คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ.2469 ม. 27

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 286 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3497-3500/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การนำเข้าอาวุธปืนโดยใช้เอกสารปลอม และสำแดงเท็จต่อศุลกากร มีความผิดตามกฎหมายอาญาและศุลกากร
จำเลยสั่งอาวุธปืนซึ่งเป็นของต้องจำกัดตามพระราชบัญญัติศุลกากรเข้ามาในราชอาณาจักรโดยใช้ใบอนุญาตอันเป็นหนังสือราชการปลอมแม้จำเลยจะได้ชำระค่าภาษีศุลกากรครบถ้วนเนื่องจากเจ้าหน้าที่ศุลกากรเข้าใจผิดไปว่าอาวุธปืนนั้นได้รับอนุญาตให้นำเข้าถูกต้องตามกฎหมาย การกระทำของจำเลยก็เป็นการกระทำเพื่อหลีกเลี่ยงข้อห้ามหรือข้อจำกัดอันเกี่ยวกับของนั้นครบองค์ประกอบความผิดฐานนำของต้องจำกัดเข้ามาในราชอาณาจักรโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ตามมาตรา 27 แล้ว การที่จำเลยลงลายมือชื่อเป็นผู้นำเข้าในใบขนสินค้าขาเข้าโดยระบุชนิดของอาวุธปืน จำนวน ขนาด ประเทศที่ผลิตหรือสั่งซื้อผิดไปจากใบอนุญาตที่แท้จริง ถือได้ว่าเป็นการสำแดงความเท็จหรือไม่สมบูรณ์ตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 99 แล้วและเป็นความผิดโดยไม่ต้องคำนึงว่าจำเลยมีเจตนาหรือกระทำโดยประมาทเลินเล่อหรือหาไม่.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3497-3500/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความผิดใช้เอกสารปลอม, นำเข้าอาวุธปืนโดยไม่ได้รับอนุญาต, และสำแดงเท็จทางศุลกากร
จำเลยสั่งอาวุธปืนซึ่งเป็นของต้องจำกัดตามพระราชบัญญัติศุลกากร เข้ามาในราชอาณาจักรโดยใช้ใบอนุญาตอันเป็นหนังสือราชการปลอมแม้จำเลยจะได้ชำระค่าภาษีศุลกากรครบถ้วนเนื่องจากเจ้าหน้าที่ศุลกากรเข้าใจผิดไปว่าอาวุธปืนนั้นได้รับอนุญาตให้นำเข้าถูกต้องตามกฎหมาย การกระทำของจำเลยก็เป็นการกระทำเพื่อหลีกเลี่ยงข้อห้ามหรือข้อจำกัดอันเกี่ยวกับของนั้นครบองค์ประกอบความผิดฐานนำของต้องจำกัดเข้ามาในราชอาณาจักรโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามมาตรา 27 แล้ว การที่จำเลยลงลายมือชื่อเป็นผู้นำเข้าในใบขนสินค้าขาเข้าโดยระบุชนิดของอาวุธปืน จำนวน ขนาด ประเทศที่ผลิตหรือสั่งซื้อผิดไปจากใบอนุญาตที่แท้จริง ถือได้ว่าเป็นการสำแดงความเท็จหรือไม่สมบูรณ์ตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 99 แล้วและเป็นความผิดโดยไม่ต้องคำนึงว่าจำเลยมีเจตนาหรือกระทำโดยประมาทเลินเล่อหรือหาไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3497-3500/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การนำเข้าอาวุธปืนโดยใช้เอกสารปลอมและการสำแดงเท็จ มีความผิดตามกฎหมายอาญาและศุลกากร
จำเลยสั่งอาวุธปืนซึ่งเป็นของต้องจำกัดตามพระราชบัญญัติศุลกากรเข้ามาในราชอาณาจักรโดยใช้ใบอนุญาตอันเป็นหนังสือราชการปลอม แม้จำเลยจะได้ชำระค่าภาษีศุลกากรครบถ้วนเนื่องจากเจ้าหน้าที่ศุลกากรเข้าใจผิดไปว่าอาวุธปืนนั้นได้รับอนุญาตให้นำเข้าถูกต้องตามกฎหมาย การกระทำของจำเลยก็เป็นการกระทำเพื่อหลีกเลี่ยงข้อห้ามหรือข้อจำกัดอันเกี่ยวกับของนั้นครบองค์ประกอบความผิดฐานนำของต้องจำกัดเข้ามาในราชอาณาจักรโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ตามมาตรา 27 แล้ว
การที่จำเลยลงลายมือชื่อเป็นผู้นำเข้าในใบขนสินค้าขาเข้าโดยระบุชนิดของอาวุธปืน จำนวน ขนาด ประเทศที่ผลิตหรือสั่งซื้อผิดไปจากใบอนุญาตที่แท้จริง ถือได้ว่าเป็นการสำแดงความเท็จหรือไม่สมบูรณ์ตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 99 แล้วและเป็นความผิดโดยไม่ต้องคำนึงว่าจำเลยมีเจตนาหรือกระทำโดยประมาทเลินเล่อหรือหาไม่

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3159/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความผิดพยายามลักลอบนำแร่ดีบุกออกนอกราชอาณาจักร การพิจารณาโทษตามกฎหมายแร่และศุลกากร
จำเลยขนแร่ดีบุกซึ่งแต่งและย่าง แห้งแล้วบรรจุไว้ในกระสอบที่มีน้ำหนักเท่ากันจำนวนถึง 853 กระสอบ จากบนบกลงเรือหางยาวนำไปเก็บไว้บนแพซึ่งจอดอยู่กลางทะเลลึกห่างจากฝั่งถึง 2 กิโลเมตร เพื่อรอเรือใหญ่มาขนต่อไปอีกทอดหนึ่ง โดยแพก็มีเครื่องยนต์ถึง 2 เครื่อง ซึ่งสามารถนำแร่ดีบุกต่อไปยังเรือใหญ่เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักรได้โดยง่าย แสดงว่าจำเลยมีเจตนาลักลอบส่งแร่ดีบุกออกนอกราชอาณาจักร และถือได้ว่าเป็นการกระทำที่เลยขั้นตระเตรียมการแล้ว การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดฐานพยายามลักลอบนำแร่ออกนอกราชอาณาจักร
ความผิดฐานพยายามลักลอบนำแร่ออกนอกราชอาณาจักรตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 129, 152 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2522 มาตรา 23 และพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 27, 102 ตรี เป็นการกระทำกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท และการพิจารณาว่าบทกฎหมายใดเป็นบทหนักหรือเบากว่ากันนั้นจะต้องพิเคราะห์จากอัตราโทษจำคุก ปรากฏว่าโทษจำคุกตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 152 ที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2522 มาตรา 23 กับโทษจำคุกตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 102 ตรี นั้น มีอัตราโทษสูงสุดเท่ากันคือจำคุกไม่เกิน 10 ปี แต่ความผิดฐานพยายามลักลอบนำแร่ออกนอกราชอาณาจักรตามพระราชบัญญัติศุลกากรฯ มาตรา 27 มีอัตราโทษเท่ากับการทำความผิดสำเร็จ ดังนั้น โทษจำคุกตามพระราชบัญญัติศุลกากรฯ ดังกล่าวจึงหนักกว่าโทษจำคุกตามพระราชบัญญัติแร่ฯ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3159/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความผิดพยายามลักลอบส่งออกแร่ดีบุก การพิจารณาโทษบทที่หนักกว่าระหว่าง พ.ร.บ.แร่ และ พ.ร.บ.ศุลกากร
จำเลยขนแร่ดีบุกซึ่งแต่งและย่าง แห้งแล้วบรรจุไว้ในกระสอบที่มีน้ำหนักเท่ากันจำนวนถึง 853 กระสอบ จากบนบก ลง เรือหางยาวนำไปเก็บไว้บนแพซึ่งจอดอยู่กลางทะเลลึกห่างจากฝั่งถึง 2 กิโลเมตรเพื่อรอเรือใหญ่มาขนต่อไปอีกทอดหนึ่ง โดยแพก็มีเครื่องยนต์ถึง 2เครื่อง ซึ่งสามารถนำแร่ดีบุกต่อไปยังเรือใหญ่เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักรได้โดยง่าย แสดงว่าจำเลยมีเจตนาลักลอบส่งแร่ดีบุกออกนอกราชอาณาจักร และถือได้ว่าเป็นการกระทำที่เลยขั้นตระเตรียมการแล้ว การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดฐานพยายามลักลอบนำแร่ออกนอกราชอาณาจักร ความผิดฐานพยายามลักลอบนำแร่ออกนอกราชอาณาจักรตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 129152 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2522 มาตรา 23 และพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 27102 ตรี เป็นการกระทำกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท และการพิจารณาว่าบทกฎหมายใดเป็นบทหนักหรือเบากว่ากันนั้นจะต้องพิเคราะห์จากอัตราโทษจำคุก ปรากฏว่าโทษจำคุกตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 152 ที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2522 มาตรา 23 กับโทษจำคุกตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 102 ตรี นั้น มีอัตราโทษสูงสุดเท่ากันคือจำคุกไม่เกิน 10 ปี แต่ความผิดฐานพยายามลักลอบนำแร่ออกนอกราชอาณาจักรตามพระราชบัญญัติศุลกากรฯ มาตรา 27มีอัตราโทษเท่ากับการทำความผิดสำเร็จ ดังนั้น โทษจำคุกตามพระราชบัญญัติศุลกากรฯ ดังกล่าวจึงหนักกว่าโทษจำคุกตามพระราชบัญญัติแร่ฯ.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3159/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความผิดพยายามลักลอบนำแร่ดีบุกออกนอกราชอาณาจักร การพิจารณาบทหนักเบาตามกฎหมายแร่และศุลกากร
จำเลยขนแร่ดีบุกซึ่งแต่งและย่างแห้งแล้วบรรจุไว้ในกระสอบที่มีน้ำหนักเท่ากันจำนวน 853 กระสอบ จากบนบก ลงเรือหางยาวนำไปเก็บไว้บนแพซึ่งจอดอยู่กลางทะเลลึกห่างจากฝั่งถึง 2 กิโลเมตร เพื่อรอเรือใหญ่มาขนต่อไปอีกทอดหนึ่ง โดยแพมีเครื่องยนต์ 2 เครื่องซึ่งสามารถนำแร่ดีบุกต่อไปยังเรือใหญ่เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักรได้โดยง่ายแสดงว่าจำเลยมีเจตนาลักลอบส่งแร่ดีบุกออกนอกราชอาณาจักรและถือได้ว่าเป็นการกระทำที่เลยขั้นตระเตรียมการแล้ว จึงเป็นความผิดฐานพยายามลักลอบนำแร่ออกนอกราชอาณาจักร ความผิดฐานพยายามลักลอบนำแร่ออกนอกราชอาณาจักรตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 129,152 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2522 มาตรา 23 และพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 27,102 ตรี เป็นการกระทำกรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท และการพิจารณาว่าบทกฎหมายใดเป็นบทหนักหรือเบากว่านั้นจะต้องพิเคราะห์จากอัตราโทษจำคุกปรากฏว่า โทษจำคุกตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 152ที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2522มาตรา 23 กับโทษจำคุกตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469มาตรา 102 ตรี นั้น มีอัตราโทษสูงสุดเท่ากันคือจำคุกไม่เกิน10 ปี แต่ความผิดฐานพยายามลักลอบนำแร่ออกนอกราชอาณาจักรตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 27 มีอัตราโทษเท่ากับการกระทำความผิดสำเร็จดังนั้นโทษจำคุกตามพระราชบัญญัติศุลกากรพ.ศ. 2469 จึงหนักกว่าโทษจำคุกตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2369/2532

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความผิดศุลกากร: สำแดงเท็จ หลีกเลี่ยงภาษี, อายุความฟ้องคดีอาญา
ความผิดตาม พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 99เป็นเรื่องสำแดงรายการสินค้าอันเป็นเท็จ แต่ จำเลยนอกจากได้สำแดงรายการสินค้าอันเป็นเท็จแล้วยังได้ นำสินค้าที่ยังมิได้ผ่านศุลกากรโดยถูกต้อง เข้ามาในพระราชอาณาจักรอันเป็นการหลีกเลี่ยงภาษีและฉ้อภาษีของ รัฐบาล ด้วย การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดตาม มาตรา 27 ที่แก้ไขแล้ว จำเลยขอทำความตกลง ระงับคดีต่อ กรมศุลกากร ตาม มาตรา 102102 ทวิ อธิบดีกรมศุลกากรอนุมัติให้รับทำความตกลง ระงับคดีโดยให้จำเลยชำระค่าซื้อของกลางคืนเป็น 3 งวด งวดละหนึ่งเดือนโดย มีธนาคารเป็นผู้ค้ำประกัน แต่ จำเลยมิได้ดำเนินการตามข้อตกลง อธิบดีกรมศุลกากรจึงขอให้ดำเนินคดีแก่จำเลย เช่นนี้คดียังไม่ระงับ อายุความตาม พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 10 เป็นอายุความในทางแพ่งเกี่ยวกับการเรียกเก็บค่าภาษีอากร ไม่ใช่อายุความการฟ้องคดีอาญา จำเลยกระทำผิดฐาน ไม่สำแดงรายการให้ตรงตาม ความจริง เป็นการหลีกเลี่ยงภาษีและฉ้อภาษีของ รัฐบาล เมื่อวันที่25 ตุลาคม 2517 มีความผิดตาม มาตรา 27 ซึ่ง มีโทษปรับหรือจำคุกไม่เกินสิบปี มีอายุความ 15 ปี ตาม ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 95(2) โจทก์ฟ้องคดีเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2527คดีโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2369/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความผิดศุลกากร: สำแดงเท็จ, หลีกเลี่ยงภาษี, อายุความ, การระงับคดีที่ไม่สมบูรณ์
ความผิดตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 99เป็นเรื่องสำแดงรายการสินค้าอันเป็นเท็จ แต่จำเลยนอกจากได้สำแดงรายการสินค้าอันเป็นเท็จแล้ว ยังได้นำสินค้าที่ยังมิได้ผ่านศุลกากรโดยถูกต้องเข้ามาในพระราชอาณาจักรอันเป็นการหลีกเลี่ยงภาษีและฉ้อภาษีของ รัฐบาล ด้วย การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดตามมาตรา 27ที่แก้ไขแล้ว จำเลยขอทำความตกลงระงับคดีต่อกรมศุลกากรตามมาตรา 102,102 ทวิอธิบดีกรมศุลกากรอนุมัติให้รับทำความตกลงระงับคดีโดยให้จำเลยชำระค่าซื้อของกลางคืนเป็น 3 งวด งวดละหนึ่งเดือน โดยมีธนาคารเป็นผู้ค้ำประกัน แต่จำเลยมิได้ดำเนินการตามข้อตกลงอธิบดีกรมศุลกากรจึงขอให้ดำเนินคดีแก่จำเลย เช่นนี้ คดียังไม่ระงับ อายุความตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 10เป็นอายุความในทางแพ่งเกี่ยวกับการเรียกเก็บค่าภาษีอากร ไม่ใช่อายุความการฟ้องคดีอาญา จำเลยกระทำผิดฐานไม่สำแดงรายการให้ตรงตามความจริง เป็นการหลีกเลี่ยงภาษีและฉ้อภาษีของ รัฐบาล เมื่อวันที่25 ตุลาคม 2517 มีความผิดตามมาตรา 27 ซึ่งมีโทษปรับหรือจำคุกไม่เกินสิบปี มีอายุความ 15 ปี ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 95(2) โจทก์ฟ้องคดีเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2527 คดีโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2369/2532 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ ความผิดศุลกากร: สำแดงเท็จ, หลีกเลี่ยงภาษี, อายุความ, และการระงับคดีที่ไม่เป็นผล
ความผิดตาม พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 99 เป็นเรื่องสำแดงรายการสินค้าอันเป็นเท็จ แต่ จำเลยนอกจากได้สำแดงรายการสินค้าอันเป็นเท็จแล้วยังได้ นำสินค้าที่ยังมิได้ผ่านศุลกากรโดยถูกต้อง เข้ามาในพระราชอาณาจักรอันเป็นการหลีกเลี่ยงภาษีและฉ้อภาษีของ รัฐบาล ด้วย การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดตาม มาตรา 27 ที่แก้ไขแล้ว
จำเลยขอทำความตกลง ระงับคดีต่อ กรมศุลกากร ตาม มาตรา 102102 ทวิ อธิบดีกรมศุลกากรอนุมัติให้รับทำความตกลง ระงับคดีโดยให้จำเลยชำระค่าซื้อของกลางคืนเป็น 3 งวด งวดละหนึ่งเดือนโดย มีธนาคารเป็นผู้ค้ำประกัน แต่ จำเลยมิได้ดำเนินการตามข้อตกลง อธิบดีกรมศุลกากรจึงขอให้ดำเนินคดีแก่จำเลย เช่นนี้คดียังไม่ระงับ
อายุความตาม พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 มาตรา 10 เป็นอายุความในทางแพ่งเกี่ยวกับการเรียกเก็บค่าภาษีอากร ไม่ใช่อายุความการฟ้องคดีอาญา จำเลยกระทำผิดฐาน ไม่สำแดงรายการให้ตรงตาม ความจริง เป็นการหลีกเลี่ยงภาษีและฉ้อภาษีของ รัฐบาล เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2517 มีความผิดตาม มาตรา 27 ซึ่ง มีโทษปรับหรือจำคุกไม่เกินสิบปี มีอายุความ 15 ปี ตาม ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 95(2) โจทก์ฟ้องคดีเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2527 คดีโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2342/2532 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การรับสารภาพคดีอาญา และข้อจำกัดในการโต้แย้งข้อเท็จจริงใหม่ในชั้นฎีกา รวมถึงการบังคับใช้บทลงโทษตามกฎหมายศุลกากร
จำเลยให้การรับสารภาพตามฟ้อง คดีต้องฟังตามคำรับสารภาพของจำเลยว่า จำเลยมีเจตนากระทำผิดดังโจทก์ฟ้อง จำเลยจะฎีกาโต้เถียงข้อเท็จจริงเป็นอย่างอื่นไม่ได้ เพราะไม่ใช่ข้อที่ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลล่างต้องห้ามฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 ประกอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 15 ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย การที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้ลงโทษจำเลยฐานนำเงินตราไทยออกไปนอกราชอาณาจักร ตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469มาตรา 27 ซึ่งกฎหมายมาตรานี้บัญญัติเกี่ยวกับโทษที่จะลงแก่ผู้กระทำผิดว่า.. สำหรับความผิดครั้งหนึ่ง ๆ ให้ปรับเป็นเงินสี่เท่าราคาของซึ่งได้รวมค่าอากรด้วยแล้ว หรือจำคุกไม่เกินสิบปีหรือทั้งปรับทั้งจำ บทกฎหมายดังกล่าวมิได้ให้ดุลพินิจศาลที่จะใช้อำนาจปรับให้น้อยกว่านั้นหรือเป็นอย่างอื่นได้ เมื่อศาลชั้นต้นปรับจำเลยเป็นเงินสี่เท่าของจำนวนเงินตราที่นำออกไปนอกราชอาณาจักรแล้ว ศาลฎีกาไม่อาจปรับให้น้อยลง หรือลงโทษสถานเบากว่าที่ศาลชั้นต้นกำหนด
of 29