พบผลลัพธ์ทั้งหมด 33 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2921/2540 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจตนาออกเช็คที่ไม่มีเงินในบัญชีถือเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.เช็ค แม้แปลงหนี้เป็นสัญญากู้ยืม
จำเลยออกเช็คนำไปแลกเงินสดจากโจทก์ แม้การออกเช็คของจำเลยดังกล่าวจะมิใช่เป็นการออกเช็คเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมาย ไม่เป็นความผิดตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ.ศ.2534 มาตรา 4 ก็ตาม แต่การที่จำเลยออกเช็คแล้วนำไปแลกเงินสดจากโจทก์และเช็คดังกล่าวไม่มีการชำระเงินตามที่จำเลยสั่งจ่ายนั้น ย่อมเกิดเป็นหนี้ระหว่างจำเลยกับโจทก์ตามจำนวนเงินที่ระบุในเช็คนั้น ตาม ป.พ.พ.มาตรา 898, 900ในกรณีนี้หากจำเลยออกเช็คฉบับใหม่เพื่อชำระหนี้ตามเช็คที่จำเลยออกให้แก่โจทก์ดังกล่าว เช็คที่จำเลยออกในภายหลังนี้ย่อมถือว่าเป็นเช็คที่ออกเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมาย อันเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ.2534 มาตรา 4 ได้
คดีนี้โจทก์และจำเลยได้แปลงหนี้เดิมซึ่งเป็นหนี้ตามเช็ค มาเป็นหนี้ตามสัญญากู้ยืม และจำเลยได้ออกเช็คพิพาทชำระหนี้ตามสัญญากู้ยืม จึงต้องถือว่าจำเลยได้ออกเช็คพิพาทเพื่อชำระหนี้ตามสัญญากู้ยืมอันเป็นหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายตามความใน พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ.2534มาตรา 4 แล้ว จำเลยจึงมีความผิดตามบทกฎหมายดังกล่าวได้
จำเลยออกเช็คพิพาทเพื่อชำระหนี้ตามสัญญากู้ยืม และเมื่อเช็คพิพาทถึงกำหนด โจทก์นำไปเรียกเก็บเงินปรากฏว่าธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงิน โดยให้เหตุผลว่า "บัญชีปิดแล้ว" แสดงว่าจำเลยมีเจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้น การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 มาตรา 4 ตามที่โจทก์ฟ้อง
คดีนี้โจทก์และจำเลยได้แปลงหนี้เดิมซึ่งเป็นหนี้ตามเช็ค มาเป็นหนี้ตามสัญญากู้ยืม และจำเลยได้ออกเช็คพิพาทชำระหนี้ตามสัญญากู้ยืม จึงต้องถือว่าจำเลยได้ออกเช็คพิพาทเพื่อชำระหนี้ตามสัญญากู้ยืมอันเป็นหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายตามความใน พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ.2534มาตรา 4 แล้ว จำเลยจึงมีความผิดตามบทกฎหมายดังกล่าวได้
จำเลยออกเช็คพิพาทเพื่อชำระหนี้ตามสัญญากู้ยืม และเมื่อเช็คพิพาทถึงกำหนด โจทก์นำไปเรียกเก็บเงินปรากฏว่าธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงิน โดยให้เหตุผลว่า "บัญชีปิดแล้ว" แสดงว่าจำเลยมีเจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้น การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 มาตรา 4 ตามที่โจทก์ฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2921/2540
