พบผลลัพธ์ทั้งหมด 122 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6412-6413/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฎีกาไม่รับวินิจฉัยเนื่องจากทุนทรัพย์เกินกำหนด และการอุทธรณ์ที่ไม่ชอบตามกฎหมาย
จำเลยที่1และที่2ฎีกาทั้งสองสำนวนว่าเหตุที่รถชนกันเกิดจากความประมาทเลินเล่อของโจทก์ที่2แต่เพียงฝ่ายเดียวและค่าเสียหายสูงเกินความจริงล้วนเป็นฎีกาโต้เถียงดุลพินิจในการรับฟังพยานหลักฐานและในการกำหนดค่าเสียหายจึงเป็นฎีกาในข้อเท็จจริงเมื่อสำนวนแรกมีทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาไม่เกิน200,000บาทจึงต้องห้ามมิให้ฎีกาในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา248วรรคหนึ่ง สำหรับสำนวนหลังแม้จำเลยที่1และที่2จะร่วมกันเป็นโจทก์ฟ้องโจทก์ทั้งสามเป็นคดีเดียวกันให้ชำระหนี้รวมเป็นเงิน208,801.55บาทก็ตามแต่ข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาที่เรียกร้องให้โจทก์ทั้งสามรับผิดต่อจำเลยที่1และที่2เป็นหนี้แบ่งแยกได้การคิดทุนทรัพย์ที่พิพาทในคดีจึงต้องคิดทุนทรัพย์ตามฟ้องของจำเลยที่1และที่2แยกต่างหากจากกันคดีศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้องของจำเลยที่1และที่2แม้ว่าคดีในส่วนของจำเลยที่2ซึ่งมีทุนทรัพย์165,801.55บาทจะไม่ต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงแต่เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษายืนจำเลยที่2ก็ไม่อาจฎีกาในข้อเท็จจริงได้เพราะทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นฎีกาไม่เกิน200,000บาทต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา248วรรคหนึ่ง สำหรับคดีในส่วนของจำเลยที่1ซึ่งมีทุนทรัพย์เพียง43,000บาทเมื่อศาลชั้นต้นยกฟ้องคดีย่อมต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา224วรรคหนึ่งการที่ศาลชั้นต้นสั่งรับอุทธรณ์ของจำเลยที่1และศาลอุทธรณ์รับวินิจฉัยให้ย่อมเป็นการไม่ชอบเมื่อจำเลยที่1ฎีกาในข้อเท็จจริงดังกล่าวต่อมาก็ถือไม่ได้ว่าเป็นข้อที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลอุทธรณ์ต้องห้ามมิให้ฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา249วรรคหนึ่งศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5755/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความคดีซื้อขายสินค้า: การอุทธรณ์ข้อเท็จจริงขัดกับข้อจำกัดการอุทธรณ์เมื่อทุนทรัพย์น้อยกว่าห้าหมื่นบาท
ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่า ตามใบส่งของชั่วคราวระหว่างวันที่ 5 มกราคม 2533 ถึงวันที่ 3 มีนาคม 2533 เมื่อนับถึงวันฟ้อง (วันที่ 13 มีนาคม 2535) เกินกว่า 2 ปี สิทธิเรียกร้องค่าสินค้าของโจทก์จึงขาดอายุความ 2 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 193/34(1) ซึ่งเท่ากับศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงแล้วว่าจำเลยมิได้ซื้อสินค้าไปเพื่ออุตสาหกรรมของจำเลย ที่โจทก์อุทธรณ์ว่า จำเลยซื้อสินค้าไปเพื่ออุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ของจำเลย จึงมีอายุความ 5 ปีคดีไม่ขาดอายุความนั้น เป็นการอุทธรณ์โต้แย้งว่า จำเลยซื้อสินค้าไปเพื่ออุตสาหกรรมของจำเลย จึงเป็นอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง เมื่อจำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นอุทธรณ์ไม่เกินห้าหมื่นบาท คดีย่อมต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ มาตรา 224 วรรคหนึ่ง แม้ศาลชั้นต้นจะรับเป็นอุทธรณ์ และศาลอุทธรณ์รับวินิจฉัยให้ก็เป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมาย ถือไม่ได้ว่าเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลอุทธรณ์ ต้องห้ามมิให้ฎีกา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5755/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องหนี้จากการซื้อสินค้า โดยพิจารณาจากใบส่งของชั่วคราวและอุตสาหกรรมที่ซื้อไป
ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าตามใบส่งของชั่วคราวระหว่างวันที่5มกราคม2533ถึงวันที่3มีนาคม2533เมื่อนับถึงวันฟ้อง(วันที่13มีนาคม2535)เกินกว่า2ปีสิทธิเรียกร้องค่าสินค้าของโจทก์จึงขาดอายุความ2ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา193/34(1)ซึ่งเท่ากับศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงแล้วว่าจำเลยมิได้ซื้อสินค้าไปเพื่ออุตสาหกรรมของจำเลยที่โจทก์อุทธรณ์ว่าจำเลยซื้อสินค้าไปเพื่ออุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ของจำเลยจึงมีอายุความ5ปีคดีไม่ขาดอายุความนั้นเป็นการอุทธรณ์โต้แย้งว่าจำเลยซื้อสินค้าไปเพื่ออุตสาหกรรมของจำเลยจึงเป็นอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงเมื่อจำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นอุทธรณ์ไม่เกินห้าหมื่นบาทคดีย่อมต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา224วรรคหนึ่งแม้ศาลชั้นต้นจะรับเป็นอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์รับวินิจฉัยให้ก็เป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมายถือไม่ได้ว่าเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลอุทธรณ์ต้องห้ามมิให้ฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา249ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5755/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความ 2 ปี ใบส่งของชั่วคราว และข้อจำกัดการอุทธรณ์ในคดีทุนทรัพย์น้อยกว่าห้าหมื่นบาท
ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่าตามใบส่งของชั่วคราวระหว่างวันที่5มกราคม2533ถึงวันที่3มีนาคม2533เมื่อนับถึงวันฟ้อง(วันที่13มีนาคม2535)เกินกว่า2ปีสิทธิเรียกร้องค่าสินค้าของโจทก์จึงขาดอายุความ2ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา193/34(1)ซึ่งเท่ากับศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงแล้วว่าจำเลยมิได้ซื้อสินค้าไปเพื่ออุตสาหกรรมของจำเลยที่โจทก์อุทธรณ์ว่าจำเลยซื้อสินค้าไปเพื่ออุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ของจำเลยจึงมีอายุความ5ปีคดีไม่ขาดอายุความนั้นเป็นการอุทธรณ์โต้แย้งว่าจำเลยซื้อสินค้าไปเพื่ออุตสาหกรรมของจำเลยจึงเป็นอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงเมื่อจำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นอุทธรณ์ไม่เกินห้าหมื่นบาทคดีย่อมต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความมาตรา224วรรคหนึ่งแม้ศาลชั้นต้นจะรับเป็นอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์รับวินิจฉัยให้ก็เป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมายถือไม่ได้ว่าเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลอุทธรณ์ต้องห้ามมิให้ฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา249ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5755/2538 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความของสิทธิเรียกร้องค่าสินค้าและการห้ามอุทธรณ์กรณีทุนทรัพย์น้อย
ศาลชั้นต้นวินิจฉัยว่า ตามใบส่งของชั่วคราวระหว่างวันที่ 5มกราคม 2533 ถึงวันที่ 3 มีนาคม 2533 เมื่อนับถึงวันฟ้อง (วันที่ 13 มีนาคม2535) จึงเกินกว่า 2 ปี สิทธิเรียกร้องค่าสินค้าของโจทก์จึงขาดอายุความ 2 ปีตาม ป.พ.พ. มาตรา 193/34 (1) ซึ่งเท่ากับศาลชั้นต้นฟังข้อเท็จจริงแล้วว่าจำเลยมิได้ซื้อสินค้าไปเพื่ออุตสาหกรรมของจำเลย ที่โจทก์อุทธรณ์ว่า จำเลยซื้อสินค้าไปเพื่ออุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ของจำเลย จึงมีอายุความ 5 ปี คดีไม่ขาดอายุความนั้น เป็นการอุทธรณ์โต้แย้งว่า จำเลยซื้อสินค้าไปเพื่ออุตสาหกรรมของจำเลย จึงเป็นอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง เมื่อจำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นอุทธรณ์ไม่เกินห้าหมื่นบาท คดีย่อมต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 224วรรคหนึ่ง แม้ศาลชั้นต้นจะรับเป็นอุทธรณ์ และศาลอุทธรณ์รับวินิจฉัยให้ ก็เป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมาย ถือไม่ได้ว่าเป็นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลอุทธรณ์ ต้องห้ามมิให้ฎีกา ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 249 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5495/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแยกคำนวณทุนทรัพย์ที่พิพาทในสัญญาต่างกัน แม้รวมฟ้องเป็นคดีเดียว ศาลต้องแยกพิจารณาตามวงเงินสัญญาแต่ละส่วน
การคำนวณทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นอุทธรณ์นั้น ต้องแยกคำนวณตามจำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาทกันตามข้อหาของการผิดสัญญา โจทก์ฟ้องให้จำเลยที่ 1 รับผิดจากสัญญาเล่นแชร์ 2 วง แต่ละวงมีรายละเอียดข้อสัญญาต่างกัน การผิดสัญญาวงหนึ่งวงใดไม่เป็นเหตุให้ผิดสัญญาอีกวงหนึ่งด้วย โจทก์จึงสามารถแยกฟ้องจำเลยที่ 1 ได้ตามข้อหาของการผิดสัญญาเป็นสองคดีเมื่อจำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาทกันสำหรับการเล่นแชร์แต่ละวงมีจำนวนไม่เกิน 50,000 บาท จึงต้องห้ามมิให้คู่ความอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 224 วรรคหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5495/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคำนวณทุนทรัพย์พิพาทในคดีสัญญาเล่นแชร์แยกวง ศาลต้องแยกคำนวณตามแต่ละวง หากไม่เกิน 50,000 บาท ห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง
การคำนวณทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นอุทธรณ์นั้นต้องแยกคำนวณตามจำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาทกันตามข้อหาของการผิดสัญญาโจทก์ฟ้องให้จำเลยที่1รับผิดจากสัญญาเล่นแชร์2วงแต่ละวงมีรายละเอียดข้อสัญญาต่างกันการผิดสัญญาวงหนึ่งวงใดไม่เป็นเหตุให้ผิดสัญญาอีกวงหนึ่งด้วยโจทก์จึงสามารถแยกฟ้องจำเลยที่1ได้ตามข้อหาของการผิดสัญญาเป็นสองคดีเมื่อจำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาทกันสำหรับการเล่นแชร์แต่ละวงมีจำนวนไม่เกิน50,000บาทจึงต้องห้ามมิให้คู่ความอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา224วรรคหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5495/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคำนวณทุนทรัพย์ในคดีแพ่ง: สัญญาเล่นแชร์หลายวงแยกฟ้องได้, ทุนทรัพย์แต่ละวงต่ำกว่า 50,000 บาท ห้ามอุทธรณ์ข้อเท็จจริง
การคำนวณทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นอุทธรณ์นั้นต้องแยกคำนวณตามจำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาทกันตามข้อหาของการผิดสัญญาโจทก์ฟ้องให้จำเลยที่1รับผิดจากสัญญาเล่นแชร์2วงแต่ละวงมีรายละเอียดข้อสัญญาต่างกันการผิดสัญญาวงหนึ่งวงใดไม่เป็นเหตุให้ผิดสัญญาอีกวงหนึ่งด้วยโจทก์จึงสามารถแยกฟ้องจำเลยที่1ได้ตามข้อหาของการผิดสัญญาเป็นสองคดีเมื่อจำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาทกันสำหรับการเล่นแชร์แต่ละวงมีจำนวนไม่เกิน50,000บาทจึงต้องห้ามมิให้คู่ความอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา224วรรคหนึ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5470/2538 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ผลบังคับใช้กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งใหม่กับการอุทธรณ์คดีที่ดิน และลักษณะคดีที่ต้องห้ามอุทธรณ์
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 224 ที่แก้ไขใหม่ โดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 12) พ.ศ.2534 ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 2 ว่า ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด 60 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ซึ่งพระราชบัญญัติดังกล่าวประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2534 ดังนั้นจึงมีผลบังคับตั้งแต่วันที่27 ตุลาคม 2534 เป็นต้นไป การยื่นอุทธรณ์คำพิพากษาศาลชั้นต้นตั้งแต่วันที่ 27ตุลาคม 2534 เป็นต้นไปจึงต้องอยู่ภายใต้บังคับของมาตรา 224 ที่แก้ไขใหม่ด้วยแม้การยื่นฟ้องในศาลชั้นต้นจะได้ยื่นก่อนที่กฎหมายใหม่จะมีผลบังคับก็หาใช่สาระสำคัญไม่ ทั้งการนำกฎหมายวิธีพิจารณาความมาใช้บังคับไม่ใช่กรณีลงโทษทางอาญา จึงไม่ต้องนำหลักกฎหมายไม่มีผลบังคับย้อนหลังมาใช้
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขายที่ดินพิพาทเพื่อให้จำเลยที่ 2 โอนที่ดินพิพาทคืนแก่จำเลยที่ 1 หรือโจทก์ ถือได้ว่าเป็นการฟ้องเรียกเอาที่ดินพิพาทมาเป็นของโจทก์ด้วยนั่นเอง ซึ่งถ้าศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดี โจทก์ย่อมได้ที่ดินพิพาท จึงเป็นคดีฟ้องขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันอาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ทั้งกรณีตามคำฟ้องโจทก์ก็ไม่ได้พิพาทกันเกี่ยวกับสิทธิในครอบครัวแต่อย่างใดคดีโจทก์จึงต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง
โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขายที่ดินพิพาทเพื่อให้จำเลยที่ 2 โอนที่ดินพิพาทคืนแก่จำเลยที่ 1 หรือโจทก์ ถือได้ว่าเป็นการฟ้องเรียกเอาที่ดินพิพาทมาเป็นของโจทก์ด้วยนั่นเอง ซึ่งถ้าศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดี โจทก์ย่อมได้ที่ดินพิพาท จึงเป็นคดีฟ้องขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันอาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ทั้งกรณีตามคำฟ้องโจทก์ก็ไม่ได้พิพาทกันเกี่ยวกับสิทธิในครอบครัวแต่อย่างใดคดีโจทก์จึงต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5470/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดการอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 224 และผลของกฎหมายใหม่
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา224ที่แก้ไขใหม่โดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง(ฉบับที่12)พ.ศ.2534ได้บัญญัติไว้ในมาตรา2ว่าให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด60วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไปซึ่งพระราชบัญญัติดังกล่าวประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่27สิงหาคม2534ดังนั้นจึงมีผลบังคับตั้งแต่วันที่27ตุลาคม2534เป็นต้นไปการยื่นอุทธรณ์คำพิพากษาศาลชั้นต้นตั้งแต่วันที่27ตุลาคม2534เป็นต้นไปจึงต้องอยู่ภายใช้บังคับของมาตรา224ที่แก้ไขใหม่ด้วยแม้การยื่นฟ้องในศาลชั้นต้นจะได้ยื่นก่อนที่กฎหมายใหม่จะมีผลบังคับก็หาใช่สาระสำคัญไม่ทั้งการนำกฎหมายวิธีพิจารณาความมาใช้บังคับไม่ใช่กรณีลงโทษทางอาญาจึงไม่ต้องนำหลักกฎหมายไม่มีผลบังคับย้อนหลังมาใช้ โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมซื้อขายที่ดินพิพาทเพื่อให้จำเลยที่2โอนที่ดินพิพาทคืนแก่จำเลยที่1หรือโจทก์ถือได้ว่าเป็นการฟ้องเรียกเอาที่ดินพิพาทมาเป็นของโจทก์ด้วยนั่นเองซึ่งถ้าศาลพิพากษาให้โจทก์ชนะคดีโจทก์ย่อมได้ที่ดินพิพาทจึงเป็นคดีฟ้องขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันอาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ทั้งกรณีตามคำฟ้องโจทก์ก็ไม่ได้พิพาทกันเกี่ยวกับสิทธิในครอบครัวแต่อย่างใดคดีโจทก์จึงต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง