พบผลลัพธ์ทั้งหมด 387 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5681/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิครอบครองที่ดินมีเงื่อนไข: การโอนสิทธิระหว่างระยะเวลาห้ามโอน และการครอบครองแทนทายาท
ที่ดินมีหนังสือรับรองการทำประโยชน์ที่มีข้อกำหนดห้ามโอน10ปีตามประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา31เป็นที่ดินที่รัฐยังไม่ได้มอบสิทธิครอบครองจนกว่าจะพ้นกำหนดระยะเวลาห้ามโอนผู้ที่ได้ที่ดินยังไม่มีสิทธิครอบครองไม่ว่าจะตามประมวลกฎหมายที่ดินหรือประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์จึงไม่อาจโอนสิทธิครอบครองให้แก่บุคคลใดจะโอนกันได้ต่อเมื่อพ้นกำหนดเงื่อนไขห้ามโอนแล้วเว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกหรือโอนให้แก่ทบวงการเมืององค์การของรัฐบาลตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาลรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือโอนให้แก่สหกรณ์เพื่อชำระหนี้โดยได้รับอนุมัติจากนายทะเบียนสหกรณ์การที่โจทก์อ้างว่า ย.ยกที่ดินและมอบการครอบครองที่ดินพิพาทให้ในระหว่างเวลาที่มีเงื่อนไขห้ามโอนถือได้ว่า ย. ยังไม่มีสิทธิครอบครองจึงไม่อาจโอนสิทธิครอบครองให้แก่โจทก์ได้เมื่อ ย. ถึงแก่กรรมที่ดินพิพาทจึงตกทอดทางมรดกแก่จำเลยซึ่งเป็นทายาทการที่โจทก์ยังคงครอบครองอยู่จึงเป็นการครอบครองแทนทายาทของ ย. โจทก์จะต้องเปลี่ยนลักษณะการครอบครองโดยบอกกล่าวไปยังทายาทของ ย. เพื่อเปลี่ยนลักษณะแห่งการยึดถือครอบครองแทนมาเป็นยึดถือครอบครองเพื่อตนเสียก่อนจึงจะได้สิทธิครอบครองในที่ดินพิพาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5681/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิครอบครองที่ดินมีข้อห้ามโอน: การโอนสิทธิในระหว่างระยะเวลาห้ามโอนและผลกระทบต่อทายาท
ที่ดินมีหนังสือรับรองการทำประโยชน์ที่มีข้อกำหนดห้ามโอน10ปีตามประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา31เป็นที่ดินที่รัฐยังไม่ได้มอบสิทธิครอบครองจนกว่าจะพ้นกำหนดระยะเวลาห้ามโอนผู้ที่ได้ที่ดินยังไม่มีสิทธิครอบครองไม่ว่าจะตามประมวลกฎหมายที่ดินหรือประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์จึงไม่อาจโอนสิทธิครอบครองให้แก่บุคคลใดจะโอนกันได้ต่อเมื่อพ้นกำหนดเงื่อนไขห้ามโอนแล้วเว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกหรือโอนให้แก่ทบวงการเมืององค์การของรัฐบาลตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาลรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือโอนให้แก่สหกรณ์เพื่อชำระหนี้โดยได้รับอนุมัติจากนายทะเบียนสหกรณ์การที่โจทก์อ้างว่า ย.ยกที่ดินและมอบการครอบครองที่ดินพิพาทให้ในระหว่างเวลาที่มีเงื่อนไขห้ามโอนถือได้ว่า ย. ยังไม่มีสิทธิครอบครองจึงไม่อาจโอนสิทธิครอบครองให้แก่โจทก์ได้เมื่อ ย. ถึงแก่กรรมที่ดินพิพาทจึงตกทอดทางมรดกแก่จำเลยซึ่งเป็นทายาทการที่โจทก์ยังคงครอบครองอยู่จึงเป็นการครอบครองแทนทายาทของ ย. โจทก์จะต้องเปลี่ยนลักษณะการครอบครองโดยบอกกล่าวไปยังทายาทของ ย. เพื่อเปลี่ยนลักษณะแห่งการยึดถือครอบครองแทนมาเป็นยึดถือครอบครองเพื่อตนเสียก่อนจึงจะได้สิทธิครอบครองในที่ดินพิพาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5681/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ที่ดินมีเงื่อนไขห้ามโอน สิทธิครอบครองยังไม่สมบูรณ์ การโอนสิทธิที่ถูกต้องตามกฎหมาย
ที่ดินมีหนังสือรับรองการทำประโยชน์ที่มีข้อกำหนดห้ามโอน 10 ปีตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 31 เป็นที่ดินที่รัฐยังไม่ได้มอบสิทธิครอบครองจนกว่าจะพ้นกำหนดระยะเวลาห้ามโอน ผู้ที่ได้ที่ดินยังไม่มีสิทธิครอบครองไม่ว่าจะตามประมวลกฎหมายที่ดิน หรือประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ จึงไม่อาจโอนสิทธิครอบครองให้แก่บุคคลใด จะโอนกันได้ต่อเมื่อพ้นกำหนดเงื่อนไขห้ามโอนแล้ว เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกหรือโอนให้แก่ทบวงการเมือง องค์การของรัฐบาลตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือโอนให้แก่สหกรณ์เพื่อชำระหนี้โดยได้รับอนุมัติจากนายทะเบียนสหกรณ์การที่โจทก์อ้างว่า ย.ยกที่ดินและมอบการครอบครองที่ดินพิพาทให้ในระหว่างเวลาที่มีเงื่อนไขห้ามโอน ถือได้ว่า ย. ยังไม่มีสิทธิครอบครอง จึงไม่อาจโอนสิทธิครอบครองให้แก่โจทก์ได้ เมื่อ ย. ถึงแก่กรรมที่ดินพิพาทจึงตกทอดทางมรดกแก่จำเลยซึ่งเป็นทายาท การที่โจทก์ยังคงครอบครองอยู่จึงเป็นการครอบครองแทนทายาทของ ย. โจทก์จะต้องเปลี่ยนลักษณะการครอบครองโดยบอกกล่าวไปยังทายาทของ ย. เพื่อเปลี่ยนลักษณะแห่งการยึดถือครอบครองแทนมาเป็นยึดถือครอบครองเพื่อตนเสียก่อนจึงจะได้สิทธิครอบครองในที่ดินพิพาท
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3777/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับมรดกโดยตรงของทายาทเมื่อทายาทก่อนเสียชีวิตและสิทธิในการจัดการมรดก
เมื่อ ผ. ถึงแก่ความตายทรัพย์มรดกของ ผ. จึงตกได้แก่บุตรทั้งหกคนของ ผ. แต่ยังไม่ทันที่จะจัดการแบ่งทรัพย์มรดกกันระหว่างทายาท ล.ก็ถึงแก่ความตายเสียก่อน ทรัพย์มรดกส่วนที่เป็นของ ล. จึงตกได้แก่ผู้คัดค้านที่ 1ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1599 กรณีเป็นเรื่องที่ผู้คัดค้านที่ 1 ได้รับมรดกของ ล.โดยตรง ไม่ใช่เป็นเรื่องที่ผู้คัดค้านที่ 1 เข้ารับมรดกแทนที่ ตาม ป.พ.พ. มาตรา1639 ผู้คัดค้านที่ 1 จึงเป็นผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดกของ ผ. ผู้ตาย ชอบที่จะร้องขอให้จัดการมรดกของ ผ.ผู้ตายได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3777/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับมรดกโดยตรงและลำดับทายาท: ผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดก
เมื่อผ. ถึงแก่ความตายทรัพย์มรดกของผ. จึงตกได้แก่บุตรทั้งหกคนของผ. แต่ยังไม่ทันที่จะจัดการแบ่งทรัพย์มรดกกันระหว่างทายาทล. ก็ถึงแก่ความตายเสียก่อนทรัพย์มรดกส่วนที่เป็นของล. จึงตกได้แก่ผู้คัดค้านที่1ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1599กรณีเป็นเรื่องที่ผู้คัดค้านที่1ได้รับมรดกของล. โดยตรงไม่ใช่เป็นเรื่องที่ผู้คัดค้านที่1เข้ารับมรดกแทนที่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา1639ผู้คัดค้านที่1จึงเป็นผู้มีส่วนได้เสียในทรัพย์มรดกของผ. ผู้ตายชอบที่จะร้องขอให้จัดการมรดกของผ. ผู้ตายได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3208/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิทายาทเรียกค่าสินไหมทดแทนจากละเมิดถึงแก่ความตาย และค่าเสียหายต่อทรัพย์สิน
สิทธิในการเรียกค่าสินไหมทดแทนเกี่ยวกับค่าปลงศพตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา443วรรคแรกเป็นสิทธิของผู้ที่เป็นทายาทจะเรียกร้องเอาแก่ผู้ที่กระทำละเมิดทำให้เจ้ามรดกถึงแก่ความตายภายใต้บังคับมาตรา1649ส่วนสิทธิในการเรียกค่าสินไหมทดแทนอันเกิดแก่ทรัพย์สินของเจ้ามรดกเนื่องมาจากการกระทำละเมิดก็เป็นสิทธิของเจ้ามรดกที่จะตกทอดแก่ทายาทตามมาตรา1599และ1600เมื่อโจทก์ที่2และที่3เป็นบุตรนอกกฎหมายที่เจ้ามรดกซึ่งเป็นบิดารับรองแล้วจึงเป็นผู้สืบสันดานเหมือนกับบุตรชอบด้วยกฎหมายของเจ้ามรดกตามมาตรา1627และย่อมมีสิทธิรับมรดกของเจ้ามรดกตามมาตรา1629(1)จึงมีสิทธิฟ้องเรียกค่าปลงศพของเจ้ามรดกและค่าที่รถจักรยานยนต์ของเจ้ามรดกเสียหายได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3208/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนของทายาทต่อผู้กระทำละเมิดต่อการเสียชีวิตและทรัพย์สินของเจ้ามรดก
สิทธิในการเรียกค่าสินไหมทดแทนเกี่ยวกับค่าปลงศพตาม ป.พ.พ.มาตรา 443 วรรคแรก เป็นสิทธิของผู้ที่เป็นทายาทจะเรียกร้องเอาแก่ผู้ที่กระทำละเมิดทำให้เจ้ามรดกถึงแก่ความตายภายใต้บังคับมาตรา 1649 ส่วนสิทธิในการเรียกค่าสินไหมทดแทนอันเกิดแก่ทรัพย์สินของเจ้ามรดกเนื่องมาจากการกระทำละเมิดก็เป็นสิทธิของเจ้ามรดกที่จะตกทอดแก่ทายาทตามมาตรา 1599 และ 1600 เมื่อโจทก์ที่ 2 และที่ 3 เป็นบุตรนอกกฎหมายที่เจ้ามรดกซึ่งเป็นบิดารับรองแล้ว จึงเป็นผู้สืบสันดานเหมือนกับบุตรชอบด้วยกฎหมายของเจ้ามรดก ตามมาตรา 1627 และย่อมมีสิทธิรับมรดกของเจ้ามรดกตามมาตรา 1629 (1) จึงมีสิทธิฟ้องเรียกค่าปลงศพของเจ้ามรดกและค่าที่รถจักรยานยนต์ของเจ้ามรดกเสียหายได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2610/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ร่วมที่ดิน-ตึกแถวระหว่างสามีภรรยาที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส การโอนมรดกไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ที่ดินและตึกแถวพิพาทจำเลยได้มาขณะจำเลยเป็นสามี ส.แม้จะมิได้จดทะเบียนสมรสกันที่ดินและตึกแถวพิพาทก็เป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยและ ส. คนละครึ่งในฐานะเป็นหุ้นส่วนกันเมื่อ ส.ถึงแก่ความตายที่ดินและตึกแถวพิพาทส่วนของ ส. จึงเป็นมรดกตกทอดแก่ ร. ซึ่งเป็นทายาทการที่ ร. จดทะเบียนโอนที่ดินและตึกแถวพิพาทเป็นของตนแต่ผู้เดียวจึงไม่ชอบและไม่มีอำนาจนำที่ดินและตึกแถวพิพาทส่วนของจำเลยไปขายให้แก่โจทก์โดยจำเลยไม่ยินยอมโจทก์ผู้ซื้อจึงไม่ได้กรรมสิทธิ์ในส่วนของจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2610/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ร่วมที่ดินมรดก: การโอนขายโดยผู้จัดการมรดกแต่ผู้เดียวไม่ชอบ ผู้ซื้อได้กรรมสิทธิ์เฉพาะส่วน
ที่ดินและตึกแถวพิพาทจำเลยได้มาขณะจำเลยเป็นสามี ส.แม้จะมิได้จดทะเบียนสมรสกัน ที่ดินและตึกแถวพิพาทก็เป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยและ ส.คนละครึ่งในฐานะเป็นหุ้นส่วนกันเมื่อส.ถึงแก่ความตายที่ดินและตึกแถวพิพาท ส่วนของ ส. จึงเป็นมรดกตกทอดแก่ ร.ซึ่งเป็นทายาทการที่ร. จดทะเบียนโอนที่ดินและตึกแถวพิพาทเป็นของตนแต่ผู้เดียวจึงไม่ชอบและไม่มีอำนาจนำที่ดินและตึกแถวพิพาทส่วนของจำเลยไปขายให้แก่โจทก์โดยจำเลยไม่ยินยอมโจทก์ผู้ซื้อจึงไม่ได้กรรมสิทธิ์ในส่วนของจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2610/2538 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์ร่วมที่ดิน-ตึกแถวจากหุ้นส่วนไม่สมรส การโอน/ขายโดยไม่ยินยอมทำให้ผู้ซื้อไม่ได้รับกรรมสิทธิ์
ที่ดินและตึกแถวพิพาทจำเลยได้มาขณะจำเลยเป็นสามี ส.แม้จะมิได้จดทะเบียนสมรสกัน ที่ดินและตึกแถวพิพาทก็เป็นกรรมสิทธิ์ของจำเลยและส. คนละครึ่งในฐานะเป็นหุ้นส่วนกัน เมื่อ ส.ถึงแก่ความตายที่ดินและตึกแถวพิพาทส่วนของ ส. จึงเป็นมรดกตกทอดแก่ ร. ซึ่งเป็นทายาท การที่ ร.จดทะเบียนโอนที่ดินและตึกแถวพิพาทเป็นของตนแต่ผู้เดียวจึงไม่ชอบและไม่มีอำนาจนำที่ดินและตึกแถวพิพาทส่วนของจำเลยไปขายให้แก่โจทก์โดยจำเลยไม่ยินยอม โจทก์ผู้ซื้อจึงไม่ได้กรรมสิทธิ์ในส่วนของจำเลย