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การออกเช็คเพื่อชำระหนี้ที่แปลงจากหนี้เดิม แม้ไม่ใช่หนี้เดิมโดยตรง ก็ถือเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.เช็คได้
จำเลยออกเช็คนำไปแลกเงินสดจากโจทก์แม้การออกเช็คของจำเลยดังกล่าวจะมิใช่เป็นการออกเช็คเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายไม่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ.ศ.2534มาตรา4ก็ตามแต่การที่จำเลยออกเช็คแล้วนำไปแลกเงินสดจากโจทก์และเช็คดังกล่าวไม่มีการชำระเงินตามที่จำเลยสั่งจ่ายนั้นย่อมเกิดเป็นหนี้ระหว่างจำเลยกับโจทก์ตามจำนวนเงินที่ระบุในเช็คนั้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา898,900ในกรณีนี้หากจำเลยออกเช็คฉบับใหม่เพื่อชำระหนี้ตามเช็คที่จำเลยออกให้แก่โจทก์ดังกล่าวเช็คที่จำเลยออกในภายหลังนี้ย่อมถือว่าเป็นเช็คที่ออกเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายอันเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ.ศ.2534มาตรา4ได้ คดีนี้โจทก์และจำเลยได้แปลงหนี้เดิมซึ่งเป็นหนี้ตามเช็คมาเป็นหนี้ตามสัญญากู้ยืมและจำเลยได้ออกเช็คพิพาทชำระหนี้ตามสัญญากู้ยืมจึงต้องถือว่าจำเลยได้ออกเช็คพิพาทเพื่อชำระหนี้ตามสัญญากู้ยืมอันเป็นหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายตามความในพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ.ศ.2534มาตรา4แล้วจำเลยจึงมีความผิดตามบทกฎหมายดังกล่าวได้ จำเลยออกเช็คพิพาทเพื่อชำระหนี้ตามสัญญากู้ยืมและเมื่อเช็คพิพาทถึงกำหนดโจทก์นำไปเรียกเก็บเงินปรากฎว่าธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงินโดยให้เหตุผลว่า"บัญชีปิดแล้ว"แสดงว่าจำเลยมีเจตนาที่จะไม่ให้ทีการใช้เงินตามเช็คนั้นการกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ.ศ.2534มาตรา4ตามที่โจทก์ฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2921/2540 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การออกเช็คเพื่อชำระหนี้หลังแปลงหนี้เดิมเป็นสัญญากู้ยืม การปฏิเสธการจ่ายเงินถือเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.เช็ค
