คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ.2469 ม. 27

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 286 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5995/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยึดทรัพย์สินของกลางหลังทำคำร้องเปรียบเทียบแล้วยกเลิก ถือเป็นการสิ้นสุดความคุ้มกันทางกฎหมาย
เจ้าหน้าที่ศุลกากรจับกุมโจทก์ในข้อหาพยายามพาของต้องจำกัดออกไปนอกราชอาณาจักร อันเป็นความผิดตาม พ.ร.บ. ศุลกากรพุทธศักราช 2469 มาตรา 27 จึงมีอำนาจนำตัวโจทก์และของพิพาทซึ่งเป็นของกลางที่เกี่ยวกับการพยายามกระทำความผิดส่งสถานีตำรวจเพื่อจัดการตามกฎหมาย แม้ต่อมาโจทก์ได้ทำคำร้องขอให้เปรียบเทียบเพื่อไม่ต้องดำเนินคดี โดยขอยกของพิพาทให้เป็นของแผ่นดินก็ตาม แต่ภายหลังโจทก์กลับขอคืนของพิพาทก่อนที่คณะกรรมการเปรียบเทียบงดการฟ้องร้องจะพิจารณาคำร้องขอให้เปรียบเทียบ มาตรา 102 ทวิถือได้ว่าโจทก์ไม่ประสงค์ให้มีการเปรียบเทียบต่อไป โจทก์จึงหมดความคุ้มกันในการที่จะถูกดำเนินคดี จำเลยย่อมมีอำนาจยึดของพิพาทไว้เพื่อนำส่งพนักงานสอบสวนให้ดำเนินการตามมาตรา 20 ได้.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5995/2530

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยึดทรัพย์สินของกลางหลังผู้ต้องหาขอเปรียบเทียบแล้วถอนคำขอ ถือว่าหมดความคุ้มกันจำเลยมีสิทธิยึดทรัพย์ได้
เจ้าหน้าที่ศุลกากรจับกุมโจทก์ในข้อหาพยายามพาของต้องจำกัดออกไปนอกราชอาณาจักร อันเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติศุลกากรพุทธศักราช 2469 มาตรา 27 จึงมีอำนาจนำตัวโจทก์และของพิพาทซึ่งเป็นของกลางที่เกี่ยวกับการพยายามกระทำความผิดส่งสถานีตำรวจเพื่อจัดการตามกฎหมาย แม้ต่อมาโจทก์ได้ทำคำร้องขอให้เปรียบเทียบเพื่อไม่ต้องดำเนินคดี โดยขอยกของพิพาทให้เป็นของแผ่นดินก็ตาม แต่ภายหลังโจทก์กลับขอคืนของพิพาทก่อนที่คณะกรรมการเปรียบเทียบงดการฟ้องร้องจะพิจารณาคำร้องขอให้เปรียบเทียบมาตรา 102 ทวิ ถือได้ว่าโจทก์ไม่ประสงค์ให้มีการเปรียบเทียบต่อไปโจทก์จึงหมดความคุ้มกันในการที่จะถูกดำเนินคดีจำเลยย่อมมีอำนาจยึดของพิพาทไว้เพื่อนำส่งพนักงานสอบสวนให้ดำเนินการตามมาตรา 20 ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4186/2530 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยินยอมให้เปรียบเทียบปรับในคดีศุลกากร ถือเป็นการยอมรับความผิด การฟ้องคดีแพ่งเพื่อเรียกค่าปรับคืนจึงไม่สำเร็จ
โจทก์นำสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักรโดยสำแดงว่า เป็นสินค้าอยู่ในพิกัดอัตราศุลกากร ประเภทที่ 34.02 ข. และได้ชำระอากรขาเข้าตามพิกัดอัตราศุลกากรประเภทดังกล่าว ต่อมากรมศุลกากรจำเลยที่ 1 มีหนังสือแจ้งไปยังโจทก์ว่าโจทก์สำแดงพิกัดอัตราศุลกากรสินค้าที่โจทก์นำเข้าไม่ถูกต้องเป็นเหตุให้โจทก์เสียค่าอากรขาดไปและแจ้งด้วยว่าการกระทำของโจทก์ดังกล่าวเป็นความผิดอาญาฐานสำแดงเท็จเพื่อหลีกเลี่ยงอากรตามพระราชบัญญัติศุลกากร มาตรา 99 และมาตรา 27 ซึ่งอธิบดีกรมศุลกากรจำเลยที่ 2 หรือคณะกรรมการมีอำนาจเปรียบเทียบปรับและงดการฟ้องร้องได้แล้วแต่กรณี ตามพระราชบัญญัติศุลกากร มาตรา 102 หรือ 102 ทวิ ดังนี้ ถ้าโจทก์เห็นว่าการที่โจทก์สำแดงพิกัดอัตราศุลกากรไว้ในใบขนสินค้าขาเข้าดังกล่าวยังไม่เป็นความผิดฐานสำแดงเท็จเพื่อหลีกเลี่ยงอากรตามข้อกล่าวหาของจำเลยที่ 1 โจทก์ก็ต้องไม่ยินยอมให้จำเลยที่ 2 หรือคณะกรรมการทำการเปรียบเทียบและไม่ชำระค่าปรับให้แก่จำเลยที่ 1 โดยให้จำเลยที่ 1 ดำเนินคดีอาญาแก่โจทก์ต่อไป เมื่อโจทก์ได้ยินยอมให้จำเลยที่ 2 หรือคณะกรรมการทำการเปรียบเทียบปรับและได้ชำระค่าปรับตามที่จำเลยที่ 2 หรือคณะกรรมการทำการเปรียบเทียบกับชำระค่าอากรขาเข้า ภาษีการค้าที่ขาดเรียบร้อยแล้ว ย่อมเป็นการเปรียบเทียบปรับที่ชอบด้วยกฎหมาย ถือว่าโจทก์ได้ยอมรับแล้วว่าพิกัดอัตราศุลกากรที่โจทก์สำแดงไว้ในใบขนสินค้าขาเข้านั้นเป็นเท็จเพื่อหลีกเลี่ยงอากรถึงแม้ว่าสินค้าที่โจทก์นำเข้ามาจะจัดอยู่ในพิกัดอัตราศุลกากรประเภทอื่นก็ตาม โจทก์จะนำมาเป็นมูลฟ้องเป็นคดีแพ่งไม่ได้ และการที่โจทก์ขอสงวนสิทธิ์โต้แย้งไว้ก็ไม่เพียงพอให้ถือว่าโจทก์ไม่ยินยอมให้จำเลยที่ 2 หรือคณะกรรมการเปรียบเทียบปรับ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4186/2530

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยินยอมเปรียบเทียบปรับในความผิดศุลกากร ถือเป็นการยอมรับความเท็จของพิกัดอัตราศุลกากร ทำให้สิทธิในการฟ้องร้องคดีแพ่งหมดไป
โจทก์นำสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักรโดยสำแดงว่า เป็นสินค้าอยู่ในพิกัดอัตราศุลกากร ประเภทที่ 34.02 ข. และได้ชำระอากรขาเข้าตามพิกัดอัตราศุลกากรประเภทดังกล่าว ต่อมากรมศุลกากรจำเลยที่ 1 มีหนังสือแจ้งไปยังโจทก์ว่าโจทก์สำแดงพิกัดอัตราศุลกากรสินค้าที่โจทก์นำเข้าไม่ถูกต้องเป็นเหตุให้โจทก์เสียค่าอากรขาดไปและแจ้งด้วยว่าการกระทำของโจทก์ดังกล่าวเป็นความผิดอาญาฐานสำแดงเท็จเพื่อหลีกเลี่ยงอากรตามพระราชบัญญัติศุลกากร มาตรา 99 และมาตรา 27 ซึ่งอธิบดีกรมศุลกากรจำเลยที่ 2 หรือคณะกรรมการมีอำนาจเปรียบเทียบปรับและงดการฟ้องร้องได้แล้วแต่กรณี ตามพระราชบัญญัติศุลกากร มาตรา 102 หรือ 102 ทวิ ดังนี้ ถ้าโจทก์เห็นว่าการที่โจทก์สำแดงพิกัดอัตราศุลกากรไว้ในใบขนสินค้าขาเข้าดังกล่าวยังไม่เป็นความผิดฐานสำแดงเท็จเพื่อหลีกเลี่ยงอากรตามข้อกล่าวหาของจำเลยที่ 1 โจทก์ก็ต้องไม่ยินยอมให้จำเลยที่ 2 หรือคณะกรรมการทำการเปรียบเทียบและไม่ชำระค่าปรับให้แก่จำเลยที่ 1 โดยให้จำเลยที่ 1 ดำเนินคดีอาญาแก่โจทก์ต่อไป เมื่อโจทก์ได้ยินยอมให้จำเลยที่ 2 หรือคณะกรรมการทำการเปรียบเทียบปรับและได้ชำระค่าปรับตามที่จำเลยที่ 2 หรือคณะกรรมการทำการเปรียบเทียบกับชำระค่าอากรขาเข้า ภาษีการค้าที่ขาดเรียบร้อยแล้ว ย่อมเป็นการเปรียบเทียบปรับที่ชอบด้วยกฎหมาย ถือว่าโจทก์ได้ยอมรับแล้วว่าพิกัดอัตราศุลกากรที่โจทก์สำแดงไว้ในใบขนสินค้าขาเข้านั้นเป็นเท็จเพื่อหลีกเลี่ยงอากรถึงแม้ว่าสินค้าที่โจทก์นำเข้ามาจะจัดอยู่ในพิกัดอัตราศุลกากรประเภทอื่นก็ตาม โจทก์จะนำมาเป็นมูลฟ้องเป็นคดีแพ่งไม่ได้ และการที่โจทก์ขอสงวนสิทธิ์โต้แย้งไว้ก็ไม่เพียงพอให้ถือว่าโจทก์ไม่ยินยอมให้จำเลยที่ 2 หรือคณะกรรมการเปรียบเทียบปรับ.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4186/2530 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การยินยอมชำระค่าปรับทางภาษีอากร ถือเป็นการยอมรับความเท็จในการสำแดงพิกัดอัตราศุลกากร ฟ้องร้องเรียกคืนไม่ได้
โจทก์นำสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักรโดยสำแดงว่า เป็นสินค้าอยู่ในพิกัดอัตราศุลกากรประเภทที่ 34.02 ข. และได้ชำระอากรขาเข้าตามพิกัดอัตราศุลกากรประเภทดังกล่าว ต่อมา กรม ศุลกากรจำเลยที่ 1มีหนังสือแจ้งไปยังโจทก์ว่าโจทก์สำแดงพิกัดอัตราศุลกากรสินค้าที่โจทก์นำเข้าไม่ถูกต้องเป็นเหตุให้โจทก์เสียค่าอากรขาดไปและแจ้งด้วยว่าการกระทำของโจทก์ดังกล่าวเป็นความผิดอาญาฐานสำแดงเท็จเพื่อหลีกเลี่ยงอากรตาม พ.ร.บ. ศุลกากร พุทธศักราช 2469 มาตรา 99และมาตรา 27 ซึ่งอธิบดีกรมศุลกากร จำเลยที่ 2 หรือคณะกรรมการมีอำนาจเปรียบเทียบปรับและงดการฟ้องร้องได้แล้วแต่กรณี ตาม พ.ร.บ. ศุลกากร มาตรา 102 หรือ 102 ทวิ ดังนี้ถ้า โจทก์เห็นว่าการที่โจทก์สำแดงพิกัดอัตราศุลกากรไว้ในใบขนสินค้าขาเข้าดังกล่าวยังไม่เป็นความผิดฐานสำแดงเท็จเพื่อหลีกเลี่ยงอากรตามข้อกล่าวหาของจำเลยที่ 1 โจทก์ก็ต้องไม่ยินยอมให้จำเลยที่ 2หรือคณะกรรมการทำการเปรียบเทียบและไม่ชำระค่าปรับให้แก่จำเลยที่ 1โดยให้จำเลยที่ 1 ดำเนินคดีอาญาแก่โจทก์ต่อไป เมื่อโจทก์ได้ยินยอมให้จำเลยที่ 2 หรือคณะกรรมการทำการเปรียบเทียบปรับและได้ชำระค่าปรับตามที่จำเลยที่ 2 หรือคณะกรรมการทำการเปรียบเทียบกับชำระค่าอากรขาเข้า ภาษีการค้าที่ขาดเรียบร้อยแล้ว ย่อมเป็นการเปรียบเทียบปรับที่ชอบด้วยกฎหมาย ถือว่าโจทก์ได้ยอมรับแล้วว่าพิกัดอัตราศุลกากรที่โจทก์สำแดงไว้ในใบขนสินค้าขาเข้านั้นเป็นเท็จเพื่อหลีกเลี่ยงอากร ถึงแม้ว่าสินค้าที่โจทก์นำเข้ามาจะจัดอยู่ในพิกัดอัตราศุลกากรประเภทอื่นก็ตามโจทก์จะนำมาเป็นมูลฟ้องเป็นคดีแพ่งไม่ได้ และการที่โจทก์ขอสงวนสิทธิ์โต้แย้งไว้ ก็ไม่เพียงพอให้ถือว่าโจทก์ไม่ยินยอมให้จำเลยที่ 2 หรือคณะกรรมการเปรียบเทียบปรับ.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3854/2529

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การกักขังแทนค่าปรับ: ศาลฎีกาชี้แนวปฏิบัติการเฉลี่ยระยะเวลาตามสัดส่วนจำเลย และเพดานเวลาตามกฎหมาย
ศาลพิพากษาลงโทษปรับจำเลย5คนโดยรวมปรับเมื่อจะต้องกักขังแทนค่าปรับแม้จำเลยจะถูกลงโทษปรับในความผิดหลายกระทงก็คงกักขังจำเลยทุกคนแทนค่าปรับได้ไม่เกินสองปีตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา30โดยต้องเฉลี่ยกักขังไปตามสัดส่วนของตัวจำเลยและเมื่อรวมจำนวนวันที่ถูกกักขังของจำเลยทุกคนแล้วต้องไม่เกินสองปีตามที่กำหนดไว้ในมาตรา30.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3854/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การกักขังแทนค่าปรับสำหรับความผิดหลายกระทง ต้องเฉลี่ยเวลาและไม่เกินอัตราสูงสุดตามกฎหมาย
ศาลพิพากษาลงโทษปรับจำเลย 5 คนโดยรวมปรับ เมื่อจะต้องกักขังแทนค่าปรับ แม้จำเลยจะถูกลงโทษปรับในความผิดหลายกระทงก็คงกักขังจำเลยทุกคนแทนค่าปรับได้ไม่เกินสองปีตาม ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 30 โดยต้องเฉลี่ยกักขังไปตามสัดส่วน ของตัวจำเลย และเมื่อรวมจำนวนวันที่ถูกกักขังของจำเลยทุกคนแล้ว ต้องไม่เกินสองปีตามที่กำหนดไว้ในมาตรา 30

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3854/2529 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การกักขังแทนค่าปรับ: การรวมโทษปรับหลายกระทงและการเฉลี่ยระยะเวลา
ศาลพิพากษาลงโทษปรับจำเลย 5 คนโดยรวมปรับ เมื่อจะต้องกักขังแทนค่าปรับ แม้จำเลยจะถูกลงโทษปรับในความผิดหลายกระทงก็คงกักขังจำเลยทุกคนแทนค่าปรับได้ไม่เกินสองปีตาม ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 30 โดยต้องเฉลี่ยกักขังไปตามสัดส่วนของตัวจำเลย และเมื่อรวมจำนวนวันที่ถูกกักขังของจำเลยทุกคนแล้วต้องไม่เกินสองปีตามที่กำหนดไว้ในมาตรา 30

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1113/2529 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ เจตนาฉ้อค่าภาษี: การสำแดงรายการสินค้าผิดประเภทเพื่อหลีกเลี่ยงภาษี
สินค้าที่จัดอยู่ในพิกัดอัตราอากรขาเข้าประเภทที่35.06นั้นจะต้องเป็นการที่ปรุงแต่งแล้วซึ่งมิได้ระบุหรือรวมไว้ในที่อื่นรวมทั้งผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับใช้อย่างกาวแต่สินค้าที่จำเลยนำเข้ายังไม่เป็นกาวและจำเลยทั้งสามรู้อยู่แล้วว่ากรมศุลกากรเคยเรียกเก็บอากรขาเข้าในพิกัดอัตราอากรขาเข้าประเภทที่39.01ก.มาแล้วจำเลยทั้งสามยังสำแดงในใบขนสินค้าขาเข้าและแบบแสดงรายการการค้าว่าเป็นสินค้าในพิกัดอัตราอากรขาเข้าประเภทที่35.06อีกทั้งๆที่กรณีมิได้เข้าข้อยกเว้นตามที่จำเลยนำสืบต่อสู้อันเป็นการกระทำเพื่อชักพาให้พนักงานเจ้าหน้าที่กรมศุลกากรผิดหลงในรายการสินค้าและพิกัดอัตราอากรขาเข้าตามที่จำเลยสำแดงไว้เพื่อจะได้ชำระอากรขาเข้าเป็นจำนวนน้อยกว่าพิกัดอัตราอากรขาเข้าที่ถูกต้องถือได้ว่าจำเลยมีเจตนาจะฉ้อค่าภาษีของรัฐบาล.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1113/2529

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การสำแดงเท็จพิกัดศุลกากรเพื่อหลีกเลี่ยงภาษี โดยเจตนาฉ้อค่าภาษีของรัฐ
