พบผลลัพธ์ทั้งหมด 88 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2980/2530
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การป้องกันตนเองและป้องกันผู้อื่นจากการถูกทำร้าย: การกระทำที่สมควรแก่เหตุและไม่มีเจตนาฆ่า
ก. กับพวกเป็นฝ่ายก่อเรื่องไล่ทำร้ายจำเลยที่ 1และที่ 2โดยจำเลยที่ 1 ที่ 2 มิได้สมัครใจวิวาทด้วย จำเลยที่ 2 ได้ยินเสียงร้องขอความช่วยเหลือจากจำเลยที่ 1 ในขณะที่ ก. ขึ้นคร่อมจำเลยที่ 1 จะใช้มีดคัตเตอร์แทงจำเลยที่ 1 และมีเพื่อนก. ร้องบอกเอาให้ตาย จำเลยที่ 2 จึงใช้มีดแทงที่หลัง ก.เพียง 1 ที แล้วชักมีดวิ่งหนีไป แสดงว่า จำเลยที่ 2 ไม่ได้เลือกแทงที่สำคัญเพียงแต่แทงเท่าที่โอกาสอำนวยไม่มีเจตนาฆ่า ก. และจำเลยที่ 2 กระทำเพื่อป้องกันมิให้ก. แทงจำเลยที่ 1ซึ่งเป็นการกระทำที่ละเมิดต่อกฎหมาย เป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง และเป็นการกระทำพอสมควรแก่เหตุ จึงไม่มีความผิด ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68
จำเลยที่ 1 มิได้สมัครใจวิวาทกับ ก. แต่ถูก ก. กับพวกไล่ทำร้ายจนจำเลยที่ 2 ต้องเข้าช่วยเหลือด้วยการแทง ก. อันเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย จำเลยที่ 1 จึงไม่มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 299 และเป็นเหตุในลักษณะคดี ศาลมีอำนาจพิพากษาให้มีผลตลอดไปถึงจำเลยที่ 1 ซึ่งมิได้ฎีกาด้วย.
จำเลยที่ 1 มิได้สมัครใจวิวาทกับ ก. แต่ถูก ก. กับพวกไล่ทำร้ายจนจำเลยที่ 2 ต้องเข้าช่วยเหลือด้วยการแทง ก. อันเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย จำเลยที่ 1 จึงไม่มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 299 และเป็นเหตุในลักษณะคดี ศาลมีอำนาจพิพากษาให้มีผลตลอดไปถึงจำเลยที่ 1 ซึ่งมิได้ฎีกาด้วย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2980/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย: การกระทำเพื่อปกป้องตนเองและผู้อื่นจากอันตรายที่ใกล้จะถึง
ก. กับพวกเป็นฝ่ายก่อเรื่องไล่ทำร้ายจำเลยที่ 1 และที่ 2 โดยจำเลยที่ 1 ที่ 2 มิได้สมัครใจวิวาทด้วย จำเลยที่ 2 ได้ยินเสียงร้องขอความช่วยเหลือจากจำเลยที่ 1 ในขณะที่ ก. ขึ้นคร่อมจำเลยที่ 1 จะใช้มีดคัตเตอร์แทงจำเลยที่ 1 และมีเพื่อนก. ร้องบอกเอาให้ตาย จำเลยที่ 2 จึงใช้มีดแทงที่หลัง ก.เพียง 1 ที แล้วชักมีดวิ่งหนีไป แสดงว่า จำเลยที่ 2 ไม่ได้เลือกแทงที่สำคัญเพียงแต่แทงเท่าที่โอกาสอำนวยไม่มีเจตนาฆ่า ก. และจำเลยที่ 2 กระทำเพื่อป้องกันมิให้ก. แทงจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นการกระทำที่ละเมิดต่อกฎหมาย เป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง และเป็นการกระทำพอสมควรแก่เหตุ จึงไม่มีความผิด ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68
จำเลยที่ 1 มิได้สมัครใจวิวาทกับ ก. แต่ถูก ก. กับพวกไล่ทำร้ายจนจำเลยที่ 2 ต้องเข้าช่วยเหลือด้วยการแทง ก. อันเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย จำเลยที่ 1 จึงไม่มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 299 และเป็นเหตุในลักษณะคดี ศาลมีอำนาจพิพากษาให้มีผลตลอดไปถึงจำเลยที่ 1 ซึ่งมิได้ฎีกาด้วย.
จำเลยที่ 1 มิได้สมัครใจวิวาทกับ ก. แต่ถูก ก. กับพวกไล่ทำร้ายจนจำเลยที่ 2 ต้องเข้าช่วยเหลือด้วยการแทง ก. อันเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย จำเลยที่ 1 จึงไม่มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 299 และเป็นเหตุในลักษณะคดี ศาลมีอำนาจพิพากษาให้มีผลตลอดไปถึงจำเลยที่ 1 ซึ่งมิได้ฎีกาด้วย.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 48/2528 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงตามฟ้องในคดีอาญา การลงโทษต้องเป็นไปตามฟ้องเดิม
ฟ้องว่าจำเลยกับพวกทำร้ายร่างกายผู้เสียหายจนได้รับบาดเจ็บสาหัสขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 297 ทางพิจารณาได้ความว่าผู้เสียหายถูกทำร้ายเพราะมีการชุลมุนต่อสู้กันระหว่างบุคคลตั้งแต่สามคนขึ้นไป ถือว่าข้อเท็จจริงที่ปรากฏตามทางพิจารณาแตกต่างกับข้อเท็จจริงที่กล่าวในฟ้องในข้อสาระสำคัญ ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 299 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 48/2528
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงสาระสำคัญในฟ้องคดีอาญา ศาลต้องลงโทษตามฟ้องเดิม
ฟ้องว่าจำเลยกับพวกทำร้ายร่างกายผู้เสียหายจนได้รับบาดเจ็บสาหัสขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 297 ทางพิจารณาได้ความว่าผู้เสียหายถูกทำร้ายเพราะมีการชุลมุนต่อสู้กันระหว่างบุคคลตั้งแต่สามคนขึ้นไปถือว่าข้อเท็จจริงที่ปรากฏตามทางพิจารณาแตกต่างกับข้อเท็จจริงที่กล่าวในฟ้องในข้อสาระสำคัญลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 299 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2802/2526
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำร้ายร่างกายด้วยอาวุธอันตราย ศาลยืนตามข้อวินิจฉัยศาลอุทธรณ์เรื่องบาดแผลสาหัสและเหตุบันดาลโทสะ
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น และให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินห้าปีต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 จำเลยฎีกาได้แต่เฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย และในการวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายศาลฎีกาต้องฟังข้อเท็จจริงตามที่ศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยมาแล้วจากพยานหลักฐานในสำนวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 222
เหตุเกิดขึ้นเพราะฝ่ายโจทก์ร่วมกับจำเลยทะเลาะวิวาทด่าว่าแล้วท้าทายกัน กรณีจึงถือไม่ได้ว่าจำเลยถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรมการที่จำเลยทำร้ายโจทก์ร่วมจึงไม่ใช่ลักษณะที่ทำไปเพราะบันดาลโทสะ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 72
โจทก์ร่วมถูกฟันด้วยมีด มีบาดแผลฉีกขาด ขอบเรียบที่ต้นแขน ปลายแขน ส่วนบนและบริเวณข้อมือขวารวม 3 แห่งขนาดบาดแผลยาว 5 เซนติเมตร กว้าง 1 เซนติเมตร ลึกผ่านชั้นกล้ามเนื้อแขนและตัดผ่านประสาทที่ไปเลี้ยงแขนต้องรักษาตัว 2 เดือนเศษ จึงหายเป็นปกติแต่ทำงานหนักไม่ได้ ลักษณะบาดเจ็บของโจทก์ร่วมดังกล่าวถึงอันตรายสาหัสต้องตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 297(8) แล้ว
โจทก์ร่วมวิ่งตามนาง พ.ไปเห็นจำเลยตบหน้านางพ. แล้วเงื้อมีดดาบจะฟัน โจทก์ร่วมจึงผลักนาง พ. ให้พ้นทางไป ขณะนั้นเองจำเลยก็ฟันถูกโจทก์ร่วมถึง 3 ครั้งลักษณะการทำร้ายของจำเลยดังกล่าวมิใช่เนื่องในการชุลมุนต่อสู้ระหว่างบุคคลตั้งแต่สามคนขึ้นไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 299
เหตุเกิดขึ้นเพราะฝ่ายโจทก์ร่วมกับจำเลยทะเลาะวิวาทด่าว่าแล้วท้าทายกัน กรณีจึงถือไม่ได้ว่าจำเลยถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรมการที่จำเลยทำร้ายโจทก์ร่วมจึงไม่ใช่ลักษณะที่ทำไปเพราะบันดาลโทสะ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 72
โจทก์ร่วมถูกฟันด้วยมีด มีบาดแผลฉีกขาด ขอบเรียบที่ต้นแขน ปลายแขน ส่วนบนและบริเวณข้อมือขวารวม 3 แห่งขนาดบาดแผลยาว 5 เซนติเมตร กว้าง 1 เซนติเมตร ลึกผ่านชั้นกล้ามเนื้อแขนและตัดผ่านประสาทที่ไปเลี้ยงแขนต้องรักษาตัว 2 เดือนเศษ จึงหายเป็นปกติแต่ทำงานหนักไม่ได้ ลักษณะบาดเจ็บของโจทก์ร่วมดังกล่าวถึงอันตรายสาหัสต้องตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 297(8) แล้ว
โจทก์ร่วมวิ่งตามนาง พ.ไปเห็นจำเลยตบหน้านางพ. แล้วเงื้อมีดดาบจะฟัน โจทก์ร่วมจึงผลักนาง พ. ให้พ้นทางไป ขณะนั้นเองจำเลยก็ฟันถูกโจทก์ร่วมถึง 3 ครั้งลักษณะการทำร้ายของจำเลยดังกล่าวมิใช่เนื่องในการชุลมุนต่อสู้ระหว่างบุคคลตั้งแต่สามคนขึ้นไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 299
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2802/2526 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การทำร้ายร่างกายด้วยอาวุธจนเป็นอันตรายสาหัส ศาลยืนตามคำพิพากษาเดิม ไม่รับฟังเหตุบันดาลโทสะและข้อต่อสู้เรื่องการชุลมุน
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น และให้ลงโทษจำคุกจำเลยไม่เกินห้าปีต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218 จำเลยฎีกาได้แต่เฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย และในการวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายศาลฎีกาต้องฟังข้อเท็จจริงตามที่ศาลอุทธรณ์ได้วินิจฉัยมาแล้วจากพยานหลักฐานในสำนวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 222
เหตุเกิดขึ้นเพราะฝ่ายโจทก์ร่วมกับจำเลยทะเลาะวิวาทด่าว่าแล้วท้าทายกัน กรณีจึงถือไม่ได้ว่าจำเลยถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรมการที่จำเลยทำร้ายโจทก์ร่วม จึงไม่ใช่ลักษณะที่ทำไปเพราะบันดาลโทสะ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 72
โจทก์ร่วมถูกฟันด้วยมีด มีบาดแผลฉีกขาด ขอบเรียบที่ต้นแขนปลายแขน ส่วนบนและบริเวณข้อมือขวารวม 3 แห่งขนาดบาดแผลยาว 5 เซนติเมตร กว้าง 1 เซนติเมตร ลึกผ่านชั้นกล้ามเนื้อแขนและตัดผ่านประสาทที่ไปเลี้ยงแขนต้องรักษาตัว 2 เดือนเศษจึงหายเป็นปกติแต่ทำงานหนักไม่ได้ ลักษณะบาดเจ็บของโจทก์ร่วมดังกล่าวถึงอันตรายสาหัสต้องตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 297 (8) แล้ว
โจทก์ร่วมวิ่งตามนาง พ. ไปเห็นจำเลยตบหน้านาง พ. แล้วเงื้อมีดดาบจะฟัน โจทก์ร่วมจึงผลักนาง พ. ให้พ้นทางไป ขณะนั้นเองจำเลยก็ฟันถูกโจทก์ร่วมถึง 3 ครั้งลักษณะการทำร้ายของจำเลยดังกล่าวมิใช่เนื่องในการชุลมุนต่อสู้ระหว่างบุคคลตั้งแต่สามคนขึ้นไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 299
เหตุเกิดขึ้นเพราะฝ่ายโจทก์ร่วมกับจำเลยทะเลาะวิวาทด่าว่าแล้วท้าทายกัน กรณีจึงถือไม่ได้ว่าจำเลยถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรมการที่จำเลยทำร้ายโจทก์ร่วม จึงไม่ใช่ลักษณะที่ทำไปเพราะบันดาลโทสะ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 72
โจทก์ร่วมถูกฟันด้วยมีด มีบาดแผลฉีกขาด ขอบเรียบที่ต้นแขนปลายแขน ส่วนบนและบริเวณข้อมือขวารวม 3 แห่งขนาดบาดแผลยาว 5 เซนติเมตร กว้าง 1 เซนติเมตร ลึกผ่านชั้นกล้ามเนื้อแขนและตัดผ่านประสาทที่ไปเลี้ยงแขนต้องรักษาตัว 2 เดือนเศษจึงหายเป็นปกติแต่ทำงานหนักไม่ได้ ลักษณะบาดเจ็บของโจทก์ร่วมดังกล่าวถึงอันตรายสาหัสต้องตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 297 (8) แล้ว
โจทก์ร่วมวิ่งตามนาง พ. ไปเห็นจำเลยตบหน้านาง พ. แล้วเงื้อมีดดาบจะฟัน โจทก์ร่วมจึงผลักนาง พ. ให้พ้นทางไป ขณะนั้นเองจำเลยก็ฟันถูกโจทก์ร่วมถึง 3 ครั้งลักษณะการทำร้ายของจำเลยดังกล่าวมิใช่เนื่องในการชุลมุนต่อสู้ระหว่างบุคคลตั้งแต่สามคนขึ้นไปตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 299
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 963/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การป้องกันตัวที่พอสมควรแก่เหตุ และความผิดฐานร่วมกันทำร้ายผู้อื่น
จำเลยที่ 1 กับที่ 2 เคยมีเรื่องชกต่อยกันวันเกิดเหตุ จำเลยที่ 2,3 กับพวกไปคอยทีอยู่ พอจำเลยที่ 1 เดินผ่านมา จำเลยที่ 2,3 ยิงจำเลยที่ 1 ราว 4,5 นัด จำเลยที่ 1 วิ่งหนีจำเลยที่ 2, 3 ยังยิงมาทางจำเลยที่ 1 อีก 4-5 นัด จำเลยที่ 1จึงยิงโต้ตอบไป 1 นัดแล้ววิ่งหนีไป การกระทำของจำเลยที่ 1 เป็นการป้องกันตัวพอสมควรแก่เหตุ เพราะไม่ทราบว่าจำเลยที่ 2,3 จะไล่ยิงต่อไปหรือไม่ และกรณีดังนี้ไม่เป็นการเข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้กัน
เมื่อจำเลยที่ 1 และที่ 4 เบิกความเป็นพยาน ศาลชั้นต้นไม่ยอมให้ทนายของจำเลยที่ 3 ซักค้าน แม้จะเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาที่ไม่ชอบด้วย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 233 แต่เมื่อศาลไม่ได้นำคำเบิกความของจำเลยที่ 1 และที่ 4 มาวินิจฉัยให้เป็นโทษแก่จำเลยที่ 3 ย่อมไม่มีผลกระทบกระเทือนการรับฟังคำพยานนั้น ๆ ว่าทำให้จำเลยที่ 3 เสียเปรียบ
โจทก์บรรยายฟ้องในตอนต้นว่าจำเลยที่ 1 ฝ่ายหนึ่ง จำเลย ที่ 2, 3, 4 และผู้ตายฝ่ายหนึ่ง เข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้ยิงกัน ในการชุลมุนนี้ผู้ตายถูกกระสุนปืนตาย จำเลยที่ 2 ถูกกระสุนปืนบาดเจ็บ บ. ซึ่งอยู่ใกล้ที่เกิดเหตุได้รับอันตรายสาหัสและตอนท้ายบรรยายว่า จำเลยที่ 1 ยิงจำเลยที่ 2 และผู้ตายโดยเจตนาฆ่าจำเลยที่ 2,3,4 ก็ยิงจำเลยที่ 1 โดยเจตนาฆ่าถือว่าโจทก์ได้บรรยายฟ้องแยกความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 294, 299 กับความผิดตามมาตรา 288, 80 ออกจากกันให้เห็นได้ชัด ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม
ได้ความว่า กระสุนปืนที่จำเลยที่ 2,3 ยิงจำเลยที่1 นั้นพลาดไปถูก บ. ได้รับอันตรายสาหัส แต่ฟ้องโจทก์ไม่ได้ระบุมาตรา 60 มาด้วย ศาลก็นำมาตรา 60 มาปรับแก่คดีได้ เพราะมิใช่เป็นบทกำหนดโทษที่จะใช้ลงแก่จำเลย
เมื่อจำเลยที่ 1 และที่ 4 เบิกความเป็นพยาน ศาลชั้นต้นไม่ยอมให้ทนายของจำเลยที่ 3 ซักค้าน แม้จะเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาที่ไม่ชอบด้วย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 233 แต่เมื่อศาลไม่ได้นำคำเบิกความของจำเลยที่ 1 และที่ 4 มาวินิจฉัยให้เป็นโทษแก่จำเลยที่ 3 ย่อมไม่มีผลกระทบกระเทือนการรับฟังคำพยานนั้น ๆ ว่าทำให้จำเลยที่ 3 เสียเปรียบ
โจทก์บรรยายฟ้องในตอนต้นว่าจำเลยที่ 1 ฝ่ายหนึ่ง จำเลย ที่ 2, 3, 4 และผู้ตายฝ่ายหนึ่ง เข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้ยิงกัน ในการชุลมุนนี้ผู้ตายถูกกระสุนปืนตาย จำเลยที่ 2 ถูกกระสุนปืนบาดเจ็บ บ. ซึ่งอยู่ใกล้ที่เกิดเหตุได้รับอันตรายสาหัสและตอนท้ายบรรยายว่า จำเลยที่ 1 ยิงจำเลยที่ 2 และผู้ตายโดยเจตนาฆ่าจำเลยที่ 2,3,4 ก็ยิงจำเลยที่ 1 โดยเจตนาฆ่าถือว่าโจทก์ได้บรรยายฟ้องแยกความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 294, 299 กับความผิดตามมาตรา 288, 80 ออกจากกันให้เห็นได้ชัด ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม
ได้ความว่า กระสุนปืนที่จำเลยที่ 2,3 ยิงจำเลยที่1 นั้นพลาดไปถูก บ. ได้รับอันตรายสาหัส แต่ฟ้องโจทก์ไม่ได้ระบุมาตรา 60 มาด้วย ศาลก็นำมาตรา 60 มาปรับแก่คดีได้ เพราะมิใช่เป็นบทกำหนดโทษที่จะใช้ลงแก่จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 963/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การป้องกันตัวที่สมควรแก่เหตุ และการพิจารณาความผิดฐานร่วมกันประทุษร้าย ทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย
จำเลยที่ 1 กับที่ 2 เคยมีเรื่องชกต่อยกันวันเกิดเหตุจำเลยที่ 2, 3 กับพวกไปคอยทีอยู่ พอจำเลยที่ 1 เดินผ่านมาจำเลยที่ 2, 3 ยิงจำเลยที่ 1 ราว 4, 5 นัด จำเลยที่ 1 วิ่งหนี จำเลยที่ 2, 3 ยังยิงมาทางจำเลยที่ 1 อีก 4-5 นัด จำเลยที่ 1 จึงยิงโต้ตอบไป 1 นัดแล้ววิ่งหนีไป การกระทำของจำเลยที่ 1 เป็นการป้องกันตัวพอสมควรแก่เหตุ เพราะไม่ทราบว่าจำเลยที่ 2, 3 จะไล่ยิงต่อไปหรือไม่ และกรณีดังนี้ไม่เป็นการเข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้กัน