จำเลยออกเช็คนำไปแลกเงินสดจากโจทก์ แม้การออกเช็คของจำเลยดังกล่าวจะมิใช่เป็นการออกเช็คเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมาย ไม่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534มาตรา 4 ก็ตาม แต่การที่จำเลยออกเช็คแล้วนำไปแลกเงินสดจากโจทก์และเช็คดังกล่าวไม่มีการชำระเงินตามที่จำเลยสั่งจ่ายนั้นย่อมเกิดเป็นหนี้ระหว่างจำเลยกับโจทก์ตามจำนวนเงินที่ระบุในเช็คนั้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 898,900 ในกรณีนี้หากจำเลยออกเช็คฉบับใหม่เพื่อชำระหนี้ตามเช็คที่จำเลยออกให้แก่โจทก์ดังกล่าว เช็คที่จำเลยออกในภายหลังนี้ย่อมถือว่าเป็นเช็คที่ออกเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายอันเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 มาตรา 4 ได้ คดีนี้โจทก์และจำเลยได้แปลงหนี้เดิมซึ่งเป็นหนี้ตามเช็คมาเป็นหนี้ตามสัญญากู้ยืม และจำเลยได้ออกเช็คพิพาทชำระหนี้ตามสัญญากู้ยืม จึงต้องถือว่าจำเลยได้ออกเช็คพิพาทเพื่อชำระหนี้ตามสัญญากู้ยืมอันเป็นหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายตามความในพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ.ศ. 2534 มาตรา 4 แล้ว จำเลยจึงมีความผิดตามบทกฎหมายดังกล่าวได้ จำเลยออกเช็คพิพาทเพื่อชำระหนี้ตามสัญญากู้ยืม และเมื่อเช็คพิพาทถึงกำหนด โจทก์นำไปเรียกเก็บเงินปรากฎว่าธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงิน โดยให้เหตุผลว่า "บัญชีปิดแล้ว" แสดงว่าจำเลยมีเจตนาที่จะไม่ให้ทีการใช้เงินตามเช็คนั้น การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คพ.ศ. 2534 มาตรา 4 ตามที่โจทก์ฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6880/2538 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีมโนสาเร่: การยื่นบัญชีระบุพยานภายในกำหนดเวลาต้องคำนึงถึงสภาพการดำเนินกระบวนพิจารณา
แม้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา195จะบัญญัติให้นำบททั่วไปแห่งประมวลกฎหมายดังกล่าวมาใช้บังคับแก่การชี้ขาดตัดสินคดีมโนสาเร่ด้วยก็ตามแต่การจำนำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา88เรื่องกำหนดเวลายื่นบัญชีระบุพยานมาใช้บังคับแก่คดีมโนสาเร่ก็ต้องนำมาใช้ให้เหมาะสมแก่สภาพของการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีมโนสาเร่แต่ละคดีด้วย วิธีพิจารณาคดีมโนสาเร่มีบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา193ที่ให้สิทธิจำเลยยื่นคำให้การในวันที่มาศาลตามหมายเรียกของศาลหรือในวันอื่นต่อมาตามแต่ศาลจะเห็นสมควรก็ได้โดยต้องมิให้เป็นการเสียหายแก่การต่อสู้คดีของจำเลยเมื่อคดีนี้ตามหมายเรียกของศาลชั้นต้นกำหนดให้จำเลยมาศาลเพื่อให้การแก้ข้อหาในวันที่31พฤษภาคม2536และนัดสืบพยานในวันดังกล่าวด้วยจำเลยจึงมีสิทธิยื่นคำให้การและยื่นบัญชีระบุพยานในวันนัดสืบพยานได้แต่จำเลยยื่นคำให้การวันที่28พฤษภาคม2536แม้จำเลยจะยื่นบัญชีระบุพยานมาในวันดังกล่าวด้วยก็มิอาจเป็นการยื่นบัญชีระบุพยานภายในกำหนดเวลาที่มาตรา88วรรคสองกำหนดไว้ได้เนื่องจากศาลชั้นต้นได้ทำการสืบพยานโจทก์ไปในวันที่31พฤษภาคม2536นั้นเองและเมื่อศาลชั้นต้นเลื่อนไปสืบพยานโจทก์ต่อในวันที่2กรกฎาคม2536จำเลยก็ยื่นบัญชีระบุพยานต่อศาลก่อนถึงวันนัดสืบพยานโจทก์ซึ่งศาลชั้นต้นสั่งรับบัญชีระบุพยานจำเลยไว้แต่เมื่อศาลชั้นต้นเพิกถอนคำสั่งที่สั่งรับบัญชีระบุพยานจำเลยและมีคำสั่งใหม่เป็นไม่รับจำเลยก็ยื่นคำร้องขออนุญาตยื่นบัญชีระบุพยานต่อศาลจึงเป็นกรณีที่เห็นได้ชัดแจ้งว่าจำเลยไม่ได้จงใจฝ่าฝืนไม่ยื่นบัญชีระบุพยานตามเวลาที่กฎหมายกำหนดเพื่อมิให้เป็นการเสียหายแก่การต่อสู้คดีของจำเลยและเพื่อให้การวินิจฉัยชี้ขาดข้อสำคัญแห่งประเด็นเป็นไปโดยเที่ยงธรรมศาลควรอนุญาตให้จำเลยยื่นบัญชีระบุพยานและรับบัญชีระบุพยานของจำเลยไว้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา88วรรคสี่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6880/2538 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีมโนสาเร่: การยื่นบัญชีระบุพยานนอกกำหนดเวลา หากไม่เป็นการจงใจละเลย และไม่ทำให้การต่อสู้คดีเสียหาย ศาลมีอำนาจอนุญาตได้
แม้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 195 จะบัญญัติให้นำบททั่วไปแห่งประมวลกฎหมายดังกล่าวมาใช้บังคับแก่การชี้ขาดตัดสินคดีมโนสาเร่ด้วยก็ตาม แต่การจะนำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88 เรื่องกำหนดเวลายื่นบัญชีระบุพยานมาใช้บังคับแก่คดีมโนสาเร่ ก็ต้องนำมาใช้ให้เหมาะสมแก่สภาพของการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีมโนสาเร่แต่ละคดีด้วย วิธีพิจารณาคดีมโนสาเร่มีบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 193 ที่ให้สิทธิจำเลยยื่นคำให้การในวันที่มาศาลตามหมายเรียกของศาลหรือในวันอื่นต่อมาตามแต่ศาลจะเห็นสมควรก็ได้ โดยต้องมิให้เป็นการเสียหายแก่การต่อสู้คดีของจำเลย เมื่อคดีนี้ตามหมายเรียกของศาลชั้นต้นกำหนดให้จำเลยมาศาลเพื่อให้การแก้ข้อหาในวันที่ 31 พฤษภาคม 2536 และนัดสืบพยานในวันดังกล่าวด้วย จำเลยจึงมีสิทธิยื่นคำให้การและยื่นบัญชีระบุพยานในวันนัดสืบพยานได้ แต่จำเลยยื่นคำให้การวันที่ 28 พฤษภาคม 2536 แม้จำเลยจะยื่นบัญชีระบุพยานมาในวันดังกล่าวด้วยก็มิอาจเป็นการยื่นบัญชีระบุพยานภายในกำหนดเวลาที่มาตรา 88 วรรคสอง กำหนดไว้ได้ เนื่องจากศาลชั้นต้นได้ทำการสืบพยานโจทก์ไปในวันที่ 31 พฤษภาคม 2536 นั้นเอง และเมื่อศาลชั้นต้นเลื่อนไปสืบพยานโจทก์ต่อในวันที่ 2 กรกฎาคม 2536จำเลยก็ยื่นบัญชีระบุพยานต่อศาลก่อนถึงวันนัดสืบพยานโจทก์ซึ่งศาลชั้นต้นสั่งรับบัญชีระบุพยานจำเลยไว้ แต่เมื่อศาลชั้นต้นเพิกถอนคำสั่งที่สั่งรับบัญชีระบุพยานจำเลยและมีคำสั่งใหม่เป็นไม่รับ จำเลยก็ยื่นคำร้องขออนุญาตยื่นบัญชีระบุพยานต่อศาลจึงเป็นกรณีที่เห็นได้ชัดแจ้งว่าจำเลยไม่ได้จงใจฝ่าฝืนไม่ยื่นบัญชีระบุพยานตามเวลาที่กฎหมายกำหนด เพื่อมิให้เป็นการเสียหายแก่การต่อสู้คดีของจำเลยและเพื่อให้การวินิจฉัยชี้ขาดข้อสำคัญแห่งประเด็นเป็นไปโดยเที่ยงธรรม ศาลควรอนุญาตให้จำเลยยื่นบัญชีระบุพยานและรับบัญชีระบุพยานของจำเลยไว้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 88 วรรคสี่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6880/2538 เวอร์ชัน 4 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การกำหนดเวลาการยื่นบัญชีระบุพยานในคดีมโนสาเร่ ต้องคำนึงถึงความเหมาะสมของกระบวนพิจารณาและมิให้เกิดความเสียหายต่อการต่อสู้คดี
แม้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 195 จะบัญญัติให้นำบททั่วไปแห่งประมวลกฎหมายดังกล่าวมาใช้บังคับแก่การชี้ขาดตัดสินคดีมโนสาเร่ด้วยก็ตาม แต่การจะนำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88เรื่องกำหนดเวลายื่นบัญชีระบุพยานมาใช้บังคับแก่คดีมโนสาเร่ ก็ต้องนำมาใช้ให้เหมาะสมแก่สภาพของการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีมโนสาเร่แต่ละคดีด้วย
วิธีพิจารณาคดีมโนสาเร่มีบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 193 ที่ให้สิทธิจำเลยยื่นคำให้การในวันที่มาศาลตามหมายเรียกของศาลหรือในวันอื่นต่อมาตามแต่ศาลจะเห็นสมควรก็ได้ โดยต้องมิให้เป็นการเสียหายแก่การต่อสู้คดีของจำเลย เมื่อคดีนี้ตามหมายเรียกของศาลชั้นต้นกำหนดให้จำเลยมาศาลเพื่อให้การแก้ข้อหาในวันที่ 31 พฤษภาคม 2536 และนัดสืบพยานในวันดังกล่าวด้วย จำเลยจึงมีสิทธิยื่นคำให้การและยื่นบัญชีระบุพยานในวันนัดสืบพยานได้แต่จำเลยยื่นคำให้การวันที่ 28 พฤษภาคม 2536 แม้จำเลยจะยื่นบัญชีระบุพยานมาในวันดังกล่าวด้วยก็มิอาจเป็นการยื่นบัญชีระบุพยานภายในกำหนดเวลา ที่มาตรา 88วรรคสอง กำหนดไว้ได้ เนื่องจากศาลชั้นต้นได้ทำการสืบพยานโจทก์ไปในวันที่ 31พฤษภาคม 2536 นั้นเอง และเมื่อศาลชั้นต้นเลื่อนไปสืบพยานโจทก์ต่อในวันที่ 2กรกฎาคม 2536 จำเลยก็ยื่นบัญชีระบุพยานต่อศาลก่อนถึงวันนัดสืบพยานโจทก์ ซึ่งศาลชั้นต้นสั่งรับบัญชีระบุพยานจำเลยไว้ แต่เมื่อศาลชั้นต้นเพิกถอนคำสั่งที่สั่งรับบัญชีระบุพยานจำเลยและมีคำสั่งใหม่เป็นไม่รับ จำเลยก็ยื่นคำร้องขออนุญาตยื่นบัญชีระบุพยานต่อศาล จึงเป็นกรณีที่เห็นได้ชัดแจ้งว่าจำเลยไม่ได้จงใจฝ่าฝืนไม่ยื่นบัญชีระบุพยานตามเวลาที่กฎหมายกำหนด เพื่อมิให้เป็นการเสียหายแก่การต่อสู้คดีของจำเลยและเพื่อให้การวินิจฉัยชี้ขาดข้อสำคัญแห่งประเด็นเป็นไปโดยเที่ยงธรรม ศาลควรอนุญาตให้จำเลยยื่นบัญชีระบุพยานและรับบัญชีระบุพยานของจำเลยไว้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88 วรรคสี่
วิธีพิจารณาคดีมโนสาเร่มีบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 193 ที่ให้สิทธิจำเลยยื่นคำให้การในวันที่มาศาลตามหมายเรียกของศาลหรือในวันอื่นต่อมาตามแต่ศาลจะเห็นสมควรก็ได้ โดยต้องมิให้เป็นการเสียหายแก่การต่อสู้คดีของจำเลย เมื่อคดีนี้ตามหมายเรียกของศาลชั้นต้นกำหนดให้จำเลยมาศาลเพื่อให้การแก้ข้อหาในวันที่ 31 พฤษภาคม 2536 และนัดสืบพยานในวันดังกล่าวด้วย จำเลยจึงมีสิทธิยื่นคำให้การและยื่นบัญชีระบุพยานในวันนัดสืบพยานได้แต่จำเลยยื่นคำให้การวันที่ 28 พฤษภาคม 2536 แม้จำเลยจะยื่นบัญชีระบุพยานมาในวันดังกล่าวด้วยก็มิอาจเป็นการยื่นบัญชีระบุพยานภายในกำหนดเวลา ที่มาตรา 88วรรคสอง กำหนดไว้ได้ เนื่องจากศาลชั้นต้นได้ทำการสืบพยานโจทก์ไปในวันที่ 31พฤษภาคม 2536 นั้นเอง และเมื่อศาลชั้นต้นเลื่อนไปสืบพยานโจทก์ต่อในวันที่ 2กรกฎาคม 2536 จำเลยก็ยื่นบัญชีระบุพยานต่อศาลก่อนถึงวันนัดสืบพยานโจทก์ ซึ่งศาลชั้นต้นสั่งรับบัญชีระบุพยานจำเลยไว้ แต่เมื่อศาลชั้นต้นเพิกถอนคำสั่งที่สั่งรับบัญชีระบุพยานจำเลยและมีคำสั่งใหม่เป็นไม่รับ จำเลยก็ยื่นคำร้องขออนุญาตยื่นบัญชีระบุพยานต่อศาล จึงเป็นกรณีที่เห็นได้ชัดแจ้งว่าจำเลยไม่ได้จงใจฝ่าฝืนไม่ยื่นบัญชีระบุพยานตามเวลาที่กฎหมายกำหนด เพื่อมิให้เป็นการเสียหายแก่การต่อสู้คดีของจำเลยและเพื่อให้การวินิจฉัยชี้ขาดข้อสำคัญแห่งประเด็นเป็นไปโดยเที่ยงธรรม ศาลควรอนุญาตให้จำเลยยื่นบัญชีระบุพยานและรับบัญชีระบุพยานของจำเลยไว้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88 วรรคสี่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6880/2538
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีมโนสาเร่: การยื่นบัญชีระบุพยานภายในกำหนดเวลา ต้องพิจารณาความเหมาะสมกับลักษณะการพิจารณาคดี
แม้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา195จะบัญญัติให้นำบททั่วไปแห่งประมวลกฎหมายดังกล่าวมาใช้บังคับแก่การชี้ขาดตัดสินคดีมโนสาเร่ด้วยก็ตามแต่การจะนำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา88เรื่องกำหนดเวลายื่นบัญชีระบุพยานมาใช้บังคับแก่คดีมโนสาเร่ก็ต้องนำมาใช้ให้เหมาะสมแก่สภาพของการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีมโนสาเร่แต่ละคดีด้วย วิธีพิจารณาคดีมโนสาเร่มีบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา193ที่ให้สิทธิจำเลยยื่นคำให้การในวันที่มาศาลตามหมายเรียกของศาลหรือในวันอื่นต่อมาตามแต่ศาลจะเห็นสมควรก็ได้โดยต้องมิให้เป็นการเสียหายแก่การต่อสู้คดีของจำเลยเมื่อคดีนี้ตามหมายเรียกของศาลชั้นต้นกำหนดให้จำเลยมาศาลเพื่อให้การแก้ข้อหาในวันที่31พฤษภาคม2536และนัดสืบพยานในวันดังกล่าวด้วยจำเลยจึงมีสิทธิยื่นคำให้การและยื่นบัญชีระบุพยานในวันนัดสืบพยานได้แต่จำเลยยื่นคำให้การวันที่28พฤษภาคม2536แม้จำเลยจะยื่นบัญชีระบุพยานมาในวันดังกล่าวด้วยก็มิอาจเป็นการยื่นบัญชีระบุพยานภายในกำหนดเวลาที่มาตรา88วรรคสองกำหนดไว้ได้เนื่องจากศาลชั้นต้นได้ทำการสืบพยานโจทก์ไปในวันที่31พฤษภาคม2536นั้นเองและเมื่อศาลชั้นต้นเลื่อนไปสืบพยานโจทก์ต่อในวันที่2กรกฎาคม2536จำเลยก็ยื่นบัญชีระบุพยานต่อศาลก่อนถึงวันนัดสืบพยานโจทก์ซึ่งศาลชั้นต้นสั่งรับบัญชีระบุพยานจำเลยไว้แต่เมื่อศาลชั้นต้นเพิกถอนคำสั่งที่สั่งรับบัญชีระบุพยานจำเลยและมีคำสั่งใหม่เป็นไม่รับจำเลยก็ยื่นคำร้องขออนุญาตยื่นบัญชีระบุพยานต่อศาลจึงเป็นกรณีที่เห็นได้ชัดแจ้งว่าจำเลยไม่ได้จงใจฝ่าฝืนไม่ยื่นบัญชีระบุพยานตามเวลาที่กฎหมายกำหนดเพื่อมิให้เป็นการเสียหายแก่การต่อสู้คดีของจำเลยและเพื่อให้การวินิจฉัยชี้ขาดข้อสำคัญแห่งประเด็นเป็นไปโดยเที่ยงธรรมศาลควรอนุญาตให้จำเลยยื่นบัญชีระบุพยานและรับบัญชีระบุพยานของจำเลยไว้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา88วรรคสี่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3675/2534
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ธนาคารไม่ต้องรับผิดในเช็คที่ไม่ได้ลงลายมือชื่อ ผู้ทรงเช็คต้องฟ้องผู้สั่งจ่าย
ธนาคารจำเลยไม่ได้ลงลายมือชื่อในเช็คพิพาท โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงเช็คจึงฟ้องจำเลยให้ใช้เงินตามเช็คพิพาทตามกฎหมายเรื่องตั๋วเงินไม่ได้ สิทธิของโจทก์ในฐานะผู้ทรงเช็คพิพาทเมื่อจำเลยปฏิเสธการจ่ายเงินก็ได้แต่จะฟ้องไล่เบี้ยเอาแก่บุคคลที่ลงลายมือชื่อในเช็คพิพาทเท่านั้น ป.พ.พ. มาตรา 991 มีวัตถุประสงค์เพื่อปลดเปลื้องความรับผิดของธนาคารที่มีต่อผู้เคยค้าเท่านั้น เมื่อกรณีต้องด้วยข้อยกเว้น ตาม(1) หรือ (2) หรือ (3) ของมาตรา 991 ก็ให้สิทธิแก่ธนาคารที่ จะไม่จ่ายเงินตามเช็คได้โดยไม่ต้องรับผิดต่อผู้เคยค้าหรือผู้สั่งจ่ายหรือธนาคารจะจ่ายเงินตามเช็คนั้นก็ได้ แต่จะหักเงินจากบัญชีของผู้เคยค้าได้หรือไม่เป็นอีกเรื่องหนึ่งซึ่งต้องพิจารณาจากมูลเหตุ ที่ธนาคารจ่ายเงินตามเช็คเป็นราย ๆ ไป สัญญาระหว่างธนาคารกับผู้เคยค้าไม่มีลักษณะเป็นสัญญาเพื่อประโยชน์แก่บุคคลภายนอกตามที่บัญญัติไว้ใน ป.พ.พ. มาตรา 374และมาตรา 375.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3675/2534 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ธนาคารไม่ต้องรับผิดตามเช็ค หากไม่ได้ลงลายมือชื่อ และไม่มีสัญญาเป็นประโยชน์แก่บุคคลภายนอก
โจทก์เป็นผู้ทรงเช็คพิพาทซึ่งเป็นเช็คธนาคารจำเลยโดยมี พ.เป็นผู้สั่งจ่ายแต่ธนาคารจำเลยปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คพิพาททั้ง ๆ ที่บัญชีกระแสรายวันของ พ. พอที่จะจ่ายได้ ทั้งนี้เพราะนายจ้างของ พ. มีหนังสือแจ้งมายังธนาคารจำเลยขออายัดการจ่ายเงินตามเช็คพิพาท เนื่องจาก พ. ได้ฉ้อโกงเงินของนายจ้างดังนี้โจทก์ฟ้องธนาคารจำเลยให้ใช้เงินตามเช็คพิพาทไม่ได้ สิทธิของโจทก์ในฐานะผู้ทรงเช็คพิพาทเมื่อธนาคารจำเลยปฏิเสธการจ่ายเงินก็ได้แต่จะฟ้องไล่เบี้ย เอาแก่บุคคลทั้งหลายที่ลงลายมือชื่อในเช็คพิพาทเท่านั้น บทบัญญัติใน ป.พ.พ. มาตรา 991 นั้นถ้า จำเลยไม่ใช้เงินแก่โจทก์โดยไม่มีข้อแก้ตัวตามมาตรา 991(1) หรือ (2) หรือ (3)ธนาคารจำเลยก็จะต้องรับผิดต่อผู้เคยค้า คือ พ. ผู้สั่งจ่ายเท่านั้น เพราะเป็นคู่สัญญาของจำเลยตามสัญญาฝากเงินบัญชีกระแสรายวัน และมาตรา 991 มีวัตถุประสงค์เพื่อปลดเปลื้องความรับผิดของธนาคารที่มีต่อผู้เคยค้าเท่านั้น การที่ พ. ได้เปิดบัญชีกระแสรายวันไว้กับธนาคารจำเลยและมีข้อตกลงว่าการเบิกเงินจากบัญชีต้องใช้เช็คในการสั่งจ่ายเงินข้อสัญญาดังกล่าวระหว่างจำเลยกับ พ. ผู้เคยค้าไม่มีลักษณะเป็นสัญญาเพื่อประโยชน์แก่บุคคลภายนอกตาม ป.พ.พ. มาตรา 374,375.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3675/2534 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ธนาคารไม่ต้องรับผิดในเช็คที่ไม่ได้ลงลายมือชื่อ ผู้ทรงเช็คต้องไล่เบี้ยผู้สั่งจ่าย
ธนาคารจำเลยไม่ได้ลงลายมือชื่อในเช็คพิพาท โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงเช็คจึงฟ้องจำเลยให้ใช้เงินตามเช็คพิพาทตามกฎหมายเรื่องตั๋วเงินไม่ได้ สิทธิของโจทก์ในฐานะผู้ทรงเช็คพิพาทเมื่อจำเลยปฏิเสธการจ่ายเงินก็ได้แต่จะฟ้องไล่เบี้ยเอาแก่บุคคลที่ลงลายมือชื่อในเช็คพิพาทเท่านั้น
ป.พ.พ. มาตรา 991 มีวัตถุประสงค์เพื่อปลดเปลื้องความรับผิดของธนาคารที่มีต่อผู้เคยค้าเท่านั้น เมื่อกรณีต้องด้วยข้อยกเว้นตาม (1) หรือ (2) หรือ (3) ของมาตรา 991ก็ให้สิทธิแก่ธนาคารที่จะไม่จ่ายเงินตามเช็คได้โดยไม่ต้องรับผิดต่อผู้เคยค้าหรือผู้สั่งจ่าย หรือธนาคารจะจ่ายเงินตามเช็คนั้นก็ได้ แต่จะหักเงินจากบัญชีของผู้เคยค้าได้หรือไม่เป็นอีกเรื่องหนึ่งซึ่งต้องพิจารณาจากมูลเหตุที่ธนาคารจ่ายเงินตามเช็คเป็นราย ๆ ไป
สัญญาระหว่างธนาคารกับผู้เคยค้าไม่มีลักษณะเป็นสัญญาเพื่อประโยชน์แก่บุคคลภายนอกตามที่บัญญัติไว้ใน ป.พ.พ. มาตรา 374 และมาตรา 375
ป.พ.พ. มาตรา 991 มีวัตถุประสงค์เพื่อปลดเปลื้องความรับผิดของธนาคารที่มีต่อผู้เคยค้าเท่านั้น เมื่อกรณีต้องด้วยข้อยกเว้นตาม (1) หรือ (2) หรือ (3) ของมาตรา 991ก็ให้สิทธิแก่ธนาคารที่จะไม่จ่ายเงินตามเช็คได้โดยไม่ต้องรับผิดต่อผู้เคยค้าหรือผู้สั่งจ่าย หรือธนาคารจะจ่ายเงินตามเช็คนั้นก็ได้ แต่จะหักเงินจากบัญชีของผู้เคยค้าได้หรือไม่เป็นอีกเรื่องหนึ่งซึ่งต้องพิจารณาจากมูลเหตุที่ธนาคารจ่ายเงินตามเช็คเป็นราย ๆ ไป
สัญญาระหว่างธนาคารกับผู้เคยค้าไม่มีลักษณะเป็นสัญญาเพื่อประโยชน์แก่บุคคลภายนอกตามที่บัญญัติไว้ใน ป.พ.พ. มาตรา 374 และมาตรา 375