พบผลลัพธ์ทั้งหมด 200 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1525/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ทุนทรัพย์คดีแพ่งแต่ละโจทก์, ข้อจำกัดการฎีกา, การนำสืบพยานจำเลย
คดีที่โจทก์แต่ละคนต่างใช้สิทธิเฉพาะตัวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55 โจทก์แต่ละคนชอบที่จะเสนอคดีของตนต่อศาลโดยลำพัง ฉะนั้น แม้โจทก์จะฟ้องมาในคดีเดียวกัน ก็ต้องพิจารณาทุนทรัพย์ของคดีสำหรับโจทก์แต่ละคนแยกกัน เมื่อปรากฏว่าราคาทรัพย์สินที่โจทก์แต่ละคนเรียกร้องมีจำนวนไม่เกิน 5,000 บาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น โจทก์แต่ละคนจึงฎีกาในข้อเท็จจริงไม่ได้ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 22/2511)
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิมิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบหรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิมิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบหรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1525/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาทุนทรัพย์ของโจทก์แต่ละคนในคดีที่ฟ้องร่วมกัน และสิทธิในการนำสืบพยานของจำเลย
คดีที่โจทก์แต่ละคนต่างใช้สิทธิเฉพาะตัวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55 โจทก์แต่ละคนชอบที่จะเสนอคดีของตนต่อศาลโดยลำพัง ฉะนั้น แม้โจทก์จะฟ้องมาในคดีเดียวกัน ก็ต้องพิจารณาทุนทรัพย์ของคดีสำหรับโจทก์แต่ละคนแยกกัน เมื่อปรากฏว่าราคาทรัพย์สินที่โจทก์แต่ละคนเรียกร้องมีจำนวนไม่เกิน 5,000 บาทและศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น โจทก์แต่ละคนจึงฎีกาในข้อเท็จจริงไม่ได้ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 22/2511)
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิ มิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบหรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิ มิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบหรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1525/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาทุนทรัพย์ของคดีแต่ละโจทก์แยกกัน และการไม่มีผลเสียจากการไม่เบิกความของจำเลย
คดีที่โจทก์แต่ละคนต่างใช้สิทธิเฉพาะตัวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55. โจทก์แต่ละคนชอบที่จะเสนอคดีของตนต่อศาลโดยลำพัง. ฉะนั้น แม้โจทก์จะฟ้องมาในคดีเดียวกัน ก็ต้องพิจารณาทุนทรัพย์ของคดีสำหรับโจทก์แต่ละคนแยกกัน. เมื่อปรากฏว่าราคาทรัพย์สินที่โจทก์แต่ละคนเรียกร้องมีจำนวนไม่เกิน 5,000 บาท.และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น. โจทก์แต่ละคนจึงฎีกาในข้อเท็จจริงไม่ได้.(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 22/2511).
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน. ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิ.มิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบ.หรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้.
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน. ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิ.มิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบ.หรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1121/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยอมรับข้อเท็จจริงจากการท้าทายให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ และผลผูกพันตามกฎหมาย
แม้จะเป็นฎีกาคำสั่งระหว่างพิจารณาของศาลชั้นต้นที่ให้งดสืบพยาน และจำเลยมิได้โต้แย้งไว้ แต่โดยที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งและพิพากษาในวันเดียวกัน ไม่มีโอกาสที่จำเลยจะโต้แย้งได้ก่อน จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาได้
ถ้ามีปัญหาข้อใดในคดี ไม่ว่าจะเป็นปัญหาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย หากคู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งไม่รับ ย่อมเกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท และคู่ความย่อมมีสิทธินำพยานเข้าสืบในข้อเท็จจริงตามประเด็นข้อพิพาทนั้นได้ ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 183, 184, 185 และ 85 แต่ถ้าปัญหาข้อใดที่คู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งรับแล้ว ย่อมไม่เกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท เพราะเป็นอันฟังได้ตามที่รับกันนั้นโดยไม่ต้องสืบพยานหลักฐานใดๆ ในปัญหาข้อนั้นอีก ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 84
การที่คู่ความท้ากันในคดี ถือได้ว่าเป็นการยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้างตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 84 นั้นเอง แต่มีเงื่อนไขว่าต้องมีการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่งก่อน ถ้าผลแห่งการดำเนินกระบวนพิจารณานั้นสมความประสงค์ของคู่ความฝ่ายใดตามที่ท้ากัน อีกฝ่ายหนึ่งก็ยอมรับตามข้ออ้างที่สมประสงค์นั้นทั้งหมด
คู่ความท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 เปรียบเทียบกับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในที่ต่างๆ หากผู้เชี่ยวชาญพิสูจน์ว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ. 2 น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 จำเลยทั้ง 4 คนย่อมแพ้ ถ้าไม่ใช่ลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 โจทก์ยอมแพ้ ผลจึงเป็นดังที่กล่าวข้างต้น กล่าวคือ โจทก์จำเลยต่างจะยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้าง ถ้าผลการตรวจพิสูจน์ลายมือชื่อของผู้เชี่ยวชาญอันเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งสมความประสงค์ของฝ่ายใด ฉะนั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจพิสูจน์แล้วและมีความเห็นว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ. 2 กับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในใบแต่งทนาย ใบรับหมายและตัวอย่างที่เขียนต่อหน้าศาลน่าจะเป็นลายมือชื่อของบุคคลคนเดียวกัน ซึ่งหมายความว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ. 2 น่าจะเป็นลายมือชื่อจำเลยที่ 2 นั่นเอง จึงเป็นการสมความประสงค์ของโจทก์และเมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าตรงตามคำท้าแล้ว ก็มีผลตามความเห็นว่า จำเลยยอมรับตามข้ออ้างของโจทก์ทั้งหมดและยอมแพ้คดี คู่ความจึงไม่มีภาระการพิสูจน์ตามข้ออ้างนั้นอีก เมื่อเป็นดังนี้ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้งดสืบพยานของทั้งสองฝ่าย จึงไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งอย่างใด
ข้อที่ฎีกาว่า ผลการตรวจพิสูจน์ของผู้เชี่ยวชาญไม่ตรงตามคำท้าในรายงานกระบวนพิจารณาซึ่งจะแปลความหมายแห่งถ้อยคำในรายงานกระบวนพิจารณา จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมาย
ผู้เชี่ยวชาญจะเป็นพยานหลักฐานในคดีได้ก็ด้วยการแสดงความเห็นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 130 จะยืนยันข้อเท็จจริงไม่ได้ เพราะไม่ได้เห็น ได้ยิน หรือทราบข้อความเกี่ยวกับเรื่องที่เป็นพยานนั้นด้วยตนเองโดยตรง
คู่ความท้ากันในรายงานกระบวนพิจารณาว่า หากผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ว่าลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 ในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ. 2 น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว จำเลยทั้งสี่คนยอมแพ้คดี แต่ถ้าไม่ใช่ โจทก์ยอมแพ้คดีการท้ากันในคดีนี้จึงเห็นได้อยู่ในตัวว่าเป็นการท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความหาใช่ผู้เชี่ยวชาญยืนยันข้อเท็จจริงไม่ ฉะนั้น แม้ผู้เชี่ยวชาญจะแสดงเหตุผลในการแสดงความเห็นอย่างใดก็ตาม แต่ในที่สุดเห็นว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 น่าจะเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว ก็ย่อมเป็นการแสดงความเห็นที่สมประสงค์ของโจทก์ตรงตามคำท้าจำเลยจึงต้องแพ้คดี
ถ้ามีปัญหาข้อใดในคดี ไม่ว่าจะเป็นปัญหาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย หากคู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งไม่รับ ย่อมเกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท และคู่ความย่อมมีสิทธินำพยานเข้าสืบในข้อเท็จจริงตามประเด็นข้อพิพาทนั้นได้ ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 183, 184, 185 และ 85 แต่ถ้าปัญหาข้อใดที่คู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งรับแล้ว ย่อมไม่เกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท เพราะเป็นอันฟังได้ตามที่รับกันนั้นโดยไม่ต้องสืบพยานหลักฐานใดๆ ในปัญหาข้อนั้นอีก ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 84
การที่คู่ความท้ากันในคดี ถือได้ว่าเป็นการยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้างตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 84 นั้นเอง แต่มีเงื่อนไขว่าต้องมีการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่งก่อน ถ้าผลแห่งการดำเนินกระบวนพิจารณานั้นสมความประสงค์ของคู่ความฝ่ายใดตามที่ท้ากัน อีกฝ่ายหนึ่งก็ยอมรับตามข้ออ้างที่สมประสงค์นั้นทั้งหมด