เมื่อจำเลยที่ 1 และที่ 4 เบิกความเป็นพยาน ศาลชั้นต้นไม่ยอมให้ทนายของจำเลยที่ 3 ซักค้าน แม้จะเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 233 แต่เมื่อศาลไม่ได้นำคำเบิกความของจำเลยที่ 1 และที่ 4มาวินิจฉัยให้เป็นโทษแก่จำเลยที่ 3 ย่อมไม่มีผลกระทบกระเทือนการรับฟังคำพยานนั้น ๆ ว่าทำให้จำเลยที่ 3 เสียเปรียบ
โจทก์บรรยายฟ้องในตอนต้นว่าจำเลยที่ 1 ฝ่ายหนึ่ง จำเลย ที่ 2, 3, 4 และผู้ตายฝ่ายหนึ่งเข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้ยิงกัน ในการชุลมุนนี้ผู้ตายถูกกระสุนปืนตาย จำเลยที่ 2 ถูกกระสุนปืนบาดเจ็บ บ. ซึ่งอยู่ใกล้ที่เกิดเหตุได้รับอันตรายสาหัสและตอนท้ายบรรยายว่า จำเลยที่ 1 ยิงจำเลยที่ 2 และผู้ตายโดยเจตนาฆ่าจำเลยที่ 2, 3, 4 ก็ยิงจำเลยที่ 1 โดยเจตนาฆ่า ถือว่าโจทก์ได้บรรยายฟ้องแยกความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 294, 299 กับความผิดตามมาตรา 288, 80 ออกจากกันให้เห็นได้ชัด ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม
ได้ความว่า กระสุนปืนที่จำเลยที่ 2, 3 ยิงจำเลยที่ 1 นั้นพลาดไปถูก บ. ได้รับอันตรายสาหัส แต่ฟ้องโจทก์ไม่ได้ระบุมาตรา 60 มาด้วย ศาลก็นำมาตรา 60 มาปรับแก่คดีได้เพราะมิใช่เป็นบทกำหนดโทษที่จะใช้ลงแก่จำเลย
เมื่อจำเลยที่ 1 และที่ 4 เบิกความเป็นพยาน ศาลชั้นต้นไม่ยอมให้ทนายของจำเลยที่ 3 ซักค้าน แม้จะเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาที่ไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 233 แต่เมื่อศาลไม่ได้นำคำเบิกความของจำเลยที่ 1 และที่ 4มาวินิจฉัยให้เป็นโทษแก่จำเลยที่ 3 ย่อมไม่มีผลกระทบกระเทือนการรับฟังคำพยานนั้น ๆ ว่าทำให้จำเลยที่ 3 เสียเปรียบ
โจทก์บรรยายฟ้องในตอนต้นว่าจำเลยที่ 1 ฝ่ายหนึ่ง จำเลย ที่ 2, 3, 4 และผู้ตายฝ่ายหนึ่งเข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้ยิงกัน ในการชุลมุนนี้ผู้ตายถูกกระสุนปืนตาย จำเลยที่ 2 ถูกกระสุนปืนบาดเจ็บ บ. ซึ่งอยู่ใกล้ที่เกิดเหตุได้รับอันตรายสาหัสและตอนท้ายบรรยายว่า จำเลยที่ 1 ยิงจำเลยที่ 2 และผู้ตายโดยเจตนาฆ่าจำเลยที่ 2, 3, 4 ก็ยิงจำเลยที่ 1 โดยเจตนาฆ่า ถือว่าโจทก์ได้บรรยายฟ้องแยกความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 294, 299 กับความผิดตามมาตรา 288, 80 ออกจากกันให้เห็นได้ชัด ไม่เป็นฟ้องเคลือบคลุม
ได้ความว่า กระสุนปืนที่จำเลยที่ 2, 3 ยิงจำเลยที่ 1 นั้นพลาดไปถูก บ. ได้รับอันตรายสาหัส แต่ฟ้องโจทก์ไม่ได้ระบุมาตรา 60 มาด้วย ศาลก็นำมาตรา 60 มาปรับแก่คดีได้เพราะมิใช่เป็นบทกำหนดโทษที่จะใช้ลงแก่จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1268/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรวมกรรมความผิดฐานชุลมุนต่อสู้กับความผิดฐานฆ่าโดยเจตนา ศาลฎีกาตัดสินว่ากรรมเดียว
