พบผลลัพธ์ทั้งหมด 125 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1279/2502 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลในการปรับปรุงการจัดการมรดกตามพินัยกรรมเมื่อมีพฤติการณ์เปลี่ยนแปลง และการตีความเจตนาผู้ทำพินัยกรรม
ผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมนั้น เมื่อมีพฤติการณ์เปลี่ยนแปลงไป ศาลมีอำนาจที่จะถอดถอนหรือสั่งตั้งผู้จัดการมรดกตามคำสั่งศาลเพิ่มเติมได้
พินัยกรรมมีข้อความว่า ข้อ 3 เงินผลประโยชน์ที่เก็บได้จากพื้นที่และตึกเรือนโรงดังกล่าวไว้ใน ข้อ 1 นั้น เวลานี้ได้ประมาณ 1,800 บาท ซึ่งได้กำหนดส่วนแบ่งให้แก่ 1. หม่อมราชวงศ์กระจ่าง 2. หม่อมราชวงศ์กระจัด สองคนนี้คนหนึ่งเดือนละ 40 บาท แบ่งให้บุตร คือ 1. ฯลฯ แปดคนนี้คนหนึ่งเดือนละ 10 บาท ฯลฯ ดังนี้ถือว่า การที่ผู้มีส่วนได้ตามพินัยกรรมจะได้คนละเท่าใดนั้น มิได้กำหนดเป็นจำนวนบาทตายตัวตลอดไป หากขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ว่า "เวลานี้ได้ประมาณ 1,800 บาท เป็นหลัก นอกจากนั้น ข้อความในพินัยกรรม ข้อ4 ยังกล่าวอีกว่า ถ้าจำนวนเงินผลประโยชน์ที่ได้จากพื้นที่จะลดน้อยลงไปจากหลักที่กำหนด ก็ให้แบ่งให้แก่ผู้มีส่วนได้ลดลงตามส่วนที่จะพึงแบ่งได้ในเวลานั้นทุกประการ" แสดงให้เห็นเจตนาของผู้ทำพินัยกรรมโดยชัดว่า มิประสงค์จะกำหนดให้ผู้มีส่วนได้เป็นจำนวนบาทตายตัว ตามที่ระบุไว้นั้นเวลาทำพินัยกรรมเมื่อ 30 ปีก่อน ที่ดินที่ปรากฏในพินัยกรรมมีผลประโยชน์เดือนละ 1,800 บาท เวลาปัจจุบันนี้ ความจริงมีผลประโยชน์เท่าใด ผู้มีส่วนได้ตามพินัยกรรมก็มีสิทธิที่จะได้ตามอัตราส่วนตามค่าของเงินที่ระบุไว้นั้น
พินัยกรรมมีข้อความว่า ข้อ 3 เงินผลประโยชน์ที่เก็บได้จากพื้นที่และตึกเรือนโรงดังกล่าวไว้ใน ข้อ 1 นั้น เวลานี้ได้ประมาณ 1,800 บาท ซึ่งได้กำหนดส่วนแบ่งให้แก่ 1. หม่อมราชวงศ์กระจ่าง 2. หม่อมราชวงศ์กระจัด สองคนนี้คนหนึ่งเดือนละ 40 บาท แบ่งให้บุตร คือ 1. ฯลฯ แปดคนนี้คนหนึ่งเดือนละ 10 บาท ฯลฯ ดังนี้ถือว่า การที่ผู้มีส่วนได้ตามพินัยกรรมจะได้คนละเท่าใดนั้น มิได้กำหนดเป็นจำนวนบาทตายตัวตลอดไป หากขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ว่า "เวลานี้ได้ประมาณ 1,800 บาท เป็นหลัก นอกจากนั้น ข้อความในพินัยกรรม ข้อ4 ยังกล่าวอีกว่า ถ้าจำนวนเงินผลประโยชน์ที่ได้จากพื้นที่จะลดน้อยลงไปจากหลักที่กำหนด ก็ให้แบ่งให้แก่ผู้มีส่วนได้ลดลงตามส่วนที่จะพึงแบ่งได้ในเวลานั้นทุกประการ" แสดงให้เห็นเจตนาของผู้ทำพินัยกรรมโดยชัดว่า