พบผลลัพธ์ทั้งหมด 727 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1609/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องแย่งการครอบครองที่ดิน น.ส.3 ครอบครองโดยสุจริตและเปิดเผยทำให้สิทธิครอบครองตกเป็นของจำเลย
ฟ้องที่ขอให้เพิกถอนนิติกรรมและให้โอนที่พิพาท (ที่ดินมีหนังสือรับรองการทำประโยชน์ น.ส.3) กลับเป็นชื่อโจทก์เป็นเจ้าของตามเดิม เป็นฟ้องคดีเพื่อเอาคืนซึ่งการครอบครองที่พิพาทนั้นด้วยจำเลยให้การต่อสู้ว่าซื้อโดยสุจริตและได้ครอบครองเป็นเจ้าของด้วยความสงบเปิดเผยตลอดมา ได้กรรมสิทธิ์และสิทธิครอบครองตามกฎหมายแล้ว โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง จึงเป็นข้อต่อสู้เรื่องกำหนดเวลาฟ้องเรียกคืนที่พิพาทโดยตรง ดังนั้น เมื่อข้อเท็จจริงฟังยุติว่าจำเลยครอบครองเป็นเจ้าของตลอดมากับได้โต้แย้งสิทธิของโจทก์แล้วนับถึงวันฟ้องเกินกว่า 1 ปี โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องเอาคืนการครอบครองได้อีกต่อไป เพราะสิทธิครอบครองที่พิพาทตกได้แก่จำเลยโดยเด็ดขาดแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1609/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องแย่งการครอบครองที่ดิน กรณีผู้ครอบครองโดยสุจริตและต่อเนื่อง
ฟ้องที่ขอให้เพิกถอนนิติกรรมและให้โอนที่พิพาท(ที่ดินมีหนังสือรับรองการทำประโยชน์ น.ส.3) กลับเป็นชื่อโจทก์เป็นเจ้าของตามเดิม เป็นฟ้องคดีเพื่อเอาคืนซึ่งการครอบครองที่พิพาทนั้นด้วยจำเลยให้การต่อสู้ว่าซื้อโดยสุจริตและได้ครอบครองเป็นเจ้าของด้วยความสงบเปิดเผยตลอดมา ได้กรรมสิทธิ์และสิทธิครอบครองตามกฎหมายแล้ว โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้อง จึงเป็นข้อต่อสู้เรื่องกำหนดเวลาฟ้องเรียกคืนที่พิพาทโดยตรง ดังนั้น เมื่อข้อเท็จจริงฟังยุติว่าจำเลยครอบครองเป็นเจ้าของตลอดมากับได้โต้แย้งสิทธิของโจทก์แล้วนับถึงวันฟ้องเกินกว่า 1 ปี. โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องเอาคืนการครอบครองได้อีกต่อไป เพราะสิทธิครอบครองที่พิพาทตกได้แก่จำเลยโดยเด็ดขาดแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1555/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแก้ไขโทษทางอาญา: ศาลอุทธรณ์แก้โทษกักขังเป็นรอการลงโทษ ไม่ถือว่าเป็นการเพิ่มโทษ
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลย 7 วัน และปรับ 500บาท โทษจำคุกเปลี่ยนเป็นกักขัง จำเลยฝ่ายเดียวอุทธรณ์การที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ว่า โทษจำคุก 7 วันไม่เปลี่ยนเป็นกักขัง และให้รอการลงโทษมีกำหนด 1 ปี นอกจากที่แก้ให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น นั้นไม่เป็นการเพิ่มเติมโทษจำเลย เพราะการรอการลงโทษ จำเลยยังไม่ต้องรับโทษ จึงเบากว่าโทษกักขัง
ฎีกาโจทก์ที่ขอให้ลงโทษกักขังจำเลยตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นดังกล่าว เป็นฎีกาดุลพินิจการลงโทษ เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงแม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาแก้มาก ก็ต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 220
ฎีกาโจทก์ที่ขอให้ลงโทษกักขังจำเลยตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นดังกล่าว เป็นฎีกาดุลพินิจการลงโทษ เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงแม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาแก้มาก ก็ต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 220
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1555/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรอการลงโทษเบากว่าโทษกักขัง และข้อจำกัดในการฎีกาแก้ไขโทษเดิมในปัญหาข้อเท็จจริง
ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษจำคุกจำเลย 7 วัน และปรับ 500บาท โทษจำคุกเปลี่ยนเป็นกักขัง จำเลยฝ่ายเดียวอุทธรณ์การที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ว่า โทษจำคุก 7 วันไม่เปลี่ยนเป็นกักขัง และให้รอการลงโทษมีกำหนด 1 ปี นอกจากที่แก้ให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น นั้น ไม่เป็นการเพิ่มเติมโทษจำเลย เพราะการรอการลงโทษ จำเลยยังไม่ต้องรับโทษ จึงเบากว่าโทษกักขัง
ฎีกาโจทก์ที่ขอให้ลงโทษกักขังจำเลยตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นดังกล่าว เป็นฎีกาดุลพินิจการลงโทษ เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงแม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาแก้มาก ก็ต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 220
ฎีกาโจทก์ที่ขอให้ลงโทษกักขังจำเลยตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นดังกล่าว เป็นฎีกาดุลพินิจการลงโทษ เป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงแม้ศาลอุทธรณ์จะพิพากษาแก้มาก ก็ต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 220
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1527/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดอกเบี้ยทบต้นในสัญญากู้: ข้อตกลงขัดต่อกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 655 เป็นโมฆะ
จำเลยกู้เงินโจทก์ไป โดยเอาที่ดินจำนองเป็นประกันหนี้ตกลงให้ดอกเบี้ยร้อยละ 75 สตางค์ต่อเดือน ส่งดอกเบี้ยทุกๆ เดือน ถ้าผู้กู้ผิดนัดไม่ส่งดอกเบี้ย ผู้กู้ยอมให้ดอกเบี้ยที่ค้างชำระทบเข้าเป็นต้นเงิน อันผู้กู้จะต้องเสียดอกเบี้ยในอัตราเดียวกันดังนี้ เป็นการให้คิดดอกเบี้ยกันได้ทันทีที่ผู้กู้ผิดนัดไม่ชำระดอกเบี้ยเดือนที่ค้าง ข้อความที่เกี่ยวกับดอกเบี้ยทบต้นตามสัญญากู้โดยการจำนองรายนี้ จึงฝ่าฝืนต่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 655 และเป็นโมฆะ(อ้างฎีกาที่ 543/2510) โจทก์จึงเรียกดอกเบี้ยทบต้นจากจำเลยไม่ได้คงคิดดอกเบี้ยได้อย่างธรรมดาในอัตราร้อยละ 75 สตางค์ต่อเดือน และเมื่อได้ตกลงกันชัดแจ้งเช่นนี้ จะถือว่าคู่สัญญามิได้มีเจตนาให้คิดดอกเบี้ยทบต้นในทันทีที่ผิดนัด และข้อตกลงเรื่องดอกเบี้ยทบต้น ไม่เป็นโมฆะหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1527/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ดอกเบี้ยทบต้นในสัญญากู้: ข้อตกลงขัดต่อกฎหมายแพ่งฯ มาตรา 655 เป็นโมฆะ
จำเลยกู้เงินโจทก์ไป. โดยเอาที่ดินจำนองเป็นประกันหนี้ตกลงให้ดอกเบี้ยร้อยละ 75 สตางค์ต่อเดือน ส่งดอกเบี้ยทุกๆ เดือน ถ้าผู้กู้ผิดนัดไม่ส่งดอกเบี้ย ผู้กู้ยอมให้ดอกเบี้ยที่ค้างชำระทบเข้าเป็นต้นเงิน อันผู้กู้จะต้องเสียดอกเบี้ยในอัตราเดียวกันดังนี้ เป็นการให้คิดดอกเบี้ยกันได้ทันทีที่ผู้กู้ผิดนัดไม่ชำระดอกเบี้ยเดือนที่ค้าง ข้อความที่เกี่ยวกับดอกเบี้ยทบต้นตามสัญญากู้โดยการจำนองรายนี้ จึงฝ่าฝืนต่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 655 และเป็นโมฆะ(อ้างฎีกาที่ 543/2510) โจทก์จึงเรียกดอกเบี้ยทบต้นจากจำเลยไม่ได้ คงคิดดอกเบี้ยได้อย่างธรรมดาในอัตราร้อยละ 75 สตางค์ต่อเดือนและเมื่อได้ตกลงกันชัดแจ้งเช่นนี้ จะถือว่าคู่สัญญามิได้มีเจตนาให้คิดดอกเบี้ยทบต้นในทันทีที่ผิดนัด และข้อตกลงเรื่องดอกเบี้ยทบต้น ไม่เป็นโมฆะหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1423/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
จำเลยมีหน้าที่รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างออกจากที่เช่าตามคำพิพากษา แม้มีผู้เช่าอยู่ก็ใช้บังคับขับไล่ได้
ศาลพิพากษาให้ขับไล่จำเลย และให้จำเลยรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างออกจากที่เช่าของโจทก์ที่ให้จำเลยเช่า จำเลยจะต้องปฏิบัติตามคำพิพากษา คือต้องออกและรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างออกไปจากที่ดิน
การที่มีผู้เช่าสิ่งปลูกสร้างอยู่โดยจำเลยรับว่าผู้เช่าเป็นบริวารของจำเลยมาแต่ต้นจำเลยจะโต้เถียงภายหลังว่า ผู้เช่าไม่ใช่บริวารย่อมไม่ได้
เมื่อจำเลยเป็นผู้ให้เช่าสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินโจทก์ แม้คำพิพากษาจะมิได้สั่งให้ผู้เช่าซึ่งเป็นบริวารจำเลยออกไปจากที่ดินของโจทก์คำพิพากษาย่อมใช้บังคับขับไล่ผู้เช่าสิ่งปลูกสร้างได้ด้วย จำเลยจะอ้างเป็นเหตุไม่ยอมรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่ศาลพิพากษาให้รื้อหาได้ไม่
อ. โจทก์ในคดีแพ่งแดงที่ 82/2514 ยึดห้องแถวและสิ่งปลูกสร้างไว้ตามคำสั่งศาล ไม่เป็นเหตุให้ศาลงดการบังคับคดีตามคำพิพากษาในคดีนี้ เพราะการที่จำเลยจะต้องรื้อห้องแถวและสิ่งปลูกสร้างออกไปจากที่ดินโจทก์เป็นการกระทำโดยคำสั่งศาล
การที่มีผู้เช่าสิ่งปลูกสร้างอยู่โดยจำเลยรับว่าผู้เช่าเป็นบริวารของจำเลยมาแต่ต้นจำเลยจะโต้เถียงภายหลังว่า ผู้เช่าไม่ใช่บริวารย่อมไม่ได้
เมื่อจำเลยเป็นผู้ให้เช่าสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินโจทก์ แม้คำพิพากษาจะมิได้สั่งให้ผู้เช่าซึ่งเป็นบริวารจำเลยออกไปจากที่ดินของโจทก์คำพิพากษาย่อมใช้บังคับขับไล่ผู้เช่าสิ่งปลูกสร้างได้ด้วย จำเลยจะอ้างเป็นเหตุไม่ยอมรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่ศาลพิพากษาให้รื้อหาได้ไม่
อ. โจทก์ในคดีแพ่งแดงที่ 82/2514 ยึดห้องแถวและสิ่งปลูกสร้างไว้ตามคำสั่งศาล ไม่เป็นเหตุให้ศาลงดการบังคับคดีตามคำพิพากษาในคดีนี้ เพราะการที่จำเลยจะต้องรื้อห้องแถวและสิ่งปลูกสร้างออกไปจากที่ดินโจทก์เป็นการกระทำโดยคำสั่งศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1423/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำพิพากษาถึงที่สุดให้ขับไล่และรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง ผู้เช่าเป็นบริวารจำเลย ศาลบังคับคดีได้ แม้มีการยึดทรัพย์
ศาลพิพากษาให้ขับไล่จำเลย และให้จำเลยรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างออกจากที่เช่าของโจทก์ที่ให้จำเลยเช่า จำเลยจะต้องปฏิบัติตามคำพิพากษา คือต้องออกและรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างออกไปจากที่ดิน
การที่มีผู้เช่าสิ่งปลูกสร้างอยู่โดยจำเลยรับว่าผู้เช่าเป็นบริวารของจำเลยมาแต่ต้นจำเลยจะโต้เถียงภายหลังว่าผู้เช่าไม่ใช่บริวารย่อมไม่ได้
เมื่อจำเลยเป็นผู้ให้เช่าสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินโจทก์ แม้คำพิพากษาจะมิได้สั่งให้ผู้เช่าซึ่งเป็นบริวารจำเลยออกไปจากที่ดินของโจทก์คำพิพากษาย่อมใช้บังคับขับไล่ผู้เช่าสิ่งปลูกสร้างได้ด้วย จำเลยจะอ้างเป็นเหตุไม่ยอมรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่ศาลพิพากษาให้รื้อหาได้ไม่
อ. โจทก์ในคดีแพ่งแดงที่ 82/2514 ยึดห้องแถวและสิ่งปลูกสร้างไว้ตามคำสั่งศาล ไม่เป็นเหตุให้ศาลงดการบังคับคดีตามคำพิพากษาในคดีนี้ เพราะการที่จำเลยจะต้องรื้อห้องแถวและสิ่งปลูกสร้างออกไปจากที่ดินโจทก์เป็นการกระทำโดยคำสั่งศาล
การที่มีผู้เช่าสิ่งปลูกสร้างอยู่โดยจำเลยรับว่าผู้เช่าเป็นบริวารของจำเลยมาแต่ต้นจำเลยจะโต้เถียงภายหลังว่าผู้เช่าไม่ใช่บริวารย่อมไม่ได้
เมื่อจำเลยเป็นผู้ให้เช่าสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินโจทก์ แม้คำพิพากษาจะมิได้สั่งให้ผู้เช่าซึ่งเป็นบริวารจำเลยออกไปจากที่ดินของโจทก์คำพิพากษาย่อมใช้บังคับขับไล่ผู้เช่าสิ่งปลูกสร้างได้ด้วย จำเลยจะอ้างเป็นเหตุไม่ยอมรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่ศาลพิพากษาให้รื้อหาได้ไม่
อ. โจทก์ในคดีแพ่งแดงที่ 82/2514 ยึดห้องแถวและสิ่งปลูกสร้างไว้ตามคำสั่งศาล ไม่เป็นเหตุให้ศาลงดการบังคับคดีตามคำพิพากษาในคดีนี้ เพราะการที่จำเลยจะต้องรื้อห้องแถวและสิ่งปลูกสร้างออกไปจากที่ดินโจทก์เป็นการกระทำโดยคำสั่งศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1334/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเวนคืนที่ดิน: สิทธิในการรับค่าทำขวัญ, การหักราคาที่ดินที่สูงขึ้น, และดอกเบี้ยผิดนัดชำระ
ที่ดินของโจทก์ถูกเวนคืนเพื่อสร้างทางหลวงเทศบาล ทำให้ที่ดินส่วนที่เหลือของโจทก์มีราคาสูงขึ้นเป็นพิเศษ กรณีนี้พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2482 ไม่มีบทบัญญัติโดยเฉพาะ มาตรา 42 บัญญัติให้บังคับตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ จึงต้องบังคับตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2497 ซึ่งมาตรา 14บัญญัติให้เอาราคาที่สูงขึ้นนั้นหักกับค่าทดแทน จำเลยจึงมีสิทธิที่จะนำราคาที่ดินที่ทวีขึ้นเพราะการตัดถนนตามพระราชบัญญัติเวนคืนมาหักกับเงินค่าทำขวัญซึ่งจะจ่ายแก่โจทก์ได้
การเรียกเงินค่าทำขวัญตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2482 กับการขอรับเงินค่าทดแทนตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2497 เป็นคนละกรณีกัน เพราะตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2482 นั้น เจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นได้ แม้จะยังไม่ได้ชำระค่าทำขวัญ และการกำหนดค่าทำขวัญ มาตรา 53 ก็ให้กำหนดเท่าราคาทรัพย์สินตามราคาธรรมดาที่ซื้อขายกันในท้องตลาดในวันที่ประกาศใช้พระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกาเวนคืน แต่ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2497 เจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าครอบครองทรัพย์สินที่ต้องเวนคืนได้ก็ต่อเมื่อได้ใช้เงินหรือวางเงินทดแทน การกำหนดค่าทดแทนก็ให้ตกลงราคากันก่อนตามมาตรา 22 หากตกลงกันไม่ได้ให้เจ้าหน้าที่มีหนังสือกำหนดราคาเด็ดขาดไปให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบตามมาตรา 23 ถ้าไม่มีคำสนองรับจากเจ้าของที่ดิน แต่ละฝ่ายจึงมีสิทธิขอเสนอตั้งอนุญาโตตุลาการ ถ้าผู้มีสิทธิที่จะได้รับค่าทดแทนไม่เสนอขอตั้งอนุญาโตตุลาการดังกล่าวภายในหกเดือน จึงให้ถือราคาเด็ดขาดที่เจ้าหน้าที่เสนอเป็นค่าทดแทนตามมาตรา 24 การกำหนดค่าทดแทนมีวิธีการเป็นลำดับดังกล่าวแล้ว ซึ่งเป็นคนละอย่างกับวิธีการเรียกเงินค่าทำขวัญ ฉะนั้น ในการเวนคืนเพื่อสร้างทางหลวงเทศบาล จึงต้องบังคับตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2482 จะนำบทบัญญัติมาตรา 23 และ 24 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2497 มาใช้บังคับหาได้ไม่
การเรียกดอกเบี้ยตามมาตรา 30 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2497 นั้น เป็นเรื่องที่กฎหมายบัญญัติไว้ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ไม่ใช้ค่าทดแทน จะนำมาบังคับในกรณีเรียกค่าทำขวัญมิได้ แต่เมื่อโจทก์มีสิทธิเรียกร้องเอาค่าทำขวัญที่ดินจากจำเลยและโจทก์ได้มีหนังสือทวงถามกำหนดเวลาให้จำเลยชำระเงินแล้ว จำเลยไม่ยอมชำระ จึงเป็นฝ่ายผิดนัด โจทก์ย่อมคิดดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดได้ในอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี
การเรียกเงินค่าทำขวัญตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2482 กับการขอรับเงินค่าทดแทนตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2497 เป็นคนละกรณีกัน เพราะตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2482 นั้น เจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นได้ แม้จะยังไม่ได้ชำระค่าทำขวัญ และการกำหนดค่าทำขวัญ มาตรา 53 ก็ให้กำหนดเท่าราคาทรัพย์สินตามราคาธรรมดาที่ซื้อขายกันในท้องตลาดในวันที่ประกาศใช้พระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกาเวนคืน แต่ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2497 เจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าครอบครองทรัพย์สินที่ต้องเวนคืนได้ก็ต่อเมื่อได้ใช้เงินหรือวางเงินทดแทน การกำหนดค่าทดแทนก็ให้ตกลงราคากันก่อนตามมาตรา 22 หากตกลงกันไม่ได้ให้เจ้าหน้าที่มีหนังสือกำหนดราคาเด็ดขาดไปให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบตามมาตรา 23 ถ้าไม่มีคำสนองรับจากเจ้าของที่ดิน แต่ละฝ่ายจึงมีสิทธิขอเสนอตั้งอนุญาโตตุลาการ ถ้าผู้มีสิทธิที่จะได้รับค่าทดแทนไม่เสนอขอตั้งอนุญาโตตุลาการดังกล่าวภายในหกเดือน จึงให้ถือราคาเด็ดขาดที่เจ้าหน้าที่เสนอเป็นค่าทดแทนตามมาตรา 24 การกำหนดค่าทดแทนมีวิธีการเป็นลำดับดังกล่าวแล้ว ซึ่งเป็นคนละอย่างกับวิธีการเรียกเงินค่าทำขวัญ ฉะนั้น ในการเวนคืนเพื่อสร้างทางหลวงเทศบาล จึงต้องบังคับตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2482 จะนำบทบัญญัติมาตรา 23 และ 24 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2497 มาใช้บังคับหาได้ไม่
การเรียกดอกเบี้ยตามมาตรา 30 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2497 นั้น เป็นเรื่องที่กฎหมายบัญญัติไว้ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ไม่ใช้ค่าทดแทน จะนำมาบังคับในกรณีเรียกค่าทำขวัญมิได้ แต่เมื่อโจทก์มีสิทธิเรียกร้องเอาค่าทำขวัญที่ดินจากจำเลยและโจทก์ได้มีหนังสือทวงถามกำหนดเวลาให้จำเลยชำระเงินแล้ว จำเลยไม่ยอมชำระ จึงเป็นฝ่ายผิดนัด โจทก์ย่อมคิดดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดได้ในอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1334/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเวนคืนที่ดิน: สิทธิการหักราคาที่ดินที่สูงขึ้นจากค่าทำขวัญ และดอกเบี้ยผิดนัดชำระ
ที่ดินของโจทก์ถูกเวนคืนเพื่อสร้างทางหลวงเทศบาล ทำให้ที่ดินส่วนที่เหลือของโจทก์มีราคาสูงขึ้นเป็นพิเศษ กรณีนี้พระราชบัญญัติทางหลวงพ.ศ. 2482 ไม่มีบทบัญญัติโดยเฉพาะ มาตรา 42 บัญญัติให้บังคับตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ จึงต้องบังคับตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2497 ซึ่งมาตรา 14บัญญัติให้เอาราคาที่สูงขึ้นนั้นหักกับค่าทดแทน จำเลยจึงมีสิทธิที่จะนำราคาที่ดินที่ทวีขึ้นเพราะการตัดถนนตามพระราชบัญญัติเวนคืนมาหักกับเงินค่าทำขวัญซึ่งจะจ่ายแก่โจทก์ได้
การเรียกเงินค่าทำขวัญตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2482กับการขอรับเงินค่าทดแทนตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ. 2497 เป็นคนละกรณีกัน เพราะตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2482 นั้น เจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นได้แม้จะยังไม่ได้ชำระค่าทำขวัญ และการกำหนดค่าทำขวัญ มาตรา 53 ก็ให้กำหนดเท่าราคาทรัพย์สินตามราคาธรรมดาที่ซื้อขายกันในท้องตลาดในวันที่ประกาศใช้พระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกาเวนคืนแต่ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2497 เจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าครอบครองทรัพย์สินที่ต้องเวนคืนได้ก็ต่อเมื่อได้ใช้เงินหรือวางเงินทดแทน การกำหนดค่าทดแทนก็ให้ตกลงราคากันก่อนตามมาตรา 22 หากตกลงกันไม่ได้ให้เจ้าหน้าที่มีหนังสือกำหนดราคาเด็ดขาดไปให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบตามมาตรา 23 ถ้าไม่มีคำสนองรับจากเจ้าของที่ดิน แต่ละฝ่ายจึงมีสิทธิขอเสนอตั้งอนุญาโตตุลาการ ถ้าผู้มีสิทธิที่จะได้รับค่าทดแทนไม่เสนอขอตั้งอนุญาโตตุลาการดังกล่าวภายในหกเดือน จึงให้ถือราคาเด็ดขาดที่เจ้าหน้าที่เสนอเป็นค่าทดแทนตามมาตรา 24 การกำหนดค่าทดแทนมีวิธีการเป็นลำดับดังกล่าวแล้ว ซึ่งเป็นคนละอย่างกับวิธีการเรียกเงินค่าทำขวัญ ฉะนั้น ในการเวนคืนเพื่อสร้างทางหลวงเทศบาล จึงต้องบังคับตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2482 จะนำบทบัญญัติมาตรา 23 และ 24 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ. 2497 มาใช้บังคับหาได้ไม่
การเรียกดอกเบี้ยตามมาตรา 30 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2497 นั้น เป็นเรื่องที่กฎหมายบัญญัติไว้ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ไม่ใช้ค่าทดแทนจะนำมาบังคับในกรณีเรียกค่าทำขวัญมิได้ แต่เมื่อโจทก์มีสิทธิเรียกร้องเอาค่าทำขวัญที่ดินจากจำเลยและโจทก์ได้มีหนังสือทวงถามกำหนดเวลาให้จำเลยชำระเงินแล้ว จำเลยไม่ยอมชำระ จึงเป็นฝ่ายผิดนัด โจทก์ย่อมคิดดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดได้ในอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี
การเรียกเงินค่าทำขวัญตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2482กับการขอรับเงินค่าทดแทนตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ. 2497 เป็นคนละกรณีกัน เพราะตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2482 นั้น เจ้าหน้าที่มีอำนาจเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นได้แม้จะยังไม่ได้ชำระค่าทำขวัญ และการกำหนดค่าทำขวัญ มาตรา 53 ก็ให้กำหนดเท่าราคาทรัพย์สินตามราคาธรรมดาที่ซื้อขายกันในท้องตลาดในวันที่ประกาศใช้พระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกาเวนคืนแต่ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2497 เจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าครอบครองทรัพย์สินที่ต้องเวนคืนได้ก็ต่อเมื่อได้ใช้เงินหรือวางเงินทดแทน การกำหนดค่าทดแทนก็ให้ตกลงราคากันก่อนตามมาตรา 22 หากตกลงกันไม่ได้ให้เจ้าหน้าที่มีหนังสือกำหนดราคาเด็ดขาดไปให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบตามมาตรา 23 ถ้าไม่มีคำสนองรับจากเจ้าของที่ดิน แต่ละฝ่ายจึงมีสิทธิขอเสนอตั้งอนุญาโตตุลาการ ถ้าผู้มีสิทธิที่จะได้รับค่าทดแทนไม่เสนอขอตั้งอนุญาโตตุลาการดังกล่าวภายในหกเดือน จึงให้ถือราคาเด็ดขาดที่เจ้าหน้าที่เสนอเป็นค่าทดแทนตามมาตรา 24 การกำหนดค่าทดแทนมีวิธีการเป็นลำดับดังกล่าวแล้ว ซึ่งเป็นคนละอย่างกับวิธีการเรียกเงินค่าทำขวัญ ฉะนั้น ในการเวนคืนเพื่อสร้างทางหลวงเทศบาล จึงต้องบังคับตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2482 จะนำบทบัญญัติมาตรา 23 และ 24 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์พ.ศ. 2497 มาใช้บังคับหาได้ไม่
การเรียกดอกเบี้ยตามมาตรา 30 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2497 นั้น เป็นเรื่องที่กฎหมายบัญญัติไว้ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ไม่ใช้ค่าทดแทนจะนำมาบังคับในกรณีเรียกค่าทำขวัญมิได้ แต่เมื่อโจทก์มีสิทธิเรียกร้องเอาค่าทำขวัญที่ดินจากจำเลยและโจทก์ได้มีหนังสือทวงถามกำหนดเวลาให้จำเลยชำระเงินแล้ว จำเลยไม่ยอมชำระ จึงเป็นฝ่ายผิดนัด โจทก์ย่อมคิดดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดได้ในอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี