พบผลลัพธ์ทั้งหมด 71 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 912/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดร่วมกันในการค้าที่ดิน, การผิดสัญญาซื้อขาย, และค่าเสียหายที่เกิดขึ้น
จำเลยที่ 1 เป็นสามีของจำเลยที่ 2 จำเลยทั้งสองร่วมกันประกอบการค้าที่ดินโดยการจัดสรรขาย ส. ตกลงซื้อที่ดินจัดสรรได้ทำหนังสือสัญญาจะซื้อขายกันไว้โดยฝ่ายจำเลย มีแต่จำเลยที่ 1 ลงลายมือชื่อคนเดียว แม้กระนั้นจำเลยที่ 2 ก็ไม่อาจอ้างได้ว่าที่ดินนั้นมีชื่อจำเลยที่ 2 คนเดียว ซึ่งจำเลยที่ 1 ไม่มีอำนาจทำสัญญาขายให้แก่ใครได้ โดยจำเลยที่ 2 ไม่ได้ยินยอมด้วย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1474
การที่ผู้จะขายที่ดินผิดนัดไม่โอนที่ดินให้แก่ผู้จะซื้อตามสัญญานั้นไม่ถือเป็นเหตุโดยปกติ ที่ทำให้ผู้จะซื้อต้องเสียค่าเช่าบ้านที่เช่าคนอื่นอยู่และถ้าจะถือว่าเป็นค่าเสียหายอันเกิดแต่พฤติการณ์พิเศษ ก็ต้องปรากฏว่าผู้จะขายได้คาดเห็นหรือควรได้คาดเห็นอยู่ก่อนแล้ว ผู้จะขายจึงจะต้องชดใช้ให้
ผู้จะซื้อทรัพย์มีหน้าที่ต้องมีเงินมาชำระค่าทรัพย์ที่จะซื้อนั้นอยู่แล้ว ถ้าผู้จะซื้อไปกู้เงินเขามาชำระต้องเสียดอกเบี้ย เรื่องดอกเบี้ยนั้นย่อมเป็นภาระส่วนตัวของผู้จะซื้ออันมีอยู่แล้วก่อนผิดนัด การที่ผู้จะขายผิดนัดไม่โอนทรัพย์ที่จะขายให้ ไม่เป็นเหตุโดยตรงที่ทำให้ผู้จะซื้อต้องไปเสียดอกเบี้ย ผู้จะซื้อจะเรียกให้ผู้จะขายชดใช้ให้เป็นค่าเสียหายหาได้ไม่
การที่ผู้จะขายที่ดินผิดนัดไม่โอนที่ดินให้แก่ผู้จะซื้อตามสัญญานั้นไม่ถือเป็นเหตุโดยปกติ ที่ทำให้ผู้จะซื้อต้องเสียค่าเช่าบ้านที่เช่าคนอื่นอยู่และถ้าจะถือว่าเป็นค่าเสียหายอันเกิดแต่พฤติการณ์พิเศษ ก็ต้องปรากฏว่าผู้จะขายได้คาดเห็นหรือควรได้คาดเห็นอยู่ก่อนแล้ว ผู้จะขายจึงจะต้องชดใช้ให้
ผู้จะซื้อทรัพย์มีหน้าที่ต้องมีเงินมาชำระค่าทรัพย์ที่จะซื้อนั้นอยู่แล้ว ถ้าผู้จะซื้อไปกู้เงินเขามาชำระต้องเสียดอกเบี้ย เรื่องดอกเบี้ยนั้นย่อมเป็นภาระส่วนตัวของผู้จะซื้ออันมีอยู่แล้วก่อนผิดนัด การที่ผู้จะขายผิดนัดไม่โอนทรัพย์ที่จะขายให้ ไม่เป็นเหตุโดยตรงที่ทำให้ผู้จะซื้อต้องไปเสียดอกเบี้ย ผู้จะซื้อจะเรียกให้ผู้จะขายชดใช้ให้เป็นค่าเสียหายหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 912/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การค้าที่ดินร่วมกัน ความรับผิดของภริยาผู้มีชื่อถือกรรมสิทธิ์ และค่าเสียหายจากความผิดนัดสัญญา
จำเลยที่ 1 เป็นสามีของจำเลยที่ 2 จำเลยทั้งสองร่วมกันประกอบการค้าที่ดินโดยการจัดสรรขาย ส. ตกลงซื้อที่ดินจัดสรร ได้ทำหนังสือสัญญาจะซื้อขายกันไว้โดยฝ่ายจำเลย มีแต่จำเลยที่ 1ลงลายมือชื่อคนเดียว แม้กระนั้นจำเลยที่ 2 ก็ไม่อาจอ้างได้ว่าที่ดินนั้นมีชื่อจำเลยที่ 2 คนเดียว ซึ่งจำเลยที่ 1 ไม่มีอำนาจทำสัญญาขายให้แก่ใครได้ โดยจำเลยที่ 2 ไม่ได้ยินยอมด้วย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1474
การที่ผู้จะขายที่ดินผิดนัดไม่โอนที่ดินให้แก่ผู้จะซื้อตามสัญญานั้นไม่ถือเป็นเหตุโดยปกติ ที่ทำให้ผู้จะซื้อต้องเสียค่าเช่าบ้านที่เช่าคนอื่นอยู่และถ้าจะถือว่าเป็นค่าเสียหายอันเกิดแต่พฤติการณ์พิเศษ ก็ต้องปรากฏว่าผู้จะขายได้คาดเห็นหรือควรได้คาดเห็นอยู่ก่อนแล้ว ผู้จะขายจึงจะต้องชดใช้ให้
ผู้จะซื้อทรัพย์มีหน้าที่ต้องมีเงินมาชำระค่าทรัพย์ที่จะซื้อนั้นอยู่แล้วถ้าผู้จะซื้อไปกู้เงินเขามาชำระต้องเสียดอกเบี้ย เรื่องดอกเบี้ยนั้นย่อมเป็นภาระส่วนตัวของผู้จะซื้ออันมีอยู่แล้วก่อนผิดนัด การที่ผู้จะขายผิดนัดไม่โอนทรัพย์ที่จะขายให้ ไม่เป็นเหตุโดยตรงที่ทำให้ผู้จะซื้อต้องไปเสียดอกเบี้ย ผู้จะซื้อจะเรียกให้ผู้จะขายชดใช้ให้เป็นค่าเสียหายหาได้ไม่
การที่ผู้จะขายที่ดินผิดนัดไม่โอนที่ดินให้แก่ผู้จะซื้อตามสัญญานั้นไม่ถือเป็นเหตุโดยปกติ ที่ทำให้ผู้จะซื้อต้องเสียค่าเช่าบ้านที่เช่าคนอื่นอยู่และถ้าจะถือว่าเป็นค่าเสียหายอันเกิดแต่พฤติการณ์พิเศษ ก็ต้องปรากฏว่าผู้จะขายได้คาดเห็นหรือควรได้คาดเห็นอยู่ก่อนแล้ว ผู้จะขายจึงจะต้องชดใช้ให้
ผู้จะซื้อทรัพย์มีหน้าที่ต้องมีเงินมาชำระค่าทรัพย์ที่จะซื้อนั้นอยู่แล้วถ้าผู้จะซื้อไปกู้เงินเขามาชำระต้องเสียดอกเบี้ย เรื่องดอกเบี้ยนั้นย่อมเป็นภาระส่วนตัวของผู้จะซื้ออันมีอยู่แล้วก่อนผิดนัด การที่ผู้จะขายผิดนัดไม่โอนทรัพย์ที่จะขายให้ ไม่เป็นเหตุโดยตรงที่ทำให้ผู้จะซื้อต้องไปเสียดอกเบี้ย ผู้จะซื้อจะเรียกให้ผู้จะขายชดใช้ให้เป็นค่าเสียหายหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1807/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันไม่เป็นสินสมรส จำเลยมีสิทธิยกให้ได้หากหามาได้เอง
โจทก์จำเลยเป็นสามีภริยากันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ต่อมาร้างกัน แต่ยังมิได้หย่าขาดจากกัน ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันและแม้ยังมิได้หย่าขาดจากกันตามกฎหมายก็ไม่เป็นสินสมรส เพราะเหตุว่าทรัพย์สินมิใช่ได้มาโดยการอยู่กินสมรสร่วมกัน หากเป็นโดยฝ่ายหนึ่งหามาได้ตามลำพังและแยกไว้เป็นส่วนตัวแล้ว (อ้างฎีกาที่ 1235/2494, 991/2501) เมื่อไม่เป็นสินสมรส จำเลยก็มีสิทธิยกให้โดยเสน่หาได้ โดยไม่จำต้องรับความยินยอมจากโจทก์ผู้เป็นภริยาก่อน
คดีมีทุนทรัพย์ที่พิพาทไม่เกินห้าพันบาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น คงฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย และในการวินิจฉัยปัญหานี้ ศาลฎีกาจำต้องถือตามข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวน แต่ข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันหรือไม่ ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยถึง ศาลฎีกาจึงยังมิอาจที่จะวินิจฉัยข้อกฎหมายตามฎีกาจำเลยได้ เพราะข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมาไม่พอแก่การวินิจฉัยข้อกฎหมาย ศาลฎีกาย่อมยกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาในระหว่างโจทก์จำเลยร้างกันหรือไม่ แล้วพิพากษาใหม่ ตามรูปคดี
คดีมีทุนทรัพย์ที่พิพาทไม่เกินห้าพันบาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น คงฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย และในการวินิจฉัยปัญหานี้ ศาลฎีกาจำต้องถือตามข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวน แต่ข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันหรือไม่ ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยถึง ศาลฎีกาจึงยังมิอาจที่จะวินิจฉัยข้อกฎหมายตามฎีกาจำเลยได้ เพราะข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมาไม่พอแก่การวินิจฉัยข้อกฎหมาย ศาลฎีกาย่อมยกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาในระหว่างโจทก์จำเลยร้างกันหรือไม่ แล้วพิพากษาใหม่ ตามรูปคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1807/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สินสมรสระหว่างร้าง: ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างแต่ยังไม่หย่าขาด ไม่เป็นสินสมรส หากได้มาโดยฝ่ายหนึ่งหามาเอง
โจทก์จำเลยเป็นสามีภริยากันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ต่อมาร้างกัน แต่ยังมิได้หย่าขาดจากกัน ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันแม้ยังมิได้หย่าขาดจากกันตามกฎหมายก็ไม่เป็นสินสมรส เพราะเหตุว่าทรัพย์สินมิใช่ได้มาโดยการอยู่กินสมรสร่วมกัน หากเป็นโดยฝ่ายหนึ่งหามาได้ตามลำพังและแยกไว้เป็นส่วนตัวแล้ว(อ้างฎีกาที่ 1235/2494,991/2501) เมื่อไม่เป็นสินสมรส จำเลยก็มีสิทธิยกให้โดยเสน่หาได้ โดยไม่จำต้องรับความยินยอมจากโจทก์ผู้เป็นภริยาก่อน
คดีมีทุนทรัพย์ที่พิพาทไม่เกินห้าพันบาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น คงฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมายและในการวินิจฉัยปัญหานี้ ศาลฎีกาจำต้องถือตามข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวนแต่ข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันหรือไม่ ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยถึง ศาลฎีกาจึงยังมิอาจที่จะวินิจฉัยข้อกฎหมายตามฎีกาจำเลยได้เพราะข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมาไม่พอแก่การวินิจฉัยข้อกฎหมาย ศาลฎีกาย่อมยกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาในระหว่างโจทก์จำเลยร้างกันจริงหรือไม่ แล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดี
คดีมีทุนทรัพย์ที่พิพาทไม่เกินห้าพันบาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น คงฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมายและในการวินิจฉัยปัญหานี้ ศาลฎีกาจำต้องถือตามข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวนแต่ข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันหรือไม่ ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยถึง ศาลฎีกาจึงยังมิอาจที่จะวินิจฉัยข้อกฎหมายตามฎีกาจำเลยได้เพราะข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมาไม่พอแก่การวินิจฉัยข้อกฎหมาย ศาลฎีกาย่อมยกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาในระหว่างโจทก์จำเลยร้างกันจริงหรือไม่ แล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1807/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สินสมรสระหว่างร้าง: ทรัพย์สินที่ได้มาขณะแยกกันอยู่ไม่เป็นสินสมรส จำเลยมีสิทธิยกให้ได้
โจทก์จำเลยเป็นสามีภริยากันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5. ต่อมาร้างกัน แต่ยังมิได้หย่าขาดจากกัน. ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันแม้ยังมิได้หย่าขาดจากกันตามกฎหมายก็ไม่เป็นสินสมรส. เพราะเหตุว่าทรัพย์สินมิใช่ได้มาโดยการอยู่กินสมรสร่วมกัน. หากเป็นโดยฝ่ายหนึ่งหามาได้ตามลำพังและแยกไว้เป็นส่วนตัวแล้ว (อ้างฎีกาที่ 1235/2494,991/2501). เมื่อไม่เป็นสินสมรส. จำเลยก็มีสิทธิยกให้โดยเสน่หาได้. โดยไม่จำต้องรับความยินยอมจากโจทก์ผู้เป็นภริยาก่อน.
คดีมีทุนทรัพย์ที่พิพาทไม่เกินห้าพันบาท. และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น คงฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย.และในการวินิจฉัยปัญหานี้ ศาลฎีกาจำต้องถือตามข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวน.แต่ข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันหรือไม่. ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยถึง. ศาลฎีกาจึงยังมิอาจที่จะวินิจฉัยข้อกฎหมายตามฎีกาจำเลยได้เพราะข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมาไม่พอแก่การวินิจฉัยข้อกฎหมาย. ศาลฎีกาย่อมยกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาในระหว่างโจทก์จำเลยร้างกันจริงหรือไม่. แล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดี.
คดีมีทุนทรัพย์ที่พิพาทไม่เกินห้าพันบาท. และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น คงฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย.และในการวินิจฉัยปัญหานี้ ศาลฎีกาจำต้องถือตามข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสำนวน.แต่ข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างร้างกันหรือไม่. ศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยถึง. ศาลฎีกาจึงยังมิอาจที่จะวินิจฉัยข้อกฎหมายตามฎีกาจำเลยได้เพราะข้อเท็จจริงที่ศาลอุทธรณ์ฟังมาไม่พอแก่การวินิจฉัยข้อกฎหมาย. ศาลฎีกาย่อมยกคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้ศาลอุทธรณ์วินิจฉัยข้อเท็จจริงในปัญหาที่ว่าห้องพิพาทเป็นทรัพย์สินที่ได้มาในระหว่างโจทก์จำเลยร้างกันจริงหรือไม่. แล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดี.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2004/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การให้โดยเสน่หาแก่บุตรและการแบ่งสินสมรส ศาลพิจารณาความเหมาะสมทางศีลธรรมและการลงชื่อเจ้าของร่วม
โจทก์กับจำเลยที่ 1 เป็นสามีภริยากัน. จำเลยที่ 2 เป็นบุตรโจทก์และจำเลยที่ 1 ได้ช่วยเหลือดูแลทรัพย์สินของโจทก์และจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 2 ไปเฝ้าสวนของโจทก์และจำเลยที่ 1 ถูกคนร้ายยิงจนต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลและตัดลำไส้ ในตอนหลังโจทก์กับจำเลยที่ 1 มีเรื่องจนต้องแยกกันอยู่ จำเลยที่ 1 ได้จำเลยที่ 2 ผู้เดียวเป็นผู้ปรนนิบัติ นับได้ว่าจำเลยที่ 2มีปฏิการะต่อบิดามารดายิ่งกว่าบุตรคนอื่น การที่จำเลยที่ 1 ยกที่ดินให้จำเลยที่ 2 อันเกิดจากโจทก์โดยเสน่หา ทั้งยกให้เพียงครึ่งหนึ่ง โดยจำเลยที่ 1 จดทะเบียนสิทธิเก็บกินไว้ตลอดชีวิต อีกครึ่งหนึ่งยังเป็นสินบริคณห์ระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 อยู่ ดังนี้เป็นการให้ตามสมควรในทางศีลธรรมอันดีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1473 วรรค 2(3)
โจทก์ฟ้องขอให้ลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในโฉนดที่ดินทั้งแปลง เมื่อได้ความว่าที่ดินยังเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยเพียงครึ่งหนึ่งก็ชอบที่จะลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในส่วนที่ยังเป็นสินสมรสอยู่นั้นได้
โจทก์ฟ้องขอให้ลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในโฉนดที่ดินทั้งแปลง เมื่อได้ความว่าที่ดินยังเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยเพียงครึ่งหนึ่งก็ชอบที่จะลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในส่วนที่ยังเป็นสินสมรสอยู่นั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2004/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การให้โดยเสน่หาแก่บุตรที่ดูแลบิดามารดา และสิทธิในสินสมรส
โจทก์กับจำเลยที่ 1 เป็นสามีภริยากัน จำเลยที่ 2 เป็นบุตรโจทก์และจำเลยที่ 1 ได้ช่วยเหลือดูแลทรัพย์สินของโจทก์และจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 2 ไปเฝ้าสวนของโจทก์และจำเลยที่ 1 ถูกคนร้ายยิงจนต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลและ ตัดลำใส้ ในตอนหลังโจทก์กับจำเลยที่ 1 มีเรื่องจนต้องแยกกันอยู่ จำเลยที่ 1 ได้จำเลยที่ 2 ผู้เดียวเป็นผู้ปรนนิบัติ นับได้ว่าจำเลยที่ 2มีปฏิการะต่อบิดามารดายิ่งกว่าบุตรคนอื่น การที่จำเลยที่ 1 ยกที่ดินให้จำเลยที่ 2 อันเกิดจากโจทก์โดยเสน่หา ทั้งยกให้เพียงครึ่งหนึ่ง โดยจำเลยที่ 1 จดทะเบียนสิทธิเก็บกินไว้ตลอดชีวิต อีกครึ่งหนึ่งยังเป็นสินบริคณห์ระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 อยู่ ดังนี้เป็นการให้ตามสมควรในทางศีลธรรมอันดีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1473 วรรค 2(3)
โจทก์ฟ้องขอให้ลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในโฉนดที่ดินทั้งแปลง เมื่อได้ความว่าที่ดินยังเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยเพียงครึ่งหนึ่งก็ชอบที่จะลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในส่วนที่ยังเป็นสินสมรสอยู่นั้นได้
โจทก์ฟ้องขอให้ลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในโฉนดที่ดินทั้งแปลง เมื่อได้ความว่าที่ดินยังเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยเพียงครึ่งหนึ่งก็ชอบที่จะลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในส่วนที่ยังเป็นสินสมรสอยู่นั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2004/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การให้โดยเสน่หาและสิทธิในสินสมรส: การให้ทรัพย์สินแก่บุตรด้วยความเสน่หาชอบด้วยกฎหมาย และสิทธิของคู่สมรสในสินสมรส
โจทก์กับจำเลยที่ 1 เป็นสามีภริยากัน. จำเลยที่ 2 เป็นบุตรโจทก์และจำเลยที่ 1 ได้ช่วยเหลือดูแลทรัพย์สินของโจทก์และจำเลยที่ 1. จำเลยที่ 2 ไปเฝ้าสวนของโจทก์และจำเลยที่ 1 ถูกคนร้ายยิงจนต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลและ ตัดลำใส้. ในตอนหลังโจทก์กับจำเลยที่ 1 มีเรื่องจนต้องแยกกันอยู่. จำเลยที่ 1 ได้จำเลยที่ 2 ผู้เดียวเป็นผู้ปรนนิบัติ. นับได้ว่าจำเลยที่ 2มีปฏิการะต่อบิดามารดายิ่งกว่าบุตรคนอื่น. การที่จำเลยที่ 1 ยกที่ดินให้จำเลยที่ 2 อันเกิดจากโจทก์โดยเสน่หา ทั้งยกให้เพียงครึ่งหนึ่ง โดยจำเลยที่ 1จดทะเบียนสิทธิเก็บกินไว้ตลอดชีวิต. อีกครึ่งหนึ่งยังเป็นสินบริคณห์ระหว่างโจทก์กับจำเลยที่ 1 อยู่. ดังนี้เป็นการให้ตามสมควรในทางศีลธรรมอันดีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1473 วรรค 2(3).
โจทก์ฟ้องขอให้ลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในโฉนดที่ดินทั้งแปลง. เมื่อได้ความว่าที่ดินยังเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยเพียงครึ่งหนึ่งก็ชอบที่จะลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในส่วนที่ยังเป็นสินสมรสอยู่นั้นได้.
โจทก์ฟ้องขอให้ลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในโฉนดที่ดินทั้งแปลง. เมื่อได้ความว่าที่ดินยังเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยเพียงครึ่งหนึ่งก็ชอบที่จะลงชื่อโจทก์เป็นเจ้าของร่วมกับจำเลยในส่วนที่ยังเป็นสินสมรสอยู่นั้นได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1365/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนสินบริคณห์ต้องได้รับความยินยอมจากภริยาเป็นหนังสือ หากไม่สมบูรณ์
การที่สามีจะยกที่ดินซึ่งเป็นสินบริคณห์ให้แก่ใครโดยเสน่หาได้นั้น จะต้องได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากภริยา ถ้าภริยาไม่ได้ยินยอมเป็นหนังสือ การให้นั้นไม่สมบูรณ์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1365/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนสินบริคณห์ต้องได้รับความยินยอมจากภริยาเป็นหนังสือ หากไม่มีความยินยอม การโอนไม่สมบูรณ์
การที่สามีจะยกที่ดินซึ่งเป็นสินบริคณห์ให้แก่ใครโดยเสน่หาได้นั้น จะต้องได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากภริยา ถ้าภริยาไม่ได้ยินยอมเป็นหนังสือ การให้นั้นไม่สมบูรณ์