรียกเอาเกินกว่าหนึ่งปีไม่ได้
โจทก์ซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมครอบครองที่ดินมรดกมาแต่ผู้เดียวเกินกว่าหนึ่งปีฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้เกี่ยวข้องกับมรดกจำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่ามรดกรายนี้มีผู้จัดการอันจะทำให้มีสิทธิฟ้องร้องเกินหนึ่งปีได้ประเด็นนี้จึงไม่เป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาแล้วในศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ไม่มีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัยเพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 543/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความผู้รับพินัยกรรม: การครอบครองมรดกและการฟ้องร้องเรียกร้องสิทธิ
โจทก์และจำเลยต่างเป็นผู้รับพินัยกรรม. แต่โจทก์เป็นผู้ครอบครองมรดกแต่ผู้เดียว. เมื่อจำเลยมิได้ฟ้องร้องคดีเพื่อเรียกร้องเอามรดกตามพินัยกรรมจนพ้นกำหนดหนึ่งปีนับแต่วันที่จำเลยรู้ถึงสิทธิซึ่งจำเลยมีอยู่ตามพินัยกรรมแล้ว. โจทก์ย่อมกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1754 วรรคสอง ขึ้นใช้ยันจำเลย และฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้คัดค้านการที่โจทก์ขอรับมรดกได้.
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1755 เป็นบทบัญญัติถึงเรื่องการใช้อายุความหนึ่งปีขึ้นต่อสู้ว่าต้องเป็นทายาท.หรือบุคคลซึ่งชอบที่จะใช้สิทธิของทายาทหรือผู้จัดการมรดก. โจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรม จึงมีสิทธิกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีขึ้นใช้ยันจำเลยซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมด้วยกันได้.
ที่ดินมรดกมีหลายแปลง มีข้อกำหนดตามพินัยกรรมในเรื่องผู้จัดการมรดกเฉพาะที่ดินที่พิพาทกับผู้มีชื่อ. โดยไม่ได้ระบุว่าที่ดินแปลงใดอันจะเป็นมรดกที่มีผู้จัดการซึ่งมีสิทธิฟ้องเรียกเอาได้เกินหนึ่งปี. เมื่อจำเลยจะอ้างประโยชน์จากอายุความเพราะเหตุนี้. ภาระการพิสูจน์ย่อมตกแก่จำเลย.
ที่ดินมรดกหลายแปลง. แปลงใดที่พินัยกรรมมิได้กำหนดให้มีผู้จัดการมรดก. ผู้รับพินัยกรรมจะฟ้องเรียกเอาเกินกว่าหนึ่งปีไม่ได้.
โจทก์ซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมครอบครองที่ดินมรดกมาแต่ผู้เดียวเกินกว่าหนึ่งปี. ฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้เกี่ยวข้องกับมรดก. จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่ามรดกรายนี้มีผู้จัดการอันจะทำให้มีสิทธิฟ้องร้องเกินหนึ่งปีได้.ประเด็นนี้จึงไม่เป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาแล้วในศาลชั้นต้น. ศาลอุทธรณ์ไม่มีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัย.เพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น.
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1755 เป็นบทบัญญัติถึงเรื่องการใช้อายุความหนึ่งปีขึ้นต่อสู้ว่าต้องเป็นทายาท.หรือบุคคลซึ่งชอบที่จะใช้สิทธิของทายาทหรือผู้จัดการมรดก. โจทก์เป็นผู้รับพินัยกรรม จึงมีสิทธิกล่าวอ้างอายุความหนึ่งปีขึ้นใช้ยันจำเลยซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมด้วยกันได้.
ที่ดินมรดกมีหลายแปลง มีข้อกำหนดตามพินัยกรรมในเรื่องผู้จัดการมรดกเฉพาะที่ดินที่พิพาทกับผู้มีชื่อ. โดยไม่ได้ระบุว่าที่ดินแปลงใดอันจะเป็นมรดกที่มีผู้จัดการซึ่งมีสิทธิฟ้องเรียกเอาได้เกินหนึ่งปี. เมื่อจำเลยจะอ้างประโยชน์จากอายุความเพราะเหตุนี้. ภาระการพิสูจน์ย่อมตกแก่จำเลย.
ที่ดินมรดกหลายแปลง. แปลงใดที่พินัยกรรมมิได้กำหนดให้มีผู้จัดการมรดก. ผู้รับพินัยกรรมจะฟ้องเรียกเอาเกินกว่าหนึ่งปีไม่ได้.
โจทก์ซึ่งเป็นผู้รับพินัยกรรมครอบครองที่ดินมรดกมาแต่ผู้เดียวเกินกว่าหนึ่งปี. ฟ้องขอให้ห้ามจำเลยมิให้เกี่ยวข้องกับมรดก. จำเลยมิได้ให้การต่อสู้ว่ามรดกรายนี้มีผู้จัดการอันจะทำให้มีสิทธิฟ้องร้องเกินหนึ่งปีได้.ประเด็นนี้จึงไม่เป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากล่าวกันมาแล้วในศาลชั้นต้น. ศาลอุทธรณ์ไม่มีอำนาจหยิบยกขึ้นวินิจฉัย.เพราะเป็นเรื่องนอกประเด็น.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 382/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เสียงข้างมากผู้จัดการมรดกมีอำนาจจัดการทรัพย์มรดก บุคคลภายนอกต้องยินยอมตาม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1726 นั้น การทำการตามหน้าที่ของผู้จัดการมรดกต้องเป็นไปตามเสียงข้างมาก. และเสียงข้างมากดังกล่าวนี้มิได้มีกฎหมายบังคับว่าต้องจัดให้มีการประชุมผู้จัดการมรดกเพื่อปรึกษาออกเสียงกันโดยตรงในกรณีที่ผู้จัดการมรดกเห็นควรดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งในการจัดการมรดก และปรากฏว่าได้แจ้งไปยังผู้จัดการมรดกทุกคนแล้ว มีผู้เห็นด้วยเป็นส่วนมาก ความเห็นส่วนข้างมากนั้นก็ถือได้ว่าเป็นเสียงข้างมาก ตกเป็นหน้าที่ของผู้จัดการมรดกที่จะต้องจัดการไปตามนั้นผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากก็อาจดำเนินการไปในนามของผู้จัดการมรดกทั้งคณะได้ การรวบรวมทรัพย์มรดกก็ตาม ก็เป็นการจัดการมรดก บุคคลภายนอกหากได้ทราบความเห็นหรือเสียงข้างมากที่ให้เรียกทรัพย์มรดกนั้นแล้ว ก็ต้องรับรู้และยินยอมให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากรับทรัพย์มรดกไปจะเกี่ยงให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากนำผู้จัดการมรดกส่วนข้างน้อยเข้ามาร่วมจัดการด้วยหาได้ไม่
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิด แต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิด จะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญา ซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ส่วนจำเลยที่ 2, 3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3 ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้นเป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิด แต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิด จะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญา ซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ส่วนจำเลยที่ 2, 3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3 ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้นเป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 382/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เสียงข้างมากของผู้จัดการมรดกมีผลผูกพัน การจัดการทรัพย์มรดกต้องเป็นไปตามเสียงข้างมาก แม้ผู้จัดการมรดกส่วนน้อยไม่ยินยอม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1726 นั้น การทำการตามหน้าที่ของผู้จัดการมรดกต้องเป็นไปตามเสียงข้างมาก และเสียงข้างมากดังกล่าวนี้มิได้มีกฎหมายบังคับว่าต้องจัดให้มีการประชุมผู้จัดการมรดกเพื่อปรึกษาออกเสียงกันโดยตรงในกรณีที่ผู้จัดการมรดกเห็นควรดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งในการจัดการมรดกและปรากฏว่าได้แจ้งไปยังผู้จัดการมรดกทุกคนแล้ว มีผู้เห็นด้วยเป็นส่วนมาก ความเห็นส่วนข้างมากนั้นก็ถือได้ว่าเป็นเสียงข้างมากตกเป็นหน้าที่ของผู้จัดการมรดกที่จะต้องจัดการไปตามนั้นผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากก็อาจดำเนินการไปในนามของผู้จัดการมรดกทั้งคณะได้การรวบรวมทรัพย์มรดกก็ตาม ก็เป็นการจัดการมรดก บุคคลภายนอกหากได้ทราบความเห็นหรือเสียงข้างมากที่ให้เรียกทรัพย์มรดกนั้นแล้วก็ต้องรับรู้และยินยอมให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากรับทรัพย์มรดกไปจะเกี่ยงให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากนำผู้จัดการมรดกส่วนข้างน้อยเข้ามาร่วมจัดการด้วยหาได้ไม่
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิดแต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิดจะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญาซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ส่วนจำเลยที่ 2,3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้นเป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิดแต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิดจะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญาซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 ส่วนจำเลยที่ 2,3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1 แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้นเป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161 และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 382/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เสียงข้างมากของผู้จัดการมรดกมีผลผูกพัน การจัดการมรดกต้องเป็นไปตามเสียงข้างมาก แม้ผู้จัดการมรดกส่วนน้อยไม่ยินยอม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1726 นั้น. การทำการตามหน้าที่ของผู้จัดการมรดกต้องเป็นไปตามเสียงข้างมาก. และเสียงข้างมากดังกล่าวนี้มิได้มีกฎหมายบังคับว่าต้องจัดให้มีการประชุมผู้จัดการมรดกเพื่อปรึกษาออกเสียงกันโดยตรงในกรณีที่ผู้จัดการมรดกเห็นควรดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งในการจัดการมรดก. และปรากฏว่าได้แจ้งไปยังผู้จัดการมรดกทุกคนแล้ว มีผู้เห็นด้วยเป็นส่วนมาก. ความเห็นส่วนข้างมากนั้นก็ถือได้ว่าเป็นเสียงข้างมากตกเป็นหน้าที่ของผู้จัดการมรดกที่จะต้องจัดการไปตามนั้น.ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากก็อาจดำเนินการไปในนามของผู้จัดการมรดกทั้งคณะได้. การรวบรวมทรัพย์มรดกก็ตาม ก็เป็นการจัดการมรดก บุคคลภายนอกหากได้ทราบความเห็นหรือเสียงข้างมากที่ให้เรียกทรัพย์มรดกนั้นแล้ว. ก็ต้องรับรู้และยินยอมให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากรับทรัพย์มรดกไป.จะเกี่ยงให้ผู้จัดการมรดกส่วนข้างมากนำผู้จัดการมรดกส่วนข้างน้อยเข้ามาร่วมจัดการด้วยหาได้ไม่.
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิด. แต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิด. จะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญา. ซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1. ส่วนจำเลยที่ 2,3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1. แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้น.เป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161. และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข.
ศาลชั้นต้นเห็นว่าการกระทำของจำเลยเป็นละเมิด. แต่ศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่เป็นละเมิด. จะถือได้อย่างมากเพียงแต่เป็นการผิดสัญญา. ซึ่งเป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1. ส่วนจำเลยที่ 2,3 ไม่ต้องรับผิดร่วมกับจำเลยที่ 1. แล้วพิพากษายืนในข้อที่ให้จำเลยที่ 2, 3ร่วมเสียค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความในศาลชั้นต้นด้วยนั้น.เป็นเรื่องการใช้ดุลพินิจของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 161. และไม่มีเหตุอันสมควรที่ศาลฎีกาจะแก้ไข.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 948/2507 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลผูกพันสัญญาประนีประนอมยอมความต่อผู้จัดการมรดกคนใหม่ แม้จะไม่รู้เห็นสัญญาเดิม
ผู้จัดการมรดกทำสัญญาประนีประนอมยอมความในศาล และศาลได้พิพากษาตามยอม ผลของคำพิพากษายอ่มผูกพันผู้จัดการมรดกในฐานะคู่ความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 145 นับแต่วันพิพากษา จนกว่าคำพิพากษานั้นถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไข
ผู้จัดการมรดกคนใหม่ย่อมถูกผูกพันตามสัญญาประนีประนอมยอมความ และคำพิพากษาตามยอมซึ่งผูกพัน ผู้จัดการมรดกคนก่อนในฐานะเป็นคู่ความต่อไป จะอ้างความไม่รู้เห็นในการทำสัญญาประนีประนอมยอมความขึ้นเป็นเหตุให้พ้นความผูกพันไม่ได้
ผู้จัดการมรดกคนใหม่ย่อมถูกผูกพันตามสัญญาประนีประนอมยอมความ และคำพิพากษาตามยอมซึ่งผูกพัน ผู้จัดการมรดกคนก่อนในฐานะเป็นคู่ความต่อไป จะอ้างความไม่รู้เห็นในการทำสัญญาประนีประนอมยอมความขึ้นเป็นเหตุให้พ้นความผูกพันไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 948/2507
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลผูกพันสัญญาประนีประนอมยอมความต่อผู้จัดการมรดกคนใหม่ ผู้จัดการมรดกต้องรับผิดตามสัญญาเดิม แม้จะไม่รู้เห็น
ผู้จัดการมรดกทำสัญญาประนีประนอมยอมความในศาล และศาลได้พิพากษาตามยอม ผลของคำพิพากษาย่อมผูกพันผู้จัดการมรดกในฐานะคู่ความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 145นับแต่วันพิพากษา จนกว่าคำพิพากษานั้นถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไข
ผู้จัดการมรดกคนใหม่ย่อมถูกผูกพันตามสัญญาประนีประนอมยอมความ และคำพิพากษาตามยอมซึ่งผูกพันผู้จัดการมรดกคนก่อนในฐานะเป็นคู่ความต่อไป จะอ้างความไม่รู้เห็นในการทำสัญญาประนีประนอมยอมความ ขึ้นเป็นเหตุให้พ้นความผูกพันไม่ได้
ผู้จัดการมรดกคนใหม่ย่อมถูกผูกพันตามสัญญาประนีประนอมยอมความ และคำพิพากษาตามยอมซึ่งผูกพันผู้จัดการมรดกคนก่อนในฐานะเป็นคู่ความต่อไป จะอ้างความไม่รู้เห็นในการทำสัญญาประนีประนอมยอมความ ขึ้นเป็นเหตุให้พ้นความผูกพันไม่ได้