จำเลยสี่คนกับพวกที่ยังไม่ได้ตัวมาฟ้อง มีอาวุธเข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้กัน จนเป็นเหตุให้มีบุคคลถึงแก่ความตายสองคนและได้รับอันตรายสาหัสอีกคนหนึ่ง ผู้ตายคนหนึ่งถึงแก่ความตายเพราะถูกจำเลยที่ 1 และที่ 2 ยิงในการชุลมุนต่อสู้กันนั้นเช่นนี้ เป็นการกระทำกรรมเดียวเป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบทคือ จำเลยทุกคนผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 294, 299, 83เฉพาะจำเลยที่ 1 และที่ 2 มีความผิดตามมาตรา 288 อีกบทหนึ่งซึ่งจะต้องลงโทษจำเลยสองคนนี้ตามมาตรา 288 ซึ่งเป็นบทที่มีโทษหนักที่สุดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90
ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าการกระทำของจำเลยที่ 1 และที่ 2เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน เป็นการไม่ถูกต้อง ศาลฎีกาพิพากษาแก้ให้ถูกต้องได้ (แม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดฎีกา)
ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าการกระทำของจำเลยที่ 1 และที่ 2เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน เป็นการไม่ถูกต้อง ศาลฎีกาพิพากษาแก้ให้ถูกต้องได้ (แม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดฎีกา)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1268/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การลงโทษจำเลยที่ร่วมชุลมุนต่อสู้จนมีผู้เสียชีวิต ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าเป็นการกระทำกรรมเดียว
จำเลยสี่คนกับพวกที่ยังไม่ได้ตัวมาฟ้อง มีอาวุธเข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้กัน จนเป็นเหตุให้มีบุคคลถึงแก่ความตายสองคนและได้รับอันตรายสาหัสอีกคนหนึ่ง ผู้ตายคนหนึ่งถึงแก่ความตายเพราะถูกจำเลยที่ 1 และที่ 2 ยิงในการชุลมุนต่อสู้กันนั้นเช่นนี้ เป็นการกระทำกรรมเดียวเป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบทคือ จำเลยทุกคนผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 294, 299, 83 เฉพาะจำเลยที่ 1 และที่ 2 มีความผิดตามมาตรา 288 อีกบทหนึ่งซึ่งจะต้องลงโทษจำเลยสองคนนี้ตามมาตรา 288 ซึ่งเป็นบทที่ มีโทษหนักที่สุดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90
ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าการกระทำของจำเลยที่ 1 และที่ 2เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน เป็นการไม่ถูกต้อง ศาลฎีกาพิพากษาแก้ให้ถูกต้องได้ (แม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดฎีกา)
ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่าการกระทำของจำเลยที่ 1 และที่ 2เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน เป็นการไม่ถูกต้อง ศาลฎีกาพิพากษาแก้ให้ถูกต้องได้ (แม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดฎีกา)