พบผลลัพธ์ทั้งหมด 1,272 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 9758/2542
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาจัดหางานสำคัญกว่าสถานที่: ปฏิเสธความผิดฐานจัดหางานโดยไม่ได้รับอนุญาต
การจะเป็นผู้กระทำผิดฐานจัดหางานให้คนหางานเพื่อไปทำงานในต่างประเทศโดยไม่ได้รับอนุญาต ผู้กระทำผิดจะต้องมีเจตนาจัดหางานตามมาตรา 4 วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. 2528
บ้านที่จำเลยพักอาศัยเป็นบ้านธรรมดา ไม่ได้จัดตั้งเป็นสำนักงาน เมื่อผู้เสียหายไปติดต่อที่บ้านจำเลยเพื่อให้จำเลยส่งไปทำงานในต่างประเทศ ก็ไม่ปรากฏว่าจำเลยได้กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งไว้ที่บ้านเพื่อให้บุคคลทั่วไปเข้าใจว่าเป็นสถานที่สำหรับจัดหางาน และก่อนเกิดเหตุคดีนี้จำเลยไม่เคยส่งคนหางานเพื่อไปทำงานในต่างประเทศ หรือมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นใดที่เคยส่งคนหางานเพื่อไปทำงานในต่างประเทศ การที่จำเลยยืนยันกับผู้เสียหายว่าจำเลยสามารถจัดหางานให้ผู้เสียหายทั้งสี่ไปทำงานในต่างประเทศได้ แล้วจำเลยพาผู้เสียหายไปขออนุญาตเดินทางเข้าประเทศญี่ปุ่นที่สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำประเทศไทยและให้ผู้เสียหายพักที่บ้านจำเลยในระหว่างที่ยังไม่ได้เดินทางไป ก็เพียงเพื่อหลอกลวงให้ผู้เสียหายให้หลงเชื่อยิ่งขึ้นว่าจำเลยสามารถจัดหางานให้ผู้เสียหายทั้งสี่เพื่อไปทำงานในต่างประเทศได้ แล้วผู้เสียหายยินยอมจ่ายเงินให้จำเลยตามที่เรียกร้องเท่านั้น พฤติการณ์ของจำเลยดังที่กล่าวมายังฟังไม่ได้ว่าจำเลยมีเจตนาจัดหางานให้ผู้เสียหายการกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดฐานจัดหางานให้คนหางานเพื่อไปทำงานในต่างประเทศโดยไม่ได้รับอนุญาต
บ้านที่จำเลยพักอาศัยเป็นบ้านธรรมดา ไม่ได้จัดตั้งเป็นสำนักงาน เมื่อผู้เสียหายไปติดต่อที่บ้านจำเลยเพื่อให้จำเลยส่งไปทำงานในต่างประเทศ ก็ไม่ปรากฏว่าจำเลยได้กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งไว้ที่บ้านเพื่อให้บุคคลทั่วไปเข้าใจว่าเป็นสถานที่สำหรับจัดหางาน และก่อนเกิดเหตุคดีนี้จำเลยไม่เคยส่งคนหางานเพื่อไปทำงานในต่างประเทศ หรือมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นใดที่เคยส่งคนหางานเพื่อไปทำงานในต่างประเทศ การที่จำเลยยืนยันกับผู้เสียหายว่าจำเลยสามารถจัดหางานให้ผู้เสียหายทั้งสี่ไปทำงานในต่างประเทศได้ แล้วจำเลยพาผู้เสียหายไปขออนุญาตเดินทางเข้าประเทศญี่ปุ่นที่สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำประเทศไทยและให้ผู้เสียหายพักที่บ้านจำเลยในระหว่างที่ยังไม่ได้เดินทางไป ก็เพียงเพื่อหลอกลวงให้ผู้เสียหายให้หลงเชื่อยิ่งขึ้นว่าจำเลยสามารถจัดหางานให้ผู้เสียหายทั้งสี่เพื่อไปทำงานในต่างประเทศได้ แล้วผู้เสียหายยินยอมจ่ายเงินให้จำเลยตามที่เรียกร้องเท่านั้น พฤติการณ์ของจำเลยดังที่กล่าวมายังฟังไม่ได้ว่าจำเลยมีเจตนาจัดหางานให้ผู้เสียหายการกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดฐานจัดหางานให้คนหางานเพื่อไปทำงานในต่างประเทศโดยไม่ได้รับอนุญาต
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 9758/2542 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาจัดหางานต่างประเทศสำคัญกว่าสถานที่: การกระทำที่ปราศจากเจตนาไม่ถือเป็นความผิด
การจะเป็นผู้กระทำผิดฐานจัดหางานให้คนหางานเพื่อไปทำงานในต่างประเทศโดยไม่ได้รับอนุญาต ผู้กระทำผิดจะต้องมีเจตนาจัดหางานตามมาตรา 4วรรคหนึ่ง แห่ง พ.ร.บ.จัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ.2528
บ้านที่จำเลยพักอาศัยเป็นบ้านธรรมดา ไม่ได้จัดตั้งเป็นสำนักงานเมื่อผู้เสียหายไปติดต่อที่บ้านจำเลยเพื่อให้จำเลยส่งไปทำงานในต่างประเทศ ก็ไม่ปรากฏว่าจำเลยได้กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งไว้ที่บ้านเพื่อให้บุคคลทั่วไปเข้าใจว่าเป็นสถานที่สำหรับจัดหางาน และก่อนเกิดเหตุคดีนี้จำเลยไม่เคยส่งคนหางานเพื่อไปทำงานในต่างประเทศ หรือมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นใดที่เคยส่งคนหางานเพื่อไปทำงานในต่างประเทศ การที่จำเลยยืนยันกับผู้เสียหายว่าจำเลยสามารถจัดหางานให้ผู้เสียหายทั้งสี่ไปทำงานในต่างประเทศได้ แล้วจำเลยพาผู้เสียหายไปขออนุญาตเดินทางเข้าประเทศญี่ปุ่น ที่สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำประเทศไทยและให้ผู้เสียหายพักที่บ้านจำเลยในระหว่างที่ยังไม่ได้เดินทางไป ก็เพียงเพื่อหลอกลวงให้ผู้เสียหายให้หลงเชื่อยิ่งขึ้นว่าจำเลยสามารถจัดหางานให้ผู้เสียหายทั้งสี่เพื่อไปทำงานในต่างประเทศได้ แล้วผู้เสียหายยินยอมจ่ายเงินให้จำเลยตามที่เรียกร้องเท่านั้นพฤติการณ์ของจำเลยดังที่กล่าวมายังฟังไม่ได้ว่าจำเลยมีเจตนาจัดหางานให้ผู้เสียหายการกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดฐานจัดหางานให้คนหางานเพื่อไปทำงานในต่างประเทศโดยไม่ได้รับอนุญาต
บ้านที่จำเลยพักอาศัยเป็นบ้านธรรมดา ไม่ได้จัดตั้งเป็นสำนักงานเมื่อผู้เสียหายไปติดต่อที่บ้านจำเลยเพื่อให้จำเลยส่งไปทำงานในต่างประเทศ ก็ไม่ปรากฏว่าจำเลยได้กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งไว้ที่บ้านเพื่อให้บุคคลทั่วไปเข้าใจว่าเป็นสถานที่สำหรับจัดหางาน และก่อนเกิดเหตุคดีนี้จำเลยไม่เคยส่งคนหางานเพื่อไปทำงานในต่างประเทศ หรือมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นใดที่เคยส่งคนหางานเพื่อไปทำงานในต่างประเทศ การที่จำเลยยืนยันกับผู้เสียหายว่าจำเลยสามารถจัดหางานให้ผู้เสียหายทั้งสี่ไปทำงานในต่างประเทศได้ แล้วจำเลยพาผู้เสียหายไปขออนุญาตเดินทางเข้าประเทศญี่ปุ่น ที่สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำประเทศไทยและให้ผู้เสียหายพักที่บ้านจำเลยในระหว่างที่ยังไม่ได้เดินทางไป ก็เพียงเพื่อหลอกลวงให้ผู้เสียหายให้หลงเชื่อยิ่งขึ้นว่าจำเลยสามารถจัดหางานให้ผู้เสียหายทั้งสี่เพื่อไปทำงานในต่างประเทศได้ แล้วผู้เสียหายยินยอมจ่ายเงินให้จำเลยตามที่เรียกร้องเท่านั้นพฤติการณ์ของจำเลยดังที่กล่าวมายังฟังไม่ได้ว่าจำเลยมีเจตนาจัดหางานให้ผู้เสียหายการกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผิดฐานจัดหางานให้คนหางานเพื่อไปทำงานในต่างประเทศโดยไม่ได้รับอนุญาต
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8889/2542
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับฟังคำให้การพยานชั้นสอบสวนประกอบการพิจารณาคดีอาญา และการพิสูจน์ความตายจากบาดแผล
โจทก์มีประจักษ์พยานรู้เห็นใกล้ชิดมาให้การต่อพนักงานสอบสวนแต่ประจักษ์พยานโจทก์เบิกความในชั้นศาลเพื่อช่วยเหลือจำเลย ศาลจึงนำคำให้การของพยานโจทก์ดังกล่าวชั้นสอบสวนมาฟังประกอบข้อพิจารณาของศาลได้ทั้งไม่มีบทบัญญัติใดห้ามมิให้ศาลรับฟังคำให้การชั้นสอบสวนหรือให้รับฟังแต่เฉพาะพยานที่มาเบิกความต่อศาลเท่านั้น เมื่อคำให้การชั้นสอบสวนเกิดขึ้นโดยสมัครใจของพยานโจทก์ ศาลจึงนำคำให้การพยานชั้นสอบสวนมาฟังประกอบได้
ผู้ตายถูกจำเลยใช้มีดอีโต้ขนาดยาวประมาณ 1 ศอก ฟันที่บริเวณศีรษะและท้อง กะโหลกศีรษะแตกมีสมองไหลไม่รู้สึกตัวเมื่อมาโรงพยาบาลจนแพทย์ต้องรักษาด้วยการผ่าตัดและเย็บแผลให้ แม้แผลภายนอกจะหาย แต่ผู้ตายก็ยังมีอาการไม่สามารถพูดได้รับฟังไม่รู้เรื่อง แม้จะออกจากโรงพยาบาลมานอนรักษาตัวต่อที่บ้านอาการผู้ตายก็คงเช่นเดิม การที่จำเลยใช้มีดอีโต้ขนาดใหญ่ฟันที่บริเวณท้องและที่ศีรษะซึ่งเป็นอวัยวะสำคัญจนเป็นเหตุให้ผู้ตายกะโหลกศีรษะแตกมีสมองไหลเห็นได้ชัดว่าเป็นการฟันอย่างแรง แสดงว่าจำเลยฟันโดยมีเจตนาฆ่าผู้ตาย เมื่อผู้ตายถึงแก่ความตายในเวลาต่อมา ความตายของผู้ตายย่อมเป็นผลโดยตรงจากการกระทำของจำเลยที่ใช้มีดอีโต้ฟัน จำเลยจึงมีความผิดฐานฆ่าผู้ตาย
ผู้ตายถูกจำเลยใช้มีดอีโต้ขนาดยาวประมาณ 1 ศอก ฟันที่บริเวณศีรษะและท้อง กะโหลกศีรษะแตกมีสมองไหลไม่รู้สึกตัวเมื่อมาโรงพยาบาลจนแพทย์ต้องรักษาด้วยการผ่าตัดและเย็บแผลให้ แม้แผลภายนอกจะหาย แต่ผู้ตายก็ยังมีอาการไม่สามารถพูดได้รับฟังไม่รู้เรื่อง แม้จะออกจากโรงพยาบาลมานอนรักษาตัวต่อที่บ้านอาการผู้ตายก็คงเช่นเดิม การที่จำเลยใช้มีดอีโต้ขนาดใหญ่ฟันที่บริเวณท้องและที่ศีรษะซึ่งเป็นอวัยวะสำคัญจนเป็นเหตุให้ผู้ตายกะโหลกศีรษะแตกมีสมองไหลเห็นได้ชัดว่าเป็นการฟันอย่างแรง แสดงว่าจำเลยฟันโดยมีเจตนาฆ่าผู้ตาย เมื่อผู้ตายถึงแก่ความตายในเวลาต่อมา ความตายของผู้ตายย่อมเป็นผลโดยตรงจากการกระทำของจำเลยที่ใช้มีดอีโต้ฟัน จำเลยจึงมีความผิดฐานฆ่าผู้ตาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8889/2542 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับฟังคำให้การชั้นสอบสวนประกอบการพิจารณาคดี และเจตนาฆ่าจากการกระทำด้วยอาวุธอันตราย
โจทก์มีประจักษ์พยานรู้เห็นใกล้ชิดมาให้การต่อพนักงานสอบสวนแต่ประจักษ์พยานโจทก์เบิกความในชั้นศาลเพื่อช่วยเหลือจำเลย ศาลจึงนำคำให้การของพยานโจทก์ดังกล่าวชั้นสอบสวนมาฟังประกอบข้อพิจารณาของศาลได้ ทั้งไม่มีบทบัญญัติใดห้ามมิให้ศาลรับฟังคำให้การชั้นสอบสวนหรือให้รับฟังแต่เฉพาะพยานที่มาเบิกความต่อศาลเท่านั้น เมื่อคำให้การชั้นสอบสวนเกิดขึ้นโดยสมัครใจของพยานโจทก์ ศาลจึงนำคำให้การพยานชั้นสอบสวนมาฟังประกอบได้
ผู้ตายถูกจำเลยใช้มีดอีโต้ขนาดยาวประมาณ 1 ศอก ฟันที่บริเวณศีรษะและท้อง กะโหลกศีรษะแตกมีสมองไหลไม่รู้สึกตัวเมื่อมาโรงพยาบาลจนแพทย์ต้องรักษาด้วยการผ่าตัดและเย็บแผลให้ แม้แผลภายนอกจะหาย แต่ผู้ตายก็ยังมีอาการไม่สามารถพูดได้รับฟังไม่รู้เรื่อง แม้จะออกจากโรงพยาบาลมานอนรักษาตัวต่อที่บ้านอาการผู้ตายก็คงเช่นเดิม การที่จำเลยใช้มีดอีโต้ขนาดใหญ่ฟันที่บริเวณท้องและที่ศีรษะซึ่งเป็นอวัยวะสำคัญจนเป็นเหตุให้ผู้ตายกะโหลกศีรษะแตกมีสมองไหลเห็นได้ชัดว่าเป็นการฟันอย่างแรง แสดงว่าจำเลยฟันโดยมีเจตนาฆ่าผู้ตาย เมื่อผู้ตายถึงแก่ความตายในเวลาต่อมา ความตายของผู้ตายย่อมเป็นผลโดยตรงจากการกระทำของจำเลยที่ใช้มีดอีโต้ฟัน จำเลยจึงมีความผิดฐานฆ่าผู้ตาย
ผู้ตายถูกจำเลยใช้มีดอีโต้ขนาดยาวประมาณ 1 ศอก ฟันที่บริเวณศีรษะและท้อง กะโหลกศีรษะแตกมีสมองไหลไม่รู้สึกตัวเมื่อมาโรงพยาบาลจนแพทย์ต้องรักษาด้วยการผ่าตัดและเย็บแผลให้ แม้แผลภายนอกจะหาย แต่ผู้ตายก็ยังมีอาการไม่สามารถพูดได้รับฟังไม่รู้เรื่อง แม้จะออกจากโรงพยาบาลมานอนรักษาตัวต่อที่บ้านอาการผู้ตายก็คงเช่นเดิม การที่จำเลยใช้มีดอีโต้ขนาดใหญ่ฟันที่บริเวณท้องและที่ศีรษะซึ่งเป็นอวัยวะสำคัญจนเป็นเหตุให้ผู้ตายกะโหลกศีรษะแตกมีสมองไหลเห็นได้ชัดว่าเป็นการฟันอย่างแรง แสดงว่าจำเลยฟันโดยมีเจตนาฆ่าผู้ตาย เมื่อผู้ตายถึงแก่ความตายในเวลาต่อมา ความตายของผู้ตายย่อมเป็นผลโดยตรงจากการกระทำของจำเลยที่ใช้มีดอีโต้ฟัน จำเลยจึงมีความผิดฐานฆ่าผู้ตาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8641/2542 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความผิดฐานชิงทรัพย์: การร่วมกระทำผิดและการลดโทษจากอายุและทรัพย์สินที่ได้ไป
++ เรื่อง ปล้นทรัพย์ ++
คนร้ายที่ใช้กำลังประทุษร้ายและเอาทรัพย์ของผู้เสียหายทั้งสองไปมีเพียง 2 คน เท่านั้นคือจำเลยกับ ส. ส่วนคนร้ายที่เหลืออีก 1 คน คือ ป.นั้นคงยืนเฉย ๆ มิได้กระทำการใด ๆ อันเป็นการช่วยเหลือจำเลยกับ ส. และพฤติการณ์แห่งคดีที่เกิดขึ้นก็เนื่องจากผู้เสียหายที่ 1 ขับรถจักรยานยนต์แซงรถจักรยานยนต์ที่จำเลยขับ แล้วจำเลยก็ขับแซงขึ้นไปจึงเกิดเหตุคดีนี้ขึ้น เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นในทันทีทันใดโดยมิได้คบคิดกันมาก่อน เป็นเรื่องเฉพาะตัว จำเลยจึงมีความผิดฐานร่วมกันชิงทรัพย์ในเวลากลางคืนโดยใช้ยานพาหนะตาม ป.อ. มาตรา 339 วรรคสอง ประกอบด้วยมาตรา 340 ตรี เท่านั้น
ความผิดฐานปล้นทรัพย์ตามที่โจทก์ฟ้องรวมความผิดฐานชิงทรัพย์ด้วยศาลย่อมมีอำนาจลงโทษจำเลยฐานชิงทรัพย์ตามที่พิจารณาได้ความตาม ป.วิ.อ.มาตรา 192 วรรคท้าย
ศาลอุทธรณ์ฟังข้อเท็จจริงว่า จำเลยกระทำความผิดฐานร่วมกันชิงทรัพย์โดยใช้รถจักรยานยนต์เป็นยานพาหนะ แต่ลงโทษตาม ป.อ.มาตรา 339วรรคหนึ่ง, 340 ตรี จึงไม่ถูกต้อง สมควรแก้ไขให้ถูกต้องเป็นจำเลยมีความผิดตามป.อ.มาตรา 339 วรรคสอง ประกอบด้วยมาตรา 340 ตรี และศาลฎีกามีอำนาจเพิ่มเติมโทษจำเลยได้ เพราะโจทก์ฎีกาขอให้ลงโทษฐานปล้นทรัพย์ซึ่งมีโทษหนักขึ้น
คนร้ายที่ใช้กำลังประทุษร้ายและเอาทรัพย์ของผู้เสียหายทั้งสองไปมีเพียง 2 คน เท่านั้นคือจำเลยกับ ส. ส่วนคนร้ายที่เหลืออีก 1 คน คือ ป.นั้นคงยืนเฉย ๆ มิได้กระทำการใด ๆ อันเป็นการช่วยเหลือจำเลยกับ ส. และพฤติการณ์แห่งคดีที่เกิดขึ้นก็เนื่องจากผู้เสียหายที่ 1 ขับรถจักรยานยนต์แซงรถจักรยานยนต์ที่จำเลยขับ แล้วจำเลยก็ขับแซงขึ้นไปจึงเกิดเหตุคดีนี้ขึ้น เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นในทันทีทันใดโดยมิได้คบคิดกันมาก่อน เป็นเรื่องเฉพาะตัว จำเลยจึงมีความผิดฐานร่วมกันชิงทรัพย์ในเวลากลางคืนโดยใช้ยานพาหนะตาม ป.อ. มาตรา 339 วรรคสอง ประกอบด้วยมาตรา 340 ตรี เท่านั้น
ความผิดฐานปล้นทรัพย์ตามที่โจทก์ฟ้องรวมความผิดฐานชิงทรัพย์ด้วยศาลย่อมมีอำนาจลงโทษจำเลยฐานชิงทรัพย์ตามที่พิจารณาได้ความตาม ป.วิ.อ.มาตรา 192 วรรคท้าย
ศาลอุทธรณ์ฟังข้อเท็จจริงว่า จำเลยกระทำความผิดฐานร่วมกันชิงทรัพย์โดยใช้รถจักรยานยนต์เป็นยานพาหนะ แต่ลงโทษตาม ป.อ.มาตรา 339วรรคหนึ่ง, 340 ตรี จึงไม่ถูกต้อง สมควรแก้ไขให้ถูกต้องเป็นจำเลยมีความผิดตามป.อ.มาตรา 339 วรรคสอง ประกอบด้วยมาตรา 340 ตรี และศาลฎีกามีอำนาจเพิ่มเติมโทษจำเลยได้ เพราะโจทก์ฎีกาขอให้ลงโทษฐานปล้นทรัพย์ซึ่งมีโทษหนักขึ้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8366/2542 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากการทำร้ายด้วยอาวุธมีด ศาลพิจารณาจากบาดแผลและพฤติการณ์
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยที่ 1 ฐานร่วมกันพยายามฆ่าผู้อื่นตาม ป.อ.มาตรา 288, 80, 83 ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้อง โจทก์อุทธรณ์ขอให้ลงโทษจำเลยที่ 1 ตามฟ้อง ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดตาม ป.อ.มาตรา 295, 83 ผลเท่ากับว่าศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิพากษายกฟ้องโจทก์ในความผิดฐานพยายามฆ่าผู้อื่น ที่โจทก์ฎีกาขอให้ลงโทษจำเลยที่ 1 ในความผิดฐานนี้ จึงต้องห้ามตาม ป.วิ.อ.มาตรา 220
จำเลยที่ 2 ได้ใช้อาวุธมีดปลายแหลมแทงโจทก์ร่วม โจทก์ร่วมได้รับบาดเจ็บ มีบาดแผลถูกแทงบริเวณหน้าท้อง กว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 3เซนติเมตร ลึกเข้าช่องท้อง กระเพาะอาหารและลำไส้ฉีกขาด ขณะนำส่งโรงพยาบาลโจทก์ร่วมมีอาการช็อกเนื่องจากเสียเลือดในช่องท้อง หากรักษาไม่ทันอาจเสียชีวิตได้บาดแผลดังกล่าวใช้เวลารักษาประมาณ 3 เดือน นอกจากนี้โจทก์ร่วมยังมีบาดแผลถูกแทงที่บริเวณต้นแขนซ้าย ขนาดกว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 1 เซนติเมตร อันเป็นบาดแผลที่เกิดหลังจากจำเลยที่ 2 แทงโจทก์ร่วมที่หน้าท้อง แล้วจำเลยที่ 2 ได้แทงซ้ำแต่โจทก์ร่วมหลบได้ทันจึงถูกที่แขนซ้ายดังกล่าว การที่จำเลยที่ 2 ใช้มีดปลายแหลมแทงโจทก์ร่วมที่ท้องซึ่งเป็นอวัยวะสำคัญ คมมีดลึกเข้าช่องท้องถูกกระเพาะอาหารและลำไส้ฉีกขาด เห็นได้ว่าเป็นการแทงโดยแรงและยังแทงซ้ำอีก แต่โจทก์ร่วมเอี้ยวตัวหลบเสียได้จึงถูกที่บริเวณต้นแขนซ้าย ฟังได้ว่าจำเลยที่ 2 มีเจตนาฆ่าผู้เสียหาย
จำเลยที่ 2 ได้ใช้อาวุธมีดปลายแหลมแทงโจทก์ร่วม โจทก์ร่วมได้รับบาดเจ็บ มีบาดแผลถูกแทงบริเวณหน้าท้อง กว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 3เซนติเมตร ลึกเข้าช่องท้อง กระเพาะอาหารและลำไส้ฉีกขาด ขณะนำส่งโรงพยาบาลโจทก์ร่วมมีอาการช็อกเนื่องจากเสียเลือดในช่องท้อง หากรักษาไม่ทันอาจเสียชีวิตได้บาดแผลดังกล่าวใช้เวลารักษาประมาณ 3 เดือน นอกจากนี้โจทก์ร่วมยังมีบาดแผลถูกแทงที่บริเวณต้นแขนซ้าย ขนาดกว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 1 เซนติเมตร อันเป็นบาดแผลที่เกิดหลังจากจำเลยที่ 2 แทงโจทก์ร่วมที่หน้าท้อง แล้วจำเลยที่ 2 ได้แทงซ้ำแต่โจทก์ร่วมหลบได้ทันจึงถูกที่แขนซ้ายดังกล่าว การที่จำเลยที่ 2 ใช้มีดปลายแหลมแทงโจทก์ร่วมที่ท้องซึ่งเป็นอวัยวะสำคัญ คมมีดลึกเข้าช่องท้องถูกกระเพาะอาหารและลำไส้ฉีกขาด เห็นได้ว่าเป็นการแทงโดยแรงและยังแทงซ้ำอีก แต่โจทก์ร่วมเอี้ยวตัวหลบเสียได้จึงถูกที่บริเวณต้นแขนซ้าย ฟังได้ว่าจำเลยที่ 2 มีเจตนาฆ่าผู้เสียหาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8366/2542
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาฆ่าจากการแทงต่อเนื่องที่อวัยวะสำคัญ และการพิจารณาความผิดฐานพยายามฆ่า
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยที่ 1 ฐานร่วมกันพยายามฆ่าผู้อื่นตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288,80,83 ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้อง โจทก์อุทธรณ์ขอให้ลงโทษจำเลยที่ 1 ตามฟ้อง ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้เป็นว่า จำเลยที่ 1 มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295,83 ผลเท่ากับว่าศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิพากษายกฟ้องโจทก์ในความผิดฐานพยายามฆ่าผู้อื่น ที่โจทก์ฎีกาขอให้ลงโทษจำเลยที่ 1 ในความผิดฐานนี้ จึงต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 220
จำเลยที่ 2 ได้ใช้อาวุธมีดปลายแหลมแทงโจทก์ร่วม โจทก์ร่วมได้รับบาดเจ็บมีบาดแผลถูกแทงบริเวณหน้าท้อง กว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 3 เซนติเมตร ลึกเข้าช่องท้องกระเพาะอาหารและลำไส้ฉีกขาด ขณะนำส่งโรงพยาบาลโจทก์ร่วมมีอาการช็อกเนื่องจากเสียเลือดในช่องท้อง หากรักษาไม่ทันอาจเสียชีวิตได้ บาดแผลดังกล่าวใช้เวลารักษาประมาณ 3 เดือน นอกจากนี้โจทก์ร่วมยังมีบาดแผลถูกแทงที่บริเวณต้นแขนซ้ายขนาดกว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 1 เซนติเมตร อันเป็นบาดแผลที่เกิดหลังจากจำเลยที่ 2 แทงโจทก์ร่วมที่หน้าท้อง แล้วจำเลยที่ 2 ได้แทงซ้ำแต่โจทก์ร่วมหลบได้ทันจึงถูกที่แขนซ้ายดังกล่าว การที่จำเลยที่ 2 ใช้มีดปลายแหลมแทงโจทก์ร่วมที่ท้องซึ่งเป็นอวัยวะสำคัญ คมมีดลึกเข้าช่องท้องถูกกระเพาะอาหารและลำไส้ฉีกขาด เห็นได้ว่าเป็นการแทงโดยแรงและยังแทงซ้ำอีก แต่โจทก์ร่วมเอี้ยวตัวหลบเสียได้จึงถูกที่บริเวณต้นแขนซ้าย ฟังได้ว่าจำเลยที่ 2 มีเจตนาฆ่าผู้เสียหาย
จำเลยที่ 2 ได้ใช้อาวุธมีดปลายแหลมแทงโจทก์ร่วม โจทก์ร่วมได้รับบาดเจ็บมีบาดแผลถูกแทงบริเวณหน้าท้อง กว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 3 เซนติเมตร ลึกเข้าช่องท้องกระเพาะอาหารและลำไส้ฉีกขาด ขณะนำส่งโรงพยาบาลโจทก์ร่วมมีอาการช็อกเนื่องจากเสียเลือดในช่องท้อง หากรักษาไม่ทันอาจเสียชีวิตได้ บาดแผลดังกล่าวใช้เวลารักษาประมาณ 3 เดือน นอกจากนี้โจทก์ร่วมยังมีบาดแผลถูกแทงที่บริเวณต้นแขนซ้ายขนาดกว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 1 เซนติเมตร อันเป็นบาดแผลที่เกิดหลังจากจำเลยที่ 2 แทงโจทก์ร่วมที่หน้าท้อง แล้วจำเลยที่ 2 ได้แทงซ้ำแต่โจทก์ร่วมหลบได้ทันจึงถูกที่แขนซ้ายดังกล่าว การที่จำเลยที่ 2 ใช้มีดปลายแหลมแทงโจทก์ร่วมที่ท้องซึ่งเป็นอวัยวะสำคัญ คมมีดลึกเข้าช่องท้องถูกกระเพาะอาหารและลำไส้ฉีกขาด เห็นได้ว่าเป็นการแทงโดยแรงและยังแทงซ้ำอีก แต่โจทก์ร่วมเอี้ยวตัวหลบเสียได้จึงถูกที่บริเวณต้นแขนซ้าย ฟังได้ว่าจำเลยที่ 2 มีเจตนาฆ่าผู้เสียหาย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7953/2542
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สำคัญผิดในอายุผู้เสียหาย และความผิดฐานพรากเด็ก-กระทำชำเรา เป็นกรรมต่างกัน
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 277 วรรคแรก และมาตรา 317 ผู้กระทำผิดจะต้องกระทำแก่เด็กอายุยังไม่เกิน 15 ปี เรื่องอายุของผู้เสียหายเป็นองค์ประกอบของความผิดด้วย จึงเป็นข้อเท็จจริงที่ว่า ผู้กระทำผิดได้รู้หรือไม่ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 62 วรรคแรก ซึ่งข้อเท็จจริงใดถ้ามีอยู่จริงจะทำให้การกระทำไม่เป็นความผิด แม้ข้อเท็จจริงนั้นจะไม่มีอยู่จริง แต่ผู้กระทำสำคัญผิดว่ามีอยู่จริง ผู้กระทำย่อมไม่มีความผิดดังนี้ถ้าจำเลยสำคัญผิดในเรื่องอายุของผู้เสียหาย แม้ความจริงไม่ใช่อย่างที่จำเลยสำคัญผิด จำเลยย่อมไม่มีความผิด
ศาลอุทธรณ์ไม่รับวินิจฉัยอุทธรณ์ของจำเลยโดยไม่ชอบ แต่เพื่อไม่ให้คดีล่าช้าศาลฎีกาเห็นสมควรวินิจฉัยปัญหาตามอุทธรณ์ของจำเลยโดยไม่ต้องย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาก่อน
ความผิดฐานพรากเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปีไปเสียจากบิดามารดาเพื่อการอนาจารตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 317 เมื่อจำเลยมีเจตนาและได้พรากผู้เสียหายซึ่งเป็นเด็กไปเพื่อการอนาจาร ถือได้ว่า ความผิดฐานพรากเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปีไปเสียจากบิดามารดาไปเพื่อการอนาจารสำเร็จนับแต่จำเลยเริ่มพรากผู้เสียหายไปโดยมีเจตนาดังกล่าวแล้ว แม้จำเลยจะยังไม่ได้กระทำการกระทำชำเราผู้เสียหายก็ตาม ส่วนการที่จำเลยกระทำชำเราผู้เสียหายหลังจากนั้นก็เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 277 อีกกรรมหนึ่ง การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดหลายกรรมต่างกันเป็น 2 กระทง
ศาลอุทธรณ์ไม่รับวินิจฉัยอุทธรณ์ของจำเลยโดยไม่ชอบ แต่เพื่อไม่ให้คดีล่าช้าศาลฎีกาเห็นสมควรวินิจฉัยปัญหาตามอุทธรณ์ของจำเลยโดยไม่ต้องย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาก่อน
ความผิดฐานพรากเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปีไปเสียจากบิดามารดาเพื่อการอนาจารตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 317 เมื่อจำเลยมีเจตนาและได้พรากผู้เสียหายซึ่งเป็นเด็กไปเพื่อการอนาจาร ถือได้ว่า ความผิดฐานพรากเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปีไปเสียจากบิดามารดาไปเพื่อการอนาจารสำเร็จนับแต่จำเลยเริ่มพรากผู้เสียหายไปโดยมีเจตนาดังกล่าวแล้ว แม้จำเลยจะยังไม่ได้กระทำการกระทำชำเราผู้เสียหายก็ตาม ส่วนการที่จำเลยกระทำชำเราผู้เสียหายหลังจากนั้นก็เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 277 อีกกรรมหนึ่ง การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดหลายกรรมต่างกันเป็น 2 กระทง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7953/2542 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สำคัญผิดในอายุผู้เสียหาย: ความผิดพรากเด็กเพื่ออนาจารและกระทำชำเรา
ตาม ป.อ.มาตรา 277 วรรคแรก และมาตรา 317 ผู้กระทำผิดจะต้องกระทำแก่เด็กอายุยังไม่เกิน 15 ปี เรื่องอายุของผู้เสียหายเป็นองค์ประกอบของความผิดด้วย จึงเป็นข้อเท็จจริงที่ว่า ผู้กระทำผิดได้รู้หรือไม่ ตาม ป.อ.มาตรา 62วรรคแรก ซึ่งข้อเท็จจริงใดถ้ามีอยู่จริงจะทำให้การกระทำไม่เป็นความผิด แม้ข้อเท็จจริงนั้นจะไม่มีอยู่จริง แต่ผู้กระทำสำคัญผิดว่ามีอยู่จริง ผู้กระทำย่อมไม่มีความผิดดังนี้ถ้าจำเลยสำคัญผิดในเรื่องอายุของผู้เสียหาย แม้ความจริงไม่ใช่อย่างที่จำเลยสำคัญผิด จำเลยย่อมไม่มีความผิด
ศาลอุทธรณ์ไม่รับวินิจฉัยอุทธรณ์ของจำเลยโดยไม่ชอบ แต่เพื่อไม่ให้คดีล่าช้า ศาลฎีกาเห็นสมควรวินิจฉัยปัญหาตามอุทธรณ์ของจำเลยโดยไม่ต้องย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาก่อน
ความผิดฐานพรากเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปีไปเสียจากบิดามารดาเพื่อการอนาจารตาม ป.อ.มาตรา 317 เมื่อจำเลยมีเจตนาและได้พรากผู้เสียหายซึ่งเป็นเด็กไปเพื่อการอนาจาร ถือได้ว่า ความผิดฐานพรากเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปีไปเสียจากบิดามารดาไปเพื่อการอนาจารสำเร็จนับแต่จำเลยเริ่มพรากผู้เสียหายไปโดยมีเจตนาดังกล่าวแล้ว แม้จำเลยจะยังไม่ได้กระทำการกระทำชำเราผู้เสียหายก็ตามส่วนการที่จำเลยกระทำชำเราผู้เสียหายหลังจากนั้นก็เป็นความผิดตาม ป.อ.มาตรา277 อีกกรรมหนึ่ง การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดหลายกรรมต่างกันเป็น 2กระทง
ศาลอุทธรณ์ไม่รับวินิจฉัยอุทธรณ์ของจำเลยโดยไม่ชอบ แต่เพื่อไม่ให้คดีล่าช้า ศาลฎีกาเห็นสมควรวินิจฉัยปัญหาตามอุทธรณ์ของจำเลยโดยไม่ต้องย้อนสำนวนไปให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาพิพากษาก่อน
ความผิดฐานพรากเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปีไปเสียจากบิดามารดาเพื่อการอนาจารตาม ป.อ.มาตรา 317 เมื่อจำเลยมีเจตนาและได้พรากผู้เสียหายซึ่งเป็นเด็กไปเพื่อการอนาจาร ถือได้ว่า ความผิดฐานพรากเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปีไปเสียจากบิดามารดาไปเพื่อการอนาจารสำเร็จนับแต่จำเลยเริ่มพรากผู้เสียหายไปโดยมีเจตนาดังกล่าวแล้ว แม้จำเลยจะยังไม่ได้กระทำการกระทำชำเราผู้เสียหายก็ตามส่วนการที่จำเลยกระทำชำเราผู้เสียหายหลังจากนั้นก็เป็นความผิดตาม ป.อ.มาตรา277 อีกกรรมหนึ่ง การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดหลายกรรมต่างกันเป็น 2กระทง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7894/2542
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
จำเลยเรียกเงินจากผู้เสียหายเพื่อแลกกับรถที่ถูกลักขโมย เข้าข่ายความผิดฐานรับของโจร แม้ไม่มีเจตนาหาผลประโยชน์
หลังจากรถยนต์เก๋งของโจทก์ร่วมถูกลักไปแล้ว ในระหว่างที่จำเลยรอการตกลงซื้อขายรถของโจทก์ร่วมให้แก่ลูกค้ารายอื่น จำเลยได้เรียกร้องเงินจากโจทก์ร่วมตั้งแต่ครั้งแรกที่โจทก์ร่วมมาติดต่อให้จำเลยสืบหารถที่ถูกลัก โดยจำเลยทราบดีว่าขณะนั้นรถอยู่ที่ใด พฤติการณ์ที่จำเลยเรียกเงินจากโจทก์ร่วมดังกล่าวหาใช่เป็นการเรียกค่าใช้จ่ายที่จำเลยออกทดรองจ่ายในการสืบหารถของโจทก์ร่วมไม่แต่เป็นการเรียกค่าไถ่รถจากโจทก์ร่วมอันเป็นการช่วยเหลือคนร้ายจำหน่ายทรัพย์โดยจำเลยรู้ดีว่าทรัพย์ดังกล่าวถูกคนร้ายลักมา การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดฐานรับของโจรโดยไม่คำนึงถึงว่าจำเลยจะมีเจตนาทุจริตเพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสำหรับตนเองหรือผู้อื่นหรือไม่ เพราะความผิดฐานนี้ต้องการองค์ประกอบความผิดภายในเพียงการกระทำโดยเจตนาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 เท่านั้น