คู่ความท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 เปรียบเทียบกับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในที่ต่างๆ หากผู้เชี่ยวชาญพิสูจน์ว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ. 2 น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 จำเลยทั้ง 4 คนย่อมแพ้ ถ้าไม่ใช่ลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 โจทก์ยอมแพ้ ผลจึงเป็นดังที่กล่าวข้างต้น กล่าวคือ โจทก์จำเลยต่างจะยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้าง ถ้าผลการตรวจพิสูจน์ลายมือชื่อของผู้เชี่ยวชาญอันเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งสมความประสงค์ของฝ่ายใด ฉะนั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจพิสูจน์แล้วและมีความเห็นว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ. 2 กับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในใบแต่งทนาย ใบรับหมายและตัวอย่างที่เขียนต่อหน้าศาลน่าจะเป็นลายมือชื่อของบุคคลคนเดียวกัน ซึ่งหมายความว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ. 2 น่าจะเป็นลายมือชื่อจำเลยที่ 2 นั่นเอง จึงเป็นการสมความประสงค์ของโจทก์และเมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าตรงตามคำท้าแล้ว ก็มีผลตามความเห็นว่า จำเลยยอมรับตามข้ออ้างของโจทก์ทั้งหมดและยอมแพ้คดี คู่ความจึงไม่มีภาระการพิสูจน์ตามข้ออ้างนั้นอีก เมื่อเป็นดังนี้ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้งดสืบพยานของทั้งสองฝ่าย จึงไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งอย่างใด
ข้อที่ฎีกาว่า ผลการตรวจพิสูจน์ของผู้เชี่ยวชาญไม่ตรงตามคำท้าในรายงานกระบวนพิจารณาซึ่งจะแปลความหมายแห่งถ้อยคำในรายงานกระบวนพิจารณา จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมาย
ผู้เชี่ยวชาญจะเป็นพยานหลักฐานในคดีได้ก็ด้วยการแสดงความเห็นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 130 จะยืนยันข้อเท็จจริงไม่ได้ เพราะไม่ได้เห็น ได้ยิน หรือทราบข้อความเกี่ยวกับเรื่องที่เป็นพยานนั้นด้วยตนเองโดยตรง
คู่ความท้ากันในรายงานกระบวนพิจารณาว่า หากผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ว่าลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 ในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ. 2 น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว จำเลยทั้งสี่คนยอมแพ้คดี แต่ถ้าไม่ใช่ โจทก์ยอมแพ้คดีการท้ากันในคดีนี้จึงเห็นได้อยู่ในตัวว่าเป็นการท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความหาใช่ผู้เชี่ยวชาญยืนยันข้อเท็จจริงไม่ ฉะนั้น แม้ผู้เชี่ยวชาญจะแสดงเหตุผลในการแสดงความเห็นอย่างใดก็ตาม แต่ในที่สุดเห็นว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 น่าจะเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว ก็ย่อมเป็นการแสดงความเห็นที่สมประสงค์ของโจทก์ตรงตามคำท้าจำเลยจึงต้องแพ้คดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1121/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยอมรับข้อเท็จจริงโดยการท้าพิสูจน์และการงดสืบพยานเมื่อผลการพิสูจน์เป็นไปตามที่ตกลง
แม้จะเป็นฎีกาคำสั่งระหว่างพิจารณาของศาลชั้นต้นที่ให้งดสืบพยาน และจำเลยมิได้โต้แย้งไว้ แต่โดยที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งและพิพากษาในวันเดียวกัน ไม่มีโอกาสที่จำเลยจะโต้แย้งได้ก่อน จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาได้
ถ้ามีปัญหาข้อใดในคดี ไม่ว่าจะเป็นปัญหาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย หากคู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งไม่รับ ย่อมเกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท และคู่ความย่อมมีสิทธินำพยานเข้าสืบในข้อเท็จจริงตามประเด็นข้อพิพาทนั้นได้ ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 183,184,185และ 85 แต่ถ้าปัญหาข้อใดที่คู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งรับแล้ว ย่อมไม่เกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท เพราะเป็นอันฟังได้ตามที่รับกันนั้นโดยไม่ต้องสืบพยานหลักฐานใดๆ ในปัญหาข้อนั้นอีก ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 84
การที่คู่ความท้ากันในคดี ถือได้ว่าเป็นการยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้างตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 84 นั้นเอง แต่มีเงื่อนไขว่าต้องมีการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่งก่อน ถ้าผลแห่งการดำเนินกระบวนพิจารณานั้นสมความประสงค์ของคู่ความฝ่ายใดตามที่ท้ากัน อีกฝ่ายหนึ่งก็ยอมรับตามข้ออ้างของฝ่ายที่สมประสงค์นั้นทั้งหมด
คู่ความท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 เปรียบเทียบกับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในที่ต่างๆ หากผู้เชี่ยวชาญพิสูจน์ว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 จำเลยทั้ง 4 คนยอมแพ้ ถ้าไม่ใช่ลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 โจทก์ยอมแพ้ ผลจึงเป็นดังที่กล่าวข้างต้น กล่าวคือ โจทก์จำเลยต่างจะยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้าง ถ้าผลการตรวจพิสูจน์ลายมือชื่อของผู้เชี่ยวชาญอันเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งสมความประสงค์ของฝ่ายใดฉะนั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจพิสูจน์แล้วและมีความเห็นว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 กับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในใบแต่งทนาย ใบรับหมายและตัวอย่างที่เขียนต่อหน้าศาลน่าจะเป็นลายมือชื่อของบุคคลคนเดียวกัน ซึ่งหมายความว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2น่าจะเป็นลายมือชื่อจำเลยที่ 2 นั้นเอง จึงเป็นการสมความประสงค์ของโจทก์และเมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าตรงตามคำท้าแล้ว ก็มีผลตามความเห็นนั้นว่า จำเลยยอมรับตามข้ออ้างของโจทก์ทั้งหมดและยอมแพ้คดี คู่ความจึงไม่มีภาระการพิสูจน์ตามข้ออ้างนั้นอีก เมื่อเป็นดังนี้ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้งดสืบพยานของทั้งสองฝ่าย จึงไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งอย่างใด
ข้อที่ฎีกาว่า ผลการตรวจพิสูจน์ของผู้เชี่ยวชาญไม่ตรงตามคำท้าในรายงานกระบวนพิจารณาซึ่งจะแปลความหมายแห่งถ้อยคำในรายงานกระบวนพิจารณา จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมาย
ผู้เชี่ยวชาญจะเป็นพยานหลักฐานในคดีได้ก็ด้วยการแสดงความเห็นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 130 จะยืนยันข้อเท็จจริงไม่ได้ เพราะไม่ได้เห็น ได้ยินหรือทราบข้อความเกี่ยวกับเรื่องที่เป็นพยานนั้นด้วยตนเองโดยตรง
คู่ความท้ากันในรายงานกระบวนพิจารณาว่า หากผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ว่าลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 ในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว จำเลยทั้งสี่คนยอมแพ้คดี แต่ถ้าไม่ใช่โจทก์ยอมแพ้คดี การท้ากันในคดีนี้จึงเห็นได้อยู่ในตัวว่าเป็นการท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความเห็นหาใช่ให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันข้อเท็จจริงไม่ ฉะนั้น แม้ผู้เชี่ยวชาญจะแสดงเหตุผลในการแสดงความเห็นอย่างใดก็ตามแต่ในที่สุดเห็นว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 น่าจะเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้วก็ย่อมเป็นการแสดงความเห็นที่สมประสงค์ของโจทก์ตรงตามคำท้าจำเลยจึงต้องแพ้คดี
ถ้ามีปัญหาข้อใดในคดี ไม่ว่าจะเป็นปัญหาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย หากคู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งไม่รับ ย่อมเกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท และคู่ความย่อมมีสิทธินำพยานเข้าสืบในข้อเท็จจริงตามประเด็นข้อพิพาทนั้นได้ ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 183,184,185และ 85 แต่ถ้าปัญหาข้อใดที่คู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งรับแล้ว ย่อมไม่เกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท เพราะเป็นอันฟังได้ตามที่รับกันนั้นโดยไม่ต้องสืบพยานหลักฐานใดๆ ในปัญหาข้อนั้นอีก ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 84
การที่คู่ความท้ากันในคดี ถือได้ว่าเป็นการยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้างตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 84 นั้นเอง แต่มีเงื่อนไขว่าต้องมีการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่งก่อน ถ้าผลแห่งการดำเนินกระบวนพิจารณานั้นสมความประสงค์ของคู่ความฝ่ายใดตามที่ท้ากัน อีกฝ่ายหนึ่งก็ยอมรับตามข้ออ้างของฝ่ายที่สมประสงค์นั้นทั้งหมด
คู่ความท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 เปรียบเทียบกับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในที่ต่างๆ หากผู้เชี่ยวชาญพิสูจน์ว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 จำเลยทั้ง 4 คนยอมแพ้ ถ้าไม่ใช่ลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 โจทก์ยอมแพ้ ผลจึงเป็นดังที่กล่าวข้างต้น กล่าวคือ โจทก์จำเลยต่างจะยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้าง ถ้าผลการตรวจพิสูจน์ลายมือชื่อของผู้เชี่ยวชาญอันเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งสมความประสงค์ของฝ่ายใดฉะนั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจพิสูจน์แล้วและมีความเห็นว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 กับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในใบแต่งทนาย ใบรับหมายและตัวอย่างที่เขียนต่อหน้าศาลน่าจะเป็นลายมือชื่อของบุคคลคนเดียวกัน ซึ่งหมายความว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2น่าจะเป็นลายมือชื่อจำเลยที่ 2 นั้นเอง จึงเป็นการสมความประสงค์ของโจทก์และเมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าตรงตามคำท้าแล้ว ก็มีผลตามความเห็นนั้นว่า จำเลยยอมรับตามข้ออ้างของโจทก์ทั้งหมดและยอมแพ้คดี คู่ความจึงไม่มีภาระการพิสูจน์ตามข้ออ้างนั้นอีก เมื่อเป็นดังนี้ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้งดสืบพยานของทั้งสองฝ่าย จึงไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งอย่างใด
ข้อที่ฎีกาว่า ผลการตรวจพิสูจน์ของผู้เชี่ยวชาญไม่ตรงตามคำท้าในรายงานกระบวนพิจารณาซึ่งจะแปลความหมายแห่งถ้อยคำในรายงานกระบวนพิจารณา จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมาย
ผู้เชี่ยวชาญจะเป็นพยานหลักฐานในคดีได้ก็ด้วยการแสดงความเห็นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 130 จะยืนยันข้อเท็จจริงไม่ได้ เพราะไม่ได้เห็น ได้ยินหรือทราบข้อความเกี่ยวกับเรื่องที่เป็นพยานนั้นด้วยตนเองโดยตรง
คู่ความท้ากันในรายงานกระบวนพิจารณาว่า หากผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ว่าลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 ในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว จำเลยทั้งสี่คนยอมแพ้คดี แต่ถ้าไม่ใช่โจทก์ยอมแพ้คดี การท้ากันในคดีนี้จึงเห็นได้อยู่ในตัวว่าเป็นการท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความเห็นหาใช่ให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันข้อเท็จจริงไม่ ฉะนั้น แม้ผู้เชี่ยวชาญจะแสดงเหตุผลในการแสดงความเห็นอย่างใดก็ตามแต่ในที่สุดเห็นว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 น่าจะเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้วก็ย่อมเป็นการแสดงความเห็นที่สมประสงค์ของโจทก์ตรงตามคำท้าจำเลยจึงต้องแพ้คดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1121/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลของการท้าพิสูจน์ลายมือชื่อและการยอมแพ้คดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
แม้จะเป็นฎีกาคำสั่งระหว่างพิจารณาของศาลชั้นต้นที่ให้งดสืบพยาน และจำเลยมิได้โต้แย้งไว้. แต่โดยที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งและพิพากษาในวันเดียวกัน. ไม่มีโอกาสที่จำเลยจะโต้แย้งได้ก่อน. จำเลยจึงมีสิทธิฎีกาได้.
ถ้ามีปัญหาข้อใดในคดี ไม่ว่าจะเป็นปัญหาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย. หากคู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งไม่รับ. ย่อมเกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท และคู่ความย่อมมีสิทธินำพยานเข้าสืบในข้อเท็จจริงตามประเด็นข้อพิพาทนั้นได้ ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 183,184,185และ 85. แต่ถ้าปัญหาข้อใดที่คู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งรับแล้ว. ย่อมไม่เกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท. เพราะเป็นอันฟังได้ตามที่รับกันนั้นโดยไม่ต้องสืบพยานหลักฐานใดๆ ในปัญหาข้อนั้นอีก. ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 84.
การที่คู่ความท้ากันในคดี ถือได้ว่าเป็นการยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้างตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 84 นั้นเอง. แต่มีเงื่อนไขว่าต้องมีการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่งก่อน. ถ้าผลแห่งการดำเนินกระบวนพิจารณานั้นสมความประสงค์ของคู่ความฝ่ายใดตามที่ท้ากัน อีกฝ่ายหนึ่งก็ยอมรับตามข้ออ้างของฝ่ายที่สมประสงค์นั้นทั้งหมด.
คู่ความท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 เปรียบเทียบกับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในที่ต่างๆ. หากผู้เชี่ยวชาญพิสูจน์ว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2. จำเลยทั้ง4 คนยอมแพ้ ถ้าไม่ใช่ลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 โจทก์ยอมแพ้. ผลจึงเป็นดังที่กล่าวข้างต้น กล่าวคือ โจทก์จำเลยต่างจะยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้าง. ถ้าผลการตรวจพิสูจน์ลายมือชื่อของผู้เชี่ยวชาญอันเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งสมความประสงค์ของฝ่ายใด.ฉะนั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจพิสูจน์แล้วและมีความเห็นว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 กับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในใบแต่งทนาย ใบรับหมายและตัวอย่างที่เขียนต่อหน้าศาลน่าจะเป็นลายมือชื่อของบุคคลคนเดียวกัน.ซึ่งหมายความว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2น่าจะเป็นลายมือชื่อจำเลยที่ 2 นั้นเอง. จึงเป็นการสมความประสงค์ของโจทก์และเมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าตรงตามคำท้าแล้ว ก็มีผลตามความเห็นนั้นว่า. จำเลยยอมรับตามข้ออ้างของโจทก์ทั้งหมดและยอมแพ้คดี คู่ความจึงไม่มีภาระการพิสูจน์ตามข้ออ้างนั้นอีก. เมื่อเป็นดังนี้ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้งดสืบพยานของทั้งสองฝ่าย จึงไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งอย่างใด.
ข้อที่ฎีกาว่า ผลการตรวจพิสูจน์ของผู้เชี่ยวชาญไม่ตรงตามคำท้า.ในรายงานกระบวนพิจารณาซึ่งจะแปลความหมายแห่งถ้อยคำในรายงานกระบวนพิจารณา. จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมาย.
ผู้เชี่ยวชาญจะเป็นพยานหลักฐานในคดีได้ก็ด้วยการแสดงความเห็นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 130จะยืนยันข้อเท็จจริงไม่ได้. เพราะไม่ได้เห็น ได้ยินหรือทราบข้อความเกี่ยวกับเรื่องที่เป็นพยานนั้นด้วยตนเองโดยตรง.
คู่ความท้ากันในรายงานกระบวนพิจารณาว่า หากผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ว่าลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 ในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว. จำเลยทั้งสี่คนยอมแพ้คดี. แต่ถ้าไม่ใช่โจทก์ยอมแพ้คดี. การท้ากันในคดีนี้จึงเห็นได้อยู่ในตัวว่าเป็นการท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความเห็นหาใช่ให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันข้อเท็จจริงไม่. ฉะนั้น แม้ผู้เชี่ยวชาญจะแสดงเหตุผลในการแสดงความเห็นอย่างใดก็ตามแต่ในที่สุดเห็นว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 น่าจะเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว.ก็ย่อมเป็นการแสดงความเห็นที่สมประสงค์ของโจทก์ตรงตามคำท้าจำเลยจึงต้องแพ้คดี.
ถ้ามีปัญหาข้อใดในคดี ไม่ว่าจะเป็นปัญหาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย. หากคู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งไม่รับ. ย่อมเกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท และคู่ความย่อมมีสิทธินำพยานเข้าสืบในข้อเท็จจริงตามประเด็นข้อพิพาทนั้นได้ ตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 183,184,185และ 85. แต่ถ้าปัญหาข้อใดที่คู่ความฝ่ายหนึ่งยกขึ้นอ้าง และอีกฝ่ายหนึ่งรับแล้ว. ย่อมไม่เกิดเป็นประเด็นข้อพิพาท. เพราะเป็นอันฟังได้ตามที่รับกันนั้นโดยไม่ต้องสืบพยานหลักฐานใดๆ ในปัญหาข้อนั้นอีก. ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 84.
การที่คู่ความท้ากันในคดี ถือได้ว่าเป็นการยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้างตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 84 นั้นเอง. แต่มีเงื่อนไขว่าต้องมีการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่งก่อน. ถ้าผลแห่งการดำเนินกระบวนพิจารณานั้นสมความประสงค์ของคู่ความฝ่ายใดตามที่ท้ากัน อีกฝ่ายหนึ่งก็ยอมรับตามข้ออ้างของฝ่ายที่สมประสงค์นั้นทั้งหมด.
คู่ความท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 เปรียบเทียบกับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในที่ต่างๆ. หากผู้เชี่ยวชาญพิสูจน์ว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2. จำเลยทั้ง4 คนยอมแพ้ ถ้าไม่ใช่ลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 โจทก์ยอมแพ้. ผลจึงเป็นดังที่กล่าวข้างต้น กล่าวคือ โจทก์จำเลยต่างจะยอมรับข้อเท็จจริงที่อีกฝ่ายหนึ่งอ้าง. ถ้าผลการตรวจพิสูจน์ลายมือชื่อของผู้เชี่ยวชาญอันเป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งสมความประสงค์ของฝ่ายใด.ฉะนั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจพิสูจน์แล้วและมีความเห็นว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 กับลายมือชื่อจำเลยที่ 2 ในใบแต่งทนาย ใบรับหมายและตัวอย่างที่เขียนต่อหน้าศาลน่าจะเป็นลายมือชื่อของบุคคลคนเดียวกัน.ซึ่งหมายความว่า ลายมือชื่อผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2น่าจะเป็นลายมือชื่อจำเลยที่ 2 นั้นเอง. จึงเป็นการสมความประสงค์ของโจทก์และเมื่อศาลชั้นต้นเห็นว่าตรงตามคำท้าแล้ว ก็มีผลตามความเห็นนั้นว่า. จำเลยยอมรับตามข้ออ้างของโจทก์ทั้งหมดและยอมแพ้คดี คู่ความจึงไม่มีภาระการพิสูจน์ตามข้ออ้างนั้นอีก. เมื่อเป็นดังนี้ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้งดสืบพยานของทั้งสองฝ่าย จึงไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งอย่างใด.
ข้อที่ฎีกาว่า ผลการตรวจพิสูจน์ของผู้เชี่ยวชาญไม่ตรงตามคำท้า.ในรายงานกระบวนพิจารณาซึ่งจะแปลความหมายแห่งถ้อยคำในรายงานกระบวนพิจารณา. จึงเป็นปัญหาข้อกฎหมาย.
ผู้เชี่ยวชาญจะเป็นพยานหลักฐานในคดีได้ก็ด้วยการแสดงความเห็นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 130จะยืนยันข้อเท็จจริงไม่ได้. เพราะไม่ได้เห็น ได้ยินหรือทราบข้อความเกี่ยวกับเรื่องที่เป็นพยานนั้นด้วยตนเองโดยตรง.
คู่ความท้ากันในรายงานกระบวนพิจารณาว่า หากผู้เชี่ยวชาญตรวจพิสูจน์ว่าลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 ในช่องผู้ค้ำประกันในสัญญาหมาย จ.2 น่าเชื่อว่าเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว. จำเลยทั้งสี่คนยอมแพ้คดี. แต่ถ้าไม่ใช่โจทก์ยอมแพ้คดี. การท้ากันในคดีนี้จึงเห็นได้อยู่ในตัวว่าเป็นการท้ากันให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความเห็นหาใช่ให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันข้อเท็จจริงไม่. ฉะนั้น แม้ผู้เชี่ยวชาญจะแสดงเหตุผลในการแสดงความเห็นอย่างใดก็ตามแต่ในที่สุดเห็นว่าลายมือชื่อในช่องผู้ค้ำประกันในเอกสารหมาย จ.2 น่าจะเป็นลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 แล้ว.ก็ย่อมเป็นการแสดงความเห็นที่สมประสงค์ของโจทก์ตรงตามคำท้าจำเลยจึงต้องแพ้คดี.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 689/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนำสืบเพื่อพิสูจน์การรับฝากทรัพย์ และหน้าที่ตามสัญญา หากมีสัญญาชัดเจน การซื้อขายหรือการรับฝากไม่จำเป็นต้องวินิจฉัย
ฟ้องว่าโจทก์นำข้าวเปลือก 10 เกวียน 50 ถัง ฝากในยุ้งจำเลย โจทก์นำสืบว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์ ได้ตกลงเอาข้าวเปลือกชำระหนี้แทนเงินที่ติดค้างโจทก์อยู่ และที่โจทก์ซื้อจากจำเลยด้วยเงินสดด้วย รวม 10 เกวียน 50 ถังแล้วตกลงทำสัญญาฝากไว้ในยุ้งจำเลย ดังนี้ มิใช่นำสืบนอกฟ้องนอกประเด็น
เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าทำสัญญาหมาย จ.1 จริงซึ่งจำเลยสัญญาว่าจะคืนข้าวที่รักษาไว้แก่โจทก์จำเลยมีหน้าที่จะต้องส่งมอบข้าวเปลือกนั้นคืนให้แก่โจทก์ตามสัญญาหรือใช้ราคาให้โจทก์ โดยไม่จำเป็นจะต้องก้าวล่วงไปวินิจฉัยถึงปัญหาการซื้อขายและการรับฝากข้าวเปลือกว่าชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 460 และ 657 หรือไม่ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้ง 14/2510)
เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าทำสัญญาหมาย จ.1 จริงซึ่งจำเลยสัญญาว่าจะคืนข้าวที่รักษาไว้แก่โจทก์จำเลยมีหน้าที่จะต้องส่งมอบข้าวเปลือกนั้นคืนให้แก่โจทก์ตามสัญญาหรือใช้ราคาให้โจทก์ โดยไม่จำเป็นจะต้องก้าวล่วงไปวินิจฉัยถึงปัญหาการซื้อขายและการรับฝากข้าวเปลือกว่าชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 460 และ 657 หรือไม่ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้ง 14/2510)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 689/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาฝากรักษาข้าว: การนำสืบการได้มาซึ่งข้าวไม่เป็นการนอกฟ้อง และจำเลยมีหน้าที่คืนข้าวตามสัญญา
ฟ้องว่าโจทก์นำข้าวเปลือก 10 เกวียน 50 ถัง ฝากในยุ้งจำเลย โจทก์นำสืบว่าจำเลยเป็นหนี้โจทก์ได้ตกลงเอาข้าวเปลือกชำระหนี้ แทนเงินที่ติดค้างโจทก์อยู่ และที่โจทก์ซื้อจากจำเลยด้วยเงินสดด้วย รวม 10 เกวียน 50 ถังแล้วตกลงทำสัญญาฝากไว้ในยุ้งจำเลย ดังนี้มิใช่นำสืบนอกฟ้องนอกประเด็น
เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าทำสัญญาหมาย จ.1 จริงซึ่งจำเลยสัญญาว่าจะคืนข้าวที่รักษาไว้แก่โจทก์ จำเลยมีหน้าที่จะต้องส่งมอบข้าวเปลือกนั้นคืนให้แก่โจทก์ตามสัญญาหรือใช้ราคาให้โจทก์ โดยไม่จำเป็นจะต้องก้าวล่วงไปวินิจฉัยถึงปัญหาการซื้อขายและการรับฝากข้าวเปลือกว่าชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 460 และ 657 หรือไม่ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 14/2510)
เมื่อข้อเท็จจริงฟังได้ว่าทำสัญญาหมาย จ.1 จริงซึ่งจำเลยสัญญาว่าจะคืนข้าวที่รักษาไว้แก่โจทก์ จำเลยมีหน้าที่จะต้องส่งมอบข้าวเปลือกนั้นคืนให้แก่โจทก์ตามสัญญาหรือใช้ราคาให้โจทก์ โดยไม่จำเป็นจะต้องก้าวล่วงไปวินิจฉัยถึงปัญหาการซื้อขายและการรับฝากข้าวเปลือกว่าชอบด้วยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 460 และ 657 หรือไม่ (วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 14/2510)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 536/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการรับมรดกของบุตรที่ไม่ได้เกิดจากภรรยาที่จดทะเบียนสมรส การนำสืบสถานะทางกฎหมาย
โจทก์มิได้บรรยายฟ้องแต่เพียงว่า เด็กทั้งสามเป็นบุตรนายหร่ำสามีโจทก์ผู้วายชนม์ไปแล้ว แต่หากได้บรรยายไว้ชัดแจ้งด้วยว่าเด็กทั้งสามซึ่งเกิดแต่นายหร่ำผู้วายชนม์ เป็นทายาทโดยธรรม มีสิทธิสืบมรดกของนายฉิม นางแสงตามลำดับสายตามบัญชีเครือญาติท้ายฟ้อง และในบัญชีเครือญาติก็ทำเครื่องหมายไว้ที่ท้ายชื่อโจทก์ ซึ่งตรงกับเครื่องหมายที่หมายเหตุข้างล่างนั้นว่า "ฯลฯ สมรสภายหลังเมื่อใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และไม่ได้จดทะเบียนสมรส" ดังนี้ ย่อมแสดงอยู่ในตัวแล้วว่าโจทก์ประสงค์จะนำสืบว่าผู้เยาว์เหล่านั้นเป็นทายาทโดยธรรมและมีสิทธิสืบมรดกของนายฉิม นางแสงตามลำดับสายในบัญชีเครือญาติได้โดยเหตุผลประการใด เช่น นำสืบว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย ตามนัยมาตรา 1524,1526 หรือ 1529 (5) หรือเป็นบุตรที่บิดาได้รับรองแล้ว ซึ่งถือได้ว่าเป็นผู้สืบสันดานเหมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของนายหร่ำตามมาตรา 1627 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งมีสิทธิสืบมรดกนายฉิม นางแสงตามลำดับเครือญาติได้ตามมาตรา 1629 (1) และที่โจทก์แถลงต่อศาลชั้นต้นว่าผู้เยาว์ดังกล่าวไม่ใช่บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของนายหร่ำนั้น ก็แถลงไปตามเหตุที่ว่า นายหร่ำกับนางเปรมโจทก์ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกันดังที่หมายเหตุไว้ในบัญชีเครือญาติแล้วนั่นเอง หาใช่แถลงเพื่อสละสิทธิที่จะนำสืบข้อเท็จจริงให้ได้ตามความนัยแห่งกฎหมายดังกล่าวไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 536/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการรับมรดกของบุตรที่เกิดจากการสมรสภายหลังและไม่ได้จดทะเบียนสมรส
โจทก์มิได้บรรยายฟ้องแต่เพียงว่า เด็กทั้งสามเป็นบุตรนายหร่ำสามีโจทก์ผู้วายชนม์ไปแล้ว แต่หากได้บรรยายไว้ชัดแจ้งด้วยว่าเด็กทั้งสามซึ่งเกิดแต่นายหร่ำผู้วายชนม์เป็นทายาทโดยธรรมมีสิทธิสืบมรดกของนายฉิม นางแสงตามลำดับสายตามบัญชีเครือญาติท้ายฟ้อง และในบัญชีเครือญาติก็ทำเครื่องหมายไว้ที่ท้ายชื่อโจทก์ซึ่งตรงกับเครื่องหมายที่หมายเหตุข้างล่างนั้นว่า 'ฯลฯสมรสภายหลังเมื่อใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และไม่ได้จดทะเบียนสมรส' ดังนี้ ย่อมแสดงอยู่ในตัวแล้วว่าโจทก์ประสงค์จะนำสืบว่าผู้เยาว์เหล่านั้นเป็นทายาทโดยธรรมและมีสิทธิสืบมรดกของนายฉิม นางแสงตามลำดับสายในบัญชีเครือญาติได้โดยเหตุผลประการใด เช่นนำสืบว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย ตามนัยมาตรา 1524,1526 หรือ1529(5) หรือเป็นบุตรที่บิดาได้รับรองแล้ว ซึ่งถือได้ว่าเป็นผู้สืบสันดานเหมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของนายหร่ำตามมาตรา 1627 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งมีสิทธิสืบมรดกของนายฉิมนางแสงตามลำดับเครือญาติได้ตามมาตรา 1629(1) และที่โจทก์แถลงต่อศาลชั้นต้นว่าผู้เยาว์ดังกล่าวไม่ใช่บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของนายหร่ำนั้นก็แถลงไปตามเหตุที่ว่านายหร่ำกับนางเปรมโจทก์ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกันดังที่หมายเหตุไว้ในบัญชีเครือญาติแล้วนั่นเองหาใช่แถลงเพื่อสละสิทธิที่จะนำสืบข้อเท็จจริงให้ได้ความตามนัยแห่งกฎหมายดังกล่าวไม่