พบผลลัพธ์ทั้งหมด 29 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 64/2520 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจกรรมการบริษัทในการลงนามสัญญาเช่าซื้อ, ความถูกต้องของสัญญา, และการคิดดอกเบี้ยค่าเสียหาย
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 75 และมาตรา 1144 กรรมการบริษัทจำกัดเป็นผู้แทนของบริษัท มีอำนาจดำเนินกิจการทุกอย่างภายในขอบข่ายแห่งวัตถุประสงค์และข้อบังคับของบริษัทได้ หาได้มีอำนาจจำกัดเพียงเท่าที่ตัวแทนผู้ได้รับมอบอำนาจทั่วไปมีอยู่ไม่ มาตรา 1167 เป็นเรื่องความเกี่ยวพันกันในระหว่างกรรมการและบริษัทและบุคคลภายนอก เป็นต้นว่า กรรมการบริษัทจะต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอกเป็นส่วนตัวหรือไม่ ดังนี้ จึงจะบังคับตามกฎหมายว่าด้วยตัวแทน หาได้หมายความว่ากรรมการบริษัทเป็นตัวแทนผู้รับมอบอำนาจทั่วไปของบริษัทไม่
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 560 ที่บัญญัติให้ผู้ให้เช่าบอกกล่าวให้ผู้เช่าชำระค่าเช่าก่อนบอกเลิกสัญญาก็ดี มาตรา 574 ที่บัญญัติว่าเมื่อผู้เช่าซื้อผิดนัดไม่ชำระค่าเช่าซื้อสองคราวติดๆ กัน ผู้ให้เช่าซื้อจึงจะบอกเลิกสัญญาได้ก็ดี ไม่ใช่บทบัญญัติเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
จำเลยฎีกาว่าโจทก์บอกเลิกสัญญาโดยไม่สุจริต นั้น เมื่อจำเลยมิได้ให้การต่อสู้คดีไว้ จึงไม่มีประเด็นจะต้องวินิจฉัย
สัญญาเช่าซื้อ ข้อ 8 ที่ว่า ถ้าผู้เช่าซื้อจะต้องชำระเงินใดๆ แก่เจ้าของตามข้อสัญญาประการหนึ่งประการใด ผู้เช่าซื้อยอมเสียดอกเบี้ยสำหรับเงินที่ค้างชำระในอัตราร้อยละ 15 ต่อปี นั้น สำหรับค่าติดตามเอาทรัพย์คืนก็ดี ค่าซ่อมแซมรถก็ดี เป็นเงินที่จำเลยจะต้องชำระให้โจทก์ตามสัญญา ข้อ 9 อยู่ในความหมายของคำว่าเงินใดๆ ตามสัญญา ข้อ 8 จึงต้องเสียดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 15 ต่อปี แต่เงินค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถนั้น เป็นค่าเสียหายที่ไม่ได้กำหนดไว้ในสัญญาเช่าซื้อ ไม่อยู่ในความหมายของคำว่าเงินใดๆ ตามสัญญาเช่าซื้อ ข้อ 8 จึงคิดดอกเบี้ยได้เพียงร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี
การที่โจทก์ขอให้ศาลออกหมายเรียกพยานที่เป็นลูกจ้างของโจทก์นั้น เป็นการปฏิบัติตามกฎหมายวิธีพิจารณาความโดยถูกต้องเท่าที่จำเป็น หาเป็นการฟุ่มเฟือยไม่
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 560 ที่บัญญัติให้ผู้ให้เช่าบอกกล่าวให้ผู้เช่าชำระค่าเช่าก่อนบอกเลิกสัญญาก็ดี มาตรา 574 ที่บัญญัติว่าเมื่อผู้เช่าซื้อผิดนัดไม่ชำระค่าเช่าซื้อสองคราวติดๆ กัน ผู้ให้เช่าซื้อจึงจะบอกเลิกสัญญาได้ก็ดี ไม่ใช่บทบัญญัติเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
จำเลยฎีกาว่าโจทก์บอกเลิกสัญญาโดยไม่สุจริต นั้น เมื่อจำเลยมิได้ให้การต่อสู้คดีไว้ จึงไม่มีประเด็นจะต้องวินิจฉัย
สัญญาเช่าซื้อ ข้อ 8 ที่ว่า ถ้าผู้เช่าซื้อจะต้องชำระเงินใดๆ แก่เจ้าของตามข้อสัญญาประการหนึ่งประการใด ผู้เช่าซื้อยอมเสียดอกเบี้ยสำหรับเงินที่ค้างชำระในอัตราร้อยละ 15 ต่อปี นั้น สำหรับค่าติดตามเอาทรัพย์คืนก็ดี ค่าซ่อมแซมรถก็ดี เป็นเงินที่จำเลยจะต้องชำระให้โจทก์ตามสัญญา ข้อ 9 อยู่ในความหมายของคำว่าเงินใดๆ ตามสัญญา ข้อ 8 จึงต้องเสียดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 15 ต่อปี แต่เงินค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถนั้น เป็นค่าเสียหายที่ไม่ได้กำหนดไว้ในสัญญาเช่าซื้อ ไม่อยู่ในความหมายของคำว่าเงินใดๆ ตามสัญญาเช่าซื้อ ข้อ 8 จึงคิดดอกเบี้ยได้เพียงร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี
การที่โจทก์ขอให้ศาลออกหมายเรียกพยานที่เป็นลูกจ้างของโจทก์นั้น เป็นการปฏิบัติตามกฎหมายวิธีพิจารณาความโดยถูกต้องเท่าที่จำเป็น หาเป็นการฟุ่มเฟือยไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1781/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าของที่ดินรับผิดภาษีค้างชำระหลังรับโอนโกดังจากผู้ล้มละลาย สัญญาเช่าระงับ
ผู้มีชื่อเช่าที่ดินปลูกโกดังและโอนกันต่อๆ มา เจ้าของโกดังคนสุดท้ายถูกฟ้องล้มละลาย ศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด และจำเลยซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาเช่าต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แล้วจึงเป็นผลให้สัญญาเช่านั้นต้องระงับไป โกดังจึงตกเป็นกรรมสิทธิแก่จำเลยทันทีตามข้อตกลงในสัญญาเช่า เพราะโกดังเป็นส่วนควบของที่ดิน ไม่ต้องไปทำการโอนจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ จำเลยจึงมีฐานะเป็นเจ้าของคนใหม่
มาตรา 45 แห่งพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475 เป็นบทบัญญัติที่รัฐจะติดตามเอาค่าภาษีให้ได้ไม่ว่ากรรมสิทธิแห่งทรัพย์สินนั้นจะได้โอนไปเป็นของเจ้าของใหม่โดยเหตุใดๆ ก็ตาม บรรดาเจ้าของคนเก่าและคนใหม่ต้องเป็นลูกหนี้ค่าภาษีร่วมกัน
การที่เจ้าหนี้บุริมสิทธิไม่ไปขอรับชำระหนี้ของผู้ล้มละลายจากเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ จะถือว่าเป็นการปลดหนี้ไม่ได้เพราะเจ้าหนี้มิได้แสดงเจตนาต่อลูกหนี้ว่าจะปลดหนี้ให้ หนี้จึงยังไม่ระงับ