มิประสงค์จะกำหนดให้ผู้มีส่วนได้เป็นจำนวนบาทตายตัว ตามที่ระบุไว้นั้นเวลาทำพินัยกรรมเมื่อ 30 ปีก่อน ที่ดินที่ปรากฏในพินัยกรรมมีผลประโยชน์เดือนละ 1,800 บาท เวลาปัจจุบันนี้ ความจริงมีผลประโยชน์เท่าใด ผู้มีส่วนได้ตามพินัยกรรมก็มีสิทธิที่จะได้ตามอัตราส่วนตามค่าของเงินที่ระบุไว้นั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1279/2502
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลในการแก้ไขการแบ่งผลประโยชน์จากมรดกตามพินัยกรรมเมื่อพฤติการณ์เปลี่ยนแปลง
ผู้จัดการมรดกตามพินัยกรรมนั้น เมื่อมีพฤติการณ์เปลี่ยนแปลงไป ศาลมีอำนาจที่จะถอดถอนหรือสั่งตั้งผู้จัดการมรดกตามคำสั่งศาลเพิ่มเติมได้
พินัยกรรมมีข้อความว่า "ข้อ 3 เงินผลประโยชน์ที่เก็บได้จากพื้นที่และตึกเรือนโรงดั่งกล่าวไว้ใน ข้อ 1 นั้นเวลานี้ได้ประมาณ 1,800 บาท ซึ่งได้กำหนดส่วนแบ่งให้แก่ 1. หม่อมราชวงศ์กระจ่าง 2. หม่อมราชวงศ์กระจัด สองคนนี้คนหนึ่งเดือนละ 40 บาท แบ่งให้แก่บุตร คือ1. ฯลฯ แปดคนนี้คนหนึ่งเดือนละ 10 บาท ฯลฯ" ดังนี้ถือว่า การที่ผู้มีส่วนได้ตามพินัยกรรมจะได้คนละเท่าใดนั้นมิได้กำหนดเป็นจำนวนบาทตายตัวตลอดไปหากขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ว่า "เวลานี้ได้ประมาณ 1,800 บาท" เป็นหลัก นอกจากนั้น ข้อความในพินัยกรรม ข้อ 4 ยังกล่าวอีกว่า"ถ้าจำนวนเงินผลประโยชน์ที่ได้จากพื้นที่จะลดน้อยลงไปจากหลักที่กำหนด ก็ให้แบ่งให้แก่ผู้มีส่วนได้ลดลงตามส่วน ที่จะพึงแบ่งได้ในเวลานั้นทุกประการ" แสดงให้เห็นเจตนาของผู้ทำพินัยกรรมโดยชัดว่า มิประสงค์จะกำหนดให้ผู้มีส่วนได้เป็นจำนวนบาทตายตัวตามที่ระบุไว้นั้นเวลาทำพินัยกรรมเมื่อ 30 ปีก่อน ที่ดินที่ปรากฏในพินัยกรรมมีผลประโยชน์เดือนละ 1,800 บาท เวลาปัจจุบันนี้ความจริงมีผลประโยชน์เท่าใด ผู้มีส่วนได้ตามพินัยกรรมก็มีสิทธิที่จะได้ตามอัตราส่วนตามค่าของเงินที่ระบุไว้นั้น
พินัยกรรมมีข้อความว่า "ข้อ 3 เงินผลประโยชน์ที่เก็บได้จากพื้นที่และตึกเรือนโรงดั่งกล่าวไว้ใน ข้อ 1 นั้นเวลานี้ได้ประมาณ 1,800 บาท ซึ่งได้กำหนดส่วนแบ่งให้แก่ 1. หม่อมราชวงศ์กระจ่าง 2. หม่อมราชวงศ์กระจัด สองคนนี้คนหนึ่งเดือนละ 40 บาท แบ่งให้แก่บุตร คือ1. ฯลฯ แปดคนนี้คนหนึ่งเดือนละ 10 บาท ฯลฯ" ดังนี้ถือว่า การที่ผู้มีส่วนได้ตามพินัยกรรมจะได้คนละเท่าใดนั้นมิได้กำหนดเป็นจำนวนบาทตายตัวตลอดไปหากขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ว่า "เวลานี้ได้ประมาณ 1,800 บาท" เป็นหลัก นอกจากนั้น ข้อความในพินัยกรรม ข้อ 4 ยังกล่าวอีกว่า"ถ้าจำนวนเงินผลประโยชน์ที่ได้จากพื้นที่จะลดน้อยลงไปจากหลักที่กำหนด ก็ให้แบ่งให้แก่ผู้มีส่วนได้ลดลงตามส่วน ที่จะพึงแบ่งได้ในเวลานั้นทุกประการ" แสดงให้เห็นเจตนาของผู้ทำพินัยกรรมโดยชัดว่า มิประสงค์จะกำหนดให้ผู้มีส่วนได้เป็นจำนวนบาทตายตัวตามที่ระบุไว้นั้นเวลาทำพินัยกรรมเมื่อ 30 ปีก่อน ที่ดินที่ปรากฏในพินัยกรรมมีผลประโยชน์เดือนละ 1,800 บาท เวลาปัจจุบันนี้ความจริงมีผลประโยชน์เท่าใด ผู้มีส่วนได้ตามพินัยกรรมก็มีสิทธิที่จะได้ตามอัตราส่วนตามค่าของเงินที่ระบุไว้นั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1110/2494 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องของผู้จัดการมรดกต้องได้รับการแต่งตั้งโดยชอบด้วยกฎหมาย การอ้างเพียงฐานะผู้จัดการมรดกโดยไม่มีหลักฐานไม่พอ
โจทย์ฟ้องอ้างสิทธิว่า โจทก์เป็นผู้จัดการทรัพย์มรดกของน้องชายโจทก์ ไม่ได้กล่าวอ้างว่า โจทก์เป็นทายาทมีสิทธิได้รับมรดกน้องชายอย่างไร เมื่อมิได้ความว่าน้องชายได้แต่งตั้งให้โจทก์เป็นผู้จัดการมรดกโดยพินัยกรรม์หรือโจทก์ได้รับแต่งตั้งจากศาลแล้ว โจทก์ก็ไม่ใช่เป็นผู้จัดการทรัพย์มรดกของน้องชายโดยชอบด้วยกฎหมาย จึงไม่มีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1110/2494
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องของผู้จัดการมรดก: การแต่งตั้งตามกฎหมาย
โจทก์ฟ้องอ้างสิทธิว่าโจทก์เป็นผู้จัดการทรัพย์มรดกของน้องชายโจทก์ ไม่ได้กล่าวอ้างว่า โจทก์เป็นทายาทมีสิทธิได้รับมรดกน้องชายอย่างไร เมื่อมิได้ความว่าน้องชายได้แต่งตั้งให้โจทก์เป็นผู้จัดการมรดกโดยพินัยกรรมหรือโจทก์ได้รับแต่งตั้งจากศาลแล้ว โจทก์ก็ไม่ใช่เป็นผู้จัดการทรัพย์มรดกของน้องชายโดยชอบด้วยกฎหมาย จึงไม่มีอำนาจฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1369/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
มรดกผสม: สิทธิทายาท, การจัดการทรัพย์สิน, เงินกู้, และการแบ่งมรดก
พ่อตาได้ยกครัวมาอยู่ร่วมเป็นครอบครัวกับลูกสาวลูกเขย จนลูกสาวตายลงแล้วได้ยกลูกสาวคนเล็กให้เป็นภริยาลูกเขยอีก ส่วนตนก็ยังคงอยู่ร่วมเป็นครัวเดียวกับลูกเขยต่อมาโดยไม่ขอแบ่งหรือฟ้องขอแบ่งมฤดกของลูกสาวคนแรกเกิน 1 ปี ก็ยังถือไม่ได้ว่าพ่อตาได้ทอดทิ้งไม่ฟ้องร้องว่ากล่าวขอแบ่งมรดกของลูกสาวคนแรกในอายุความล่วงเลยเกิน 1 ปี เพราะพฤตติการณ์ดังกล่าวย่อมถือได้ว่าพ่อตาได้เป็นเจ้าของในทรัพย์สินร่วมกับลูกเขยอยู่ด้วย
ทายาทด้วยกันบางคนขอให้ทนายความเข้ามาจัดการเกี่ยวข้องในเรื่องทรัพย์มรดกโดยลำพัง ถือว่าทนายนั้นไม่ใช่ผู้จัดการมรดกอันจะมีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีจัดการและปันมรดกแต่มีฐานะเพียงแต่เป็นผู้เข้ามาจัดการทรัพย์สิน แทนทายาทผู้ที่ขอให้เข้ามาจัดการเท่านั้น
ทายาทด้วยกันทำความตกลงกนเองให้ทายาทคนหนึ่งเอาที่ดินของกองมรดกเป็นของตนโดยเอาเงินเข้ากองมรดก จำนวนหนึ่ง ดังนี้เรียกว่าเป็นการประมูลระหว่างทายาท มิใช่เป็นการขายทรัพย์มรดกให้พ้นจากการเป็นทรัพย์มรดำไปได้ หากเป็นการแบ่งมรดกกันเองฉะนั้นที่ดินนั้นยังคงเป็นทรัพย์สินในกองมรดกอยู่ ส่วนเงินจำนวนหนึ่งที่ทายาทผู้นั้นชำระในการประมูลไม่กลายเป็นทรัพย์สินกองมรดกฉะนั้นถ้าในภายหลังเกิดมี การแบ่งที่ดินแปลงนี้กันใหม่ ทายาทผู้ชำระราคาในการประมูลไปแล้วย่อมมีสิทธิหักเงินจำนวนที่ชำระไปแล้วคืนได้
ถ้าได้มีการขายทรัพย์สินกองมรดกให้แก่บุคคลภายนอกแล้วและไม่ปรากฎว่ามีเหตุไม่สุจริตในการขาย ก็ควรต้องถือเอาจำนวนเงินที่ขายได้นั้นเป็นกองมรดกโดยหักค่าใช้จ่ายในการนั้น ๆ ออกได้
ชายหญิงอยู่กินด้วยกันฉันท์สามีภริยา แต่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส หญิงมอบเงินให้กับชายเพื่อให้หาผลประโยชน์ให้ชายจึงเอาเงินนั้นไปให้คนอื่นกู้ ดังนี้หาใช่เป็นการตั้งชายเป็นตัวแทนไม่ กรณีดังนี้ชายต้องรับผิดคืนเงินนั้นให้หญิงโดยต้องถือว่า ชายเป็นผู้ให้กู้ย่อมมีสิทธิและความรับผิดต่อผู้กู้โดยตรง
เงินทีหญิงมอบให้ชายไว้นั้น ก็เท่ากับเงินฝากซึ่งผู้รับฝากจำต้องคืนให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 672
จำเลยให้การว่าสินสมรสไม่มีตามบัญชีท้ายฟ้องโจทก์ บางสิ่งก็ได้มาภายหลังที่ภรรยาตายแล้ว ซึ่งจำเลยนำสืบเวลาพิจารณาดังนี้ไม่เป็นการแสดงให้ชัดแจ้งในคำให้การว่าจำเลยปฏิเสธข้ออ้างของโจทก์ในราย การใดจำเลยจะกล่าวเอาเองว่าจะนำสืบในเวลาพิจารณานั้นย่อมไม่ได้
ทายาทด้วยกันบางคนขอให้ทนายความเข้ามาจัดการเกี่ยวข้องในเรื่องทรัพย์มรดกโดยลำพัง ถือว่าทนายนั้นไม่ใช่ผู้จัดการมรดกอันจะมีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีจัดการและปันมรดกแต่มีฐานะเพียงแต่เป็นผู้เข้ามาจัดการทรัพย์สิน แทนทายาทผู้ที่ขอให้เข้ามาจัดการเท่านั้น
ทายาทด้วยกันทำความตกลงกนเองให้ทายาทคนหนึ่งเอาที่ดินของกองมรดกเป็นของตนโดยเอาเงินเข้ากองมรดก จำนวนหนึ่ง ดังนี้เรียกว่าเป็นการประมูลระหว่างทายาท มิใช่เป็นการขายทรัพย์มรดกให้พ้นจากการเป็นทรัพย์มรดำไปได้ หากเป็นการแบ่งมรดกกันเองฉะนั้นที่ดินนั้นยังคงเป็นทรัพย์สินในกองมรดกอยู่ ส่วนเงินจำนวนหนึ่งที่ทายาทผู้นั้นชำระในการประมูลไม่กลายเป็นทรัพย์สินกองมรดกฉะนั้นถ้าในภายหลังเกิดมี การแบ่งที่ดินแปลงนี้กันใหม่ ทายาทผู้ชำระราคาในการประมูลไปแล้วย่อมมีสิทธิหักเงินจำนวนที่ชำระไปแล้วคืนได้
ถ้าได้มีการขายทรัพย์สินกองมรดกให้แก่บุคคลภายนอกแล้วและไม่ปรากฎว่ามีเหตุไม่สุจริตในการขาย ก็ควรต้องถือเอาจำนวนเงินที่ขายได้นั้นเป็นกองมรดกโดยหักค่าใช้จ่ายในการนั้น ๆ ออกได้
ชายหญิงอยู่กินด้วยกันฉันท์สามีภริยา แต่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส หญิงมอบเงินให้กับชายเพื่อให้หาผลประโยชน์ให้ชายจึงเอาเงินนั้นไปให้คนอื่นกู้ ดังนี้หาใช่เป็นการตั้งชายเป็นตัวแทนไม่ กรณีดังนี้ชายต้องรับผิดคืนเงินนั้นให้หญิงโดยต้องถือว่า ชายเป็นผู้ให้กู้ย่อมมีสิทธิและความรับผิดต่อผู้กู้โดยตรง
เงินทีหญิงมอบให้ชายไว้นั้น ก็เท่ากับเงินฝากซึ่งผู้รับฝากจำต้องคืนให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 672
จำเลยให้การว่าสินสมรสไม่มีตามบัญชีท้ายฟ้องโจทก์ บางสิ่งก็ได้มาภายหลังที่ภรรยาตายแล้ว ซึ่งจำเลยนำสืบเวลาพิจารณาดังนี้ไม่เป็นการแสดงให้ชัดแจ้งในคำให้การว่าจำเลยปฏิเสธข้ออ้างของโจทก์ในราย การใดจำเลยจะกล่าวเอาเองว่าจะนำสืบในเวลาพิจารณานั้นย่อมไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1369/2493
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
มรดก, การแบ่งทรัพย์สิน, สิทธิในกองมรดก, การให้กู้, สัญญาประมูล
พ่อตาได้ยกครัวมาอยู่ร่วมเป็นครอบครัวกับลูกสาวลูกเขย จนลูกสาวตายลงแล้วได้ยกลูกสาวคนเล็กให้เป็นภริยาลูกเขยอีก ส่วนตนก็ยังคงอยู่ร่วม เป็นครัวเดียวกับลูกเขยต่อมา โดยไม่ขอแบ่ง หรือฟ้องขอแบ่งมรดกของลูกสาวคนแรกเกิน 1 ปี ก็ยังถือไม่ได้ว่า พ่อตาได้ทอดทิ้งไม่ฟ้องร้องว่ากล่าวขอแบ่งมรดก ของลูกสาวคนแรกในอายุความล่วงเลยเกิน 1 ปี เพราะพฤติการณ์ดังกล่าว ย่อมถือได้ว่าพ่อตาได้เป็นเจ้าของในทรัพย์สินร่วมกับลูกเขยอยู่ด้วย
ทายาทด้วยกันบางคนขอให้ทนายความเข้ามาจัดการเกี่ยวข้องในเรื่องทรัพย์มรดกโดยลำพัง ถือว่าทนายนั้นไม่ใช่ผู้จัดการมรดกอันจะมีอำนาจหน้าที่ ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีจัดการและปันมรดกแต่มีฐานะเพียงแต่เป็นผู้เข้ามาจัดการทรัพย์สิน แทนทายาทผู้ที่ขอให้เข้ามาจัดการเท่านั้น
ทายาทด้วยกันทำความตกลงกันเองให้ทายาทคนหนึ่งเอาที่ดินของกองมรดกเป็นของตนโดยให้เอาเงินเข้ากองมรดกจำนวนหนึ่ง ดังนี้เรียกว่าเป็นการประมูลระหว่างทายาท มิใช่เป็นการขายทรัพย์มรดกให้พ้นจากการเป็นทรัพย์มรดกไปได้ หากเป็นการแบ่งมรดกกันเอง ฉะนั้นที่ดินนั้นยังคงเป็นทรัพย์สินในกองมรดกอยู่ ส่วนเงินจำนวนหนึ่งที่ทายาทผู้นั้นชำระในการประมูล ไม่กลายเป็นทรัพย์สินกองมรดกฉะนั้นถ้าในภายหลังเกิดมีการแบ่งที่ดินแปลงนี้กันใหม่ ทายาทผู้ชำระราคาในการประมูลไปแล้ว ย่อมมีสิทธิหักเงินจำนวน ที่ชำระไปแล้วคืนได้
ถ้าได้มีการขายทรัพย์สินกองมรดกให้แก่บุคคลภายนอกแล้วและไม่ปรากฏว่ามีเหตุไม่สุจริตในการขาย ก็ควรต้องถือเอาจำนวนเงินที่ขายได้นั้นเป็นกองมรดกโดยหักค่าใช้จ่ายในการนั้นๆออกได้
ชายหญิงอยู่กินด้วยกันฉันสามีภริยา แต่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส หญิงมอบเงินให้กับชาย เพื่อให้หาผลประโยชน์ให้ ชายจึงเอาเงินนั้นไปให้คนอื่นกู้ดังนี้ หาใช่เป็นการตั้งชายเป็นตัวแทนไม่ กรณีดังนี้ชายต้องรับผิดคืนเงินนั้นให้หญิงโดยต้องถือว่า ชายเป็นผู้ให้กู้ ย่อมมีสิทธิและความรับผิดต่อผู้กู้โดยตรง
เงินที่หญิงมอบให้ชายไว้นั้น ก็เท่ากับเงินฝากซึ่งผู้รับฝาก จำต้องคืนให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 672
จำเลยให้การว่า สินสมรสไม่มีตามบัญชีท้ายฟ้องโจทก์ บางสิ่งก็ได้มาภายหลังที่ภรรยาตายแล้ว ซึ่งจำเลยนำสืบเวลาพิจารณา ดังนี้ ไม่เป็นการแสดงให้ชัดแจ้งในคำให้การว่าจำเลยปฏิเสธข้ออ้างของโจทก์ในรายการใด จำเลยจะกล่าวเอาเองว่าจะนำสืบในเวลาพิจารณานั้นย่อมไม่ได้
ทายาทด้วยกันบางคนขอให้ทนายความเข้ามาจัดการเกี่ยวข้องในเรื่องทรัพย์มรดกโดยลำพัง ถือว่าทนายนั้นไม่ใช่ผู้จัดการมรดกอันจะมีอำนาจหน้าที่ ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีจัดการและปันมรดกแต่มีฐานะเพียงแต่เป็นผู้เข้ามาจัดการทรัพย์สิน แทนทายาทผู้ที่ขอให้เข้ามาจัดการเท่านั้น
ทายาทด้วยกันทำความตกลงกันเองให้ทายาทคนหนึ่งเอาที่ดินของกองมรดกเป็นของตนโดยให้เอาเงินเข้ากองมรดกจำนวนหนึ่ง ดังนี้เรียกว่าเป็นการประมูลระหว่างทายาท มิใช่เป็นการขายทรัพย์มรดกให้พ้นจากการเป็นทรัพย์มรดกไปได้ หากเป็นการแบ่งมรดกกันเอง ฉะนั้นที่ดินนั้นยังคงเป็นทรัพย์สินในกองมรดกอยู่ ส่วนเงินจำนวนหนึ่งที่ทายาทผู้นั้นชำระในการประมูล ไม่กลายเป็นทรัพย์สินกองมรดกฉะนั้นถ้าในภายหลังเกิดมีการแบ่งที่ดินแปลงนี้กันใหม่ ทายาทผู้ชำระราคาในการประมูลไปแล้ว ย่อมมีสิทธิหักเงินจำนวน ที่ชำระไปแล้วคืนได้
ถ้าได้มีการขายทรัพย์สินกองมรดกให้แก่บุคคลภายนอกแล้วและไม่ปรากฏว่ามีเหตุไม่สุจริตในการขาย ก็ควรต้องถือเอาจำนวนเงินที่ขายได้นั้นเป็นกองมรดกโดยหักค่าใช้จ่ายในการนั้นๆออกได้
ชายหญิงอยู่กินด้วยกันฉันสามีภริยา แต่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส หญิงมอบเงินให้กับชาย เพื่อให้หาผลประโยชน์ให้ ชายจึงเอาเงินนั้นไปให้คนอื่นกู้ดังนี้ หาใช่เป็นการตั้งชายเป็นตัวแทนไม่ กรณีดังนี้ชายต้องรับผิดคืนเงินนั้นให้หญิงโดยต้องถือว่า ชายเป็นผู้ให้กู้ ย่อมมีสิทธิและความรับผิดต่อผู้กู้โดยตรง
เงินที่หญิงมอบให้ชายไว้นั้น ก็เท่ากับเงินฝากซึ่งผู้รับฝาก จำต้องคืนให้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 672
จำเลยให้การว่า สินสมรสไม่มีตามบัญชีท้ายฟ้องโจทก์ บางสิ่งก็ได้มาภายหลังที่ภรรยาตายแล้ว ซึ่งจำเลยนำสืบเวลาพิจารณา ดังนี้ ไม่เป็นการแสดงให้ชัดแจ้งในคำให้การว่าจำเลยปฏิเสธข้ออ้างของโจทก์ในรายการใด จำเลยจะกล่าวเอาเองว่าจะนำสืบในเวลาพิจารณานั้นย่อมไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 994/2485
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญารับสภาพหนี้โดยภรรยาน้อย: ไม่ผูกมัดบุตรภรรยาหลวง
ภรรยาน้อยไปทำสัญญารับสภาพหนี้ของผู้ตายโดยตนมิได้เป็นผู้จัดการทรัพย์มรดก หรือเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้ร้องซึ่งเป็นบุตรภรรยาหลวง. สัญญานั้นย่อมไม่ผูกมัดผู้ร้องในอันที่จะมีส่วนได้ในมรดกด้วย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 404/2482
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิของผู้รับมฤดกในการหักกลบลบหนี้สินระหว่างกองมฤดกกับลูกหนี้
โจทก์ฟ้องจำเลยเรียกหนี้สินของผู้ตายซึ่งจำเลยเป็นผู้รับมฤดกดังนี้ จำเลยมีสิทธิฟ้องแย้งโจทก์เรียกหนี้สินที่โจทก์ค้างชำระแก่ผู้ตายได้ และหนี้สิน 2 รายนี้ย่อมหักกลบลบกันได้ด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1074/2480
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถอดถอนผู้จัดการมรดก กรณีปฏิบัติหน้าที่ไม่สมควร แม้ไม่มีทุจริต
ผู้จัดการมฤดกจ้างผู้อื่นให้เป็นผู้ช่วยเหลือในการจัดการมฤดกโดยคิดค่าจ้างให้เป็นจำนวนมากเกินสมควร และปกปิดมิให้ทายาทอื่นทราบถึงแม้ไม่ปรากฎความทุจจริตในการนี้ก็ถือได้ว่าผู้จัดการมฤดกปฏิบัติหน้าที่ไม่สมควรและอาจถอดถอนเสียได้โจทก์ฟ้องขอให้ถอดถอนผู้จัดการมฤดกเดิมและตั้งตนแทนสืบไป เมื่อศาลพิพากษาให้ถอดถอนผู้จัดการมฤดกเดิมแล้ว ต้องไต่สวนคำร้องของโจทก์ที่ขอให้ตั้งตนเป็นผู้จัดการมฤดกแทนก่อนตามระเบียบและในระวางไต่สวนคำร้องนี้ศาลมีอำนาจแต่งตั้งผู้จัดการมฤดกเดิมดำเนินการจัดการในกรณีที่จำเป็นไปก่อนชั่วคราวได้ ค่าธรรมเนียม