ค่าภาษีที่มิได้ชำระภายในเวลาที่กฎหมายกำหนดเป็นเงินภาษีค้างชำระซึ่งกฎหมายบัญญัติให้เพิ่มจำนวนขึ้น เงินค่าภาษีที่เพิ่มขึ้นจึงเป็นค่าภาษีที่ค้างชำระซึ่งเจ้าของโรงเรือนและที่ดินคนใหม่ต้องรับผิด
เมื่อจำเลยผิดนัดไม่ชำระค่าภาษีที่ค้างรวมทั้งเงินเพิ่มภาษี โจทก์มีสิทธิเรียกดอกเบี้ยจากหนี้เงินในระหว่างเวลาผิดนัดได้ ไม่เป็นการเรียกดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ย
การที่โจทก์ยื่นคำขอรับชำระหนี้จากเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไว้น้อยกว่าจำนวนที่แท้จริง ไม่ทำให้โจทก์เสียสิทธิที่จะเรียกให้จำเลยชำระหนี้ตามจำนวนที่แท้จริง
การชำระค่าภาษีเป็นภาระของผู้รับประเมินจะพึงนำไปชำระจะถือว่าเทศบาลประมาทเลินเล่อไม่เรียกเก็บมิได้ จำเลยมีหน้าที่ต้องนำภาษีไปชำระโจทก์ แต่กลับเพิกเฉยเสีย จนโจทก์ต้องฟ้อง จำเลยจึงต้องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมเมื่อแพ้คดี
มาตรา 45 แห่งพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475 เป็นบทบัญญัติที่รัฐจะติดตามเอาค่าภาษีให้ได้ไม่ว่ากรรมสิทธิแห่งทรัพย์สินนั้นจะได้โอนไปเป็นของเจ้าของใหม่โดยเหตุใดๆ ก็ตาม บรรดาเจ้าของคนเก่าและคนใหม่ต้องเป็นลูกหนี้ค่าภาษีร่วมกัน
การที่เจ้าหนี้บุริมสิทธิไม่ไปขอรับชำระหนี้ของผู้ล้มละลายจากเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ จะถือว่าเป็นการปลดหนี้ไม่ได้เพราะเจ้าหนี้มิได้แสดงเจตนาต่อลูกหนี้ว่าจะปลดหนี้ให้ หนี้จึงยังไม่ระงับ
ค่าภาษีที่มิได้ชำระภายในเวลาที่กฎหมายกำหนดเป็นเงินภาษีค้างชำระซึ่งกฎหมายบัญญัติให้เพิ่มจำนวนขึ้น เงินค่าภาษีที่เพิ่มขึ้นจึงเป็นค่าภาษีที่ค้างชำระซึ่งเจ้าของโรงเรือนและที่ดินคนใหม่ต้องรับผิด
เมื่อจำเลยผิดนัดไม่ชำระค่าภาษีที่ค้างรวมทั้งเงินเพิ่มภาษี โจทก์มีสิทธิเรียกดอกเบี้ยจากหนี้เงินในระหว่างเวลาผิดนัดได้ ไม่เป็นการเรียกดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ย
การที่โจทก์ยื่นคำขอรับชำระหนี้จากเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไว้น้อยกว่าจำนวนที่แท้จริง ไม่ทำให้โจทก์เสียสิทธิที่จะเรียกให้จำเลยชำระหนี้ตามจำนวนที่แท้จริง
การชำระค่าภาษีเป็นภาระของผู้รับประเมินจะพึงนำไปชำระจะถือว่าเทศบาลประมาทเลินเล่อไม่เรียกเก็บมิได้ จำเลยมีหน้าที่ต้องนำภาษีไปชำระโจทก์ แต่กลับเพิกเฉยเสีย จนโจทก์ต้องฟ้อง จำเลยจึงต้องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมเมื่อแพ้คดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1781/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับผิดในค่าภาษีของเจ้าของใหม่ หลังการบอกเลิกสัญญาเช่า และการตกเป็นกรรมสิทธิ์ของทรัพย์สิน
ผู้มีชื่อเช่าที่ดินปลูกโกดังและโอนกันต่อ ๆ มา เจ้าของโกดังคนสุดท้ายถูกฟ้องล้มละลาย ศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด และจำเลยซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาเช่าต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แล้ว จึงเป็นผลให้สัญญาเช่านั้นต้องระงับไป โกดังจึงตกเป็นกรรมสิทธิ์แก่จำเลยทันทีตามข้อตกลงในสัญญาเช่า เพราะโกดังเป็นส่วนควบของที่ดิน ไม่ต้องไปทำการโอนจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ จำเลยจึงมีฐานะเป็นเจ้าของคนใหม่
มาตรา 45 แห่งพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475 เป็นบทบัญญัติที่รัฐจะติดตามเอาค่าภาษีให้ได้ไม่ว่ากรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินนั้นจะได้โอนไปเป็นของเจ้าของใหม่โดยเหตุใด ๆ ก็ตาม บรรดาเจ้าของคนเก่าและคนใหม่ต้องเป็นลูกหนี้ค่าภาษีร่วมกัน
การที่เจ้าหนี้บุริมสิทธิไม่ไปขอรับชำระหนี้ของผู้ล้มละลายจากเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ จะถือว่าเป็นการปลดหนี้ไม่ได้ เพราะเจ้าหนี้มิได้แสดงเจตนาต่อลูกหนี้ว่าจะปลดหนี้ให้ หนี้จึงยังไม่ระงับ
ค่าภาษีที่มิได้ชำระภาษีในเวลาที่กฎหมายกำหนดเป็นเงินภาษีค้างชำระซึ่งกฎหมายบัญญัติให้เพิ่มจำนวนขึ้น เงินค่าภาษีที่เพิ่มขึ้นจึงเป็นค่าภาษีที่ค้างชำระซึ่งเจ้าของโรงเรือนและที่ดินคนใหม่ต้องรับผิด
เมื่อจำเลยผิดนัดไม่ชำระค่าภาษีที่ค้างรวมทั้งเงินเพิ่มภาษี โจทก์มีสิทธิเรียกดอกเบี้ยจากหนี้เงินในระหว่างเวลาผิดนัดได้ ไม่เป็นการเรียกดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ย
การที่โจทก์ยื่นคำขอรับชำระหนี้จากเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไว้น้อยกว่าจำนวนที่แท้จริง ไม่ทำให้โจทก์เสียสิทธิที่จะเรียกให้จำเลยชำระหนี้ตามจำนวนที่แท้จริง
การชำระค่าภาษีเป็นภาระของผู้รับประเมินจะพึงนำไปชำระ จะถือว่าเทศบาลประมาทเลินเล่อไม่เรียกเก็บมิได้ จำเลยมีหน้าที่ต้องนำภาษีไปชำระโจทก์แต่กลับเพิกเฉยเสีย จนโจทก์ต้องฟ้อง จำเลยจึงต้องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมเมื่อแพ้คดี
มาตรา 45 แห่งพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475 เป็นบทบัญญัติที่รัฐจะติดตามเอาค่าภาษีให้ได้ไม่ว่ากรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินนั้นจะได้โอนไปเป็นของเจ้าของใหม่โดยเหตุใด ๆ ก็ตาม บรรดาเจ้าของคนเก่าและคนใหม่ต้องเป็นลูกหนี้ค่าภาษีร่วมกัน
การที่เจ้าหนี้บุริมสิทธิไม่ไปขอรับชำระหนี้ของผู้ล้มละลายจากเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ จะถือว่าเป็นการปลดหนี้ไม่ได้ เพราะเจ้าหนี้มิได้แสดงเจตนาต่อลูกหนี้ว่าจะปลดหนี้ให้ หนี้จึงยังไม่ระงับ
ค่าภาษีที่มิได้ชำระภาษีในเวลาที่กฎหมายกำหนดเป็นเงินภาษีค้างชำระซึ่งกฎหมายบัญญัติให้เพิ่มจำนวนขึ้น เงินค่าภาษีที่เพิ่มขึ้นจึงเป็นค่าภาษีที่ค้างชำระซึ่งเจ้าของโรงเรือนและที่ดินคนใหม่ต้องรับผิด
เมื่อจำเลยผิดนัดไม่ชำระค่าภาษีที่ค้างรวมทั้งเงินเพิ่มภาษี โจทก์มีสิทธิเรียกดอกเบี้ยจากหนี้เงินในระหว่างเวลาผิดนัดได้ ไม่เป็นการเรียกดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ย
การที่โจทก์ยื่นคำขอรับชำระหนี้จากเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไว้น้อยกว่าจำนวนที่แท้จริง ไม่ทำให้โจทก์เสียสิทธิที่จะเรียกให้จำเลยชำระหนี้ตามจำนวนที่แท้จริง
การชำระค่าภาษีเป็นภาระของผู้รับประเมินจะพึงนำไปชำระ จะถือว่าเทศบาลประมาทเลินเล่อไม่เรียกเก็บมิได้ จำเลยมีหน้าที่ต้องนำภาษีไปชำระโจทก์แต่กลับเพิกเฉยเสีย จนโจทก์ต้องฟ้อง จำเลยจึงต้องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมเมื่อแพ้คดี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1177/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยึดทรัพย์บังคับคดีเกินความจำเป็นและเจตนาของเจ้าหนี้: หลักเกณฑ์การรับผิดค่าธรรมเนียม
คู่ความทำสัญญาประนีประนอมยอมความต่อหน้าศาล โดยจำเลยที่ 1 ยอมใช้เงินแก่โจทก์ และจำเลยที่ 2 ยอมรับประกัน ศาลพิพากษาตามยอมคดีถึงที่สุด ต่อมาจำเลยผิดนัด โจทก์จึงนำเจ้าพนักงานยึดทรัพย์ของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้ค้ำประกัน โดยก่อนจะยึดก็ได้แจ้งให้ทราบล่วงหน้า ขณะทำการยึดเจ้าพนักงานปิดประกาศหมายยึด จำเลยที่ 2 ก็ฉีกทำลายเสีย ทั้งได้ความว่าจำเลยที่ 1 ลูกหนี้ไม่มีทรัพย์ให้ยึดจริง เช่นนี้ คดีจึงยังไม่พอฟังว่าโจทก์แกล้งยึดโดยไม่สุจริต หรือเพราะความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงอย่างใดไม่ ฉะนั้น แม้จะมีการชำระหนี้ภายหลังครบถ้วนแล้วก็ตาม จำเลยที่ 2 ก็ต้องรับผิดในค่าธรรมเนียมการยึดที่ไม่มีการขายนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1177/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยึดทรัพย์บังคับคดี การพิสูจน์ความสุจริตของผู้บังคับคดี และการรับผิดในค่าธรรมเนียม
คู่ความทำสัญญาประนีประนอมยอมความต่อหน้าศาล โดยจำเลยที่ 1 ยอมใช้เงินแก่โจทก์ และจำเลยที่ 2 ยอมรับประกัน ศาลพิพากษาตามยอม คดีถึงที่สุด ต่อมาจำเลยผิดนัด โจทก์จึงนำเจ้าพนักงานยึดทรัพย์ของจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นผู้ค้ำประกัน โดยก่อนจะยึดก็ได้แจ้งให้ทราบล่วงหน้า ขณะทำการยึดเจ้าพนักงานปิดประกาศหมายยึด จำเลยที่ 2 ก็ฉีกทำลายเสีย ทั้งได้ความว่าจำเลยที่ 1 ลูกหนี้ไม่มีทรัพย์ให้ยึดจริง เช่นนี้ คดีจึงยังไม่พอฟังว่าโจทก์แกล้งยึดโดยไม่สุจริต หรือเพราะความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงอย่างใดไม่ ฉะนั้น แม้จะมีการชำระหนี้ภายหลังครบถ้วนแล้วก็ตาม จำเลยที่ 2 ก็ต้องรับผิดในค่าธรรมเนียมการยึดที่ไม่มีการขายนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 917/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าธรรมเนียมยึดทรัพย์ในคดีล้มละลาย: การชำระทดแทนไม่ใช่ค่าใช้จ่ายตามคำสั่งศาล
ค่าธรรมเนียมการยึดทรัพย์ในคดีล้มละลายชั้นพิทักษ์ทรัพย์ชั่วคราวซึ่งโจทก์ถอนฟ้องมิได้มีการขายทรัพย์ที่ยึดนั้น ถ้าจำเลยได้ออกเงินไปก่อนเพื่อกันความเสียหายของจำเลย แล้วจะมาร้องขอให้ศาลบังคับโจทก์ชดใช้ให้แก่จำเลยย่อมไม่ได้ เพราะไม่ใช่เป็นค่าธรรมเนียมซึ่งฝ่ายหนึ่งจะต้องใช้ให้แก่อีกฝ่ายหนึ่งตามคำสั่งศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 917/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าธรรมเนียมยึดทรัพย์ในคดีล้มละลาย: การชำระแทนและการเรียกร้องค่าชดใช้
ค่าธรรมเนียมการยึดทรัพย์ในคดีล้มละลายชั้นพิทักษ์ทรัพย์ชั่วคราว ซึ่งโจทก์ถอนฟ้องมิได้มีการขายทรัพย์ที่ยึดนั้น ถ้าจำเลยได้ออกเงินไปก่อนเพื่อกันความเสียหายของจำเลย แล้วจะมาร้องขอให้ศาลบังคับโจทก์ชดใช้ให้แก่จำเลยย่อมไม่ได้ เพราะไม่ใช่เป็นค่าธรรมเนียมซึ่งฝ่ายหนึ่งจะต้องใช้ให้แก่อีกฝ่ายหนึ่งตามคำสั่งศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 782/2491
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความคดีทรัพย์สิน, การจัดการทรัพย์สินแทน, การแก้คำขอท้ายฟ้อง, และดอกเบี้ยค้างชำระ
มารดาจัดการทรัพย์สินของบุตรในฐานะผู้แทนบุตรตลอดมาจนมารดาตายบุตรย่อมมีสิทธิฟ้องเรียกทรัพย์สินอันเป็นส่วนได้ของตนจากผู้จัดการทรัพย์มรดกของมารดาได้ คดีไม่มีขาดอายุความ
เมื่อได้ฟ้องคดีต่อศาลแล้ว คดีคงดำเนินอยู่ในศาลตลอดมา อายุความย่อมสะดุดหยุดอยู่ จนกว่าจะได้วินิจฉัยถึงที่สุด หรือเสร็จไปประการอื่น
การที่โจทก์ยื่นคำร้องขอแก้คำขอท้ายฟ้อง และได้เสียค่าธรรมเนียมใหม่ตามคำพิพากษาศาลฎีกา ซึ่งยอมให้รับคดีไว้พิจารณา ย่อมถือว่า เป็นคดีค้างพิจารณาอยู่ในศาล
ฟ้องเรียกเงินตามรายการต่างๆ แต่คำขอท้ายฟ้องขอเรียกเป็นจำนวนน้อยกว่ารายการที่ระบุไว้ แต่แล้วศาลสั่งให้เรียกค่าขึ้นศาลตามรายการที่ระบุไว้ ดังนี้ไม่ถือว่าเป็นการปลดหนี้
เมื่อจำเลยไม่ต้องการเสียดอกเบี้ยในระหว่างการพิจารณาคดี จำเลยก็ต้องวางเงินต่อศาลตามจำนวนที่คิดว่าจะต้องชำระแก่โจทก์ มิฉะนั้นจะขอยกเว้นไม่เสียดอกเบี้ยไม่ได้
เมื่อได้ฟ้องคดีต่อศาลแล้ว คดีคงดำเนินอยู่ในศาลตลอดมา อายุความย่อมสะดุดหยุดอยู่ จนกว่าจะได้วินิจฉัยถึงที่สุด หรือเสร็จไปประการอื่น
การที่โจทก์ยื่นคำร้องขอแก้คำขอท้ายฟ้อง และได้เสียค่าธรรมเนียมใหม่ตามคำพิพากษาศาลฎีกา ซึ่งยอมให้รับคดีไว้พิจารณา ย่อมถือว่า เป็นคดีค้างพิจารณาอยู่ในศาล
ฟ้องเรียกเงินตามรายการต่างๆ แต่คำขอท้ายฟ้องขอเรียกเป็นจำนวนน้อยกว่ารายการที่ระบุไว้ แต่แล้วศาลสั่งให้เรียกค่าขึ้นศาลตามรายการที่ระบุไว้ ดังนี้ไม่ถือว่าเป็นการปลดหนี้
เมื่อจำเลยไม่ต้องการเสียดอกเบี้ยในระหว่างการพิจารณาคดี จำเลยก็ต้องวางเงินต่อศาลตามจำนวนที่คิดว่าจะต้องชำระแก่โจทก์ มิฉะนั้นจะขอยกเว้นไม่เสียดอกเบี้ยไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 782/2491 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความคดีทรัพย์สิน, การจัดการทรัพย์สินโดยผู้แทน, และดอกเบี้ยค้างชำระ
มารดาจัดการทรัพย์สินของบุตรในฐานะผู้แทนบุตรตลอดมาจนมารดาตาย บุตรย่อมมีสิทธิฟ้องเรียกทรัพย์สินอันเป็นส่วนได้ของตนจากผู้จัดการทรัพย์มฤดกของมารดาได้ คดีไม่มีขาดอายุความ
เมื่อได้ฟ้องคดีต่อศาลแล้ว คดีคงดำเนินอยู่ในศาลตลอดมา อายุความย่อมสดุดหยุดอยู่ จนกว่าจะได้วินิจฉัยถึงที่สุด หรือเสร็จไปประการอื่น
การที่โจทก์ยื่นคำร้องขอแก้คำขอท้ายฟ้อง และได้เสียค่าธรรมเนียมใหม่ตามคำพิพากษาศาลฎีกา ซึ่งยอมให้รับคดีไว้พิจารณา ย่อมถือว่า เป็นคดีค้างพิจารณาอยู่ในศาล
ฟ้องเรียกเงินตามรายการต่างๆแต่คำขอท้ายฟ้องขอเรียกเป็นจำนวนน้อยกว่ารายการที่ระบุไว้ แต่ศาลสั่งให้เรียกค่าขึ้นศาลตามรายการที่ระบุไว้ ดังนี้ไม่ถือว่าเป็นการปลดหนี้
เมื่อจำเลยไม่ต้องการเสียดอกเบี้ยในระหว่างการพิจารราคดี จำเลยก็ต้องวางเงินต่อศาลตามจำนวนที่คิดว่าจะต้องชำระแก่โจทก์ มิฉนั้นจะขอยกเว้นไม่เสียดอกเบี้ยไม่ได้.
เมื่อได้ฟ้องคดีต่อศาลแล้ว คดีคงดำเนินอยู่ในศาลตลอดมา อายุความย่อมสดุดหยุดอยู่ จนกว่าจะได้วินิจฉัยถึงที่สุด หรือเสร็จไปประการอื่น
การที่โจทก์ยื่นคำร้องขอแก้คำขอท้ายฟ้อง และได้เสียค่าธรรมเนียมใหม่ตามคำพิพากษาศาลฎีกา ซึ่งยอมให้รับคดีไว้พิจารณา ย่อมถือว่า เป็นคดีค้างพิจารณาอยู่ในศาล
ฟ้องเรียกเงินตามรายการต่างๆแต่คำขอท้ายฟ้องขอเรียกเป็นจำนวนน้อยกว่ารายการที่ระบุไว้ แต่ศาลสั่งให้เรียกค่าขึ้นศาลตามรายการที่ระบุไว้ ดังนี้ไม่ถือว่าเป็นการปลดหนี้
เมื่อจำเลยไม่ต้องการเสียดอกเบี้ยในระหว่างการพิจารราคดี จำเลยก็ต้องวางเงินต่อศาลตามจำนวนที่คิดว่าจะต้องชำระแก่โจทก์ มิฉนั้นจะขอยกเว้นไม่เสียดอกเบี้ยไม่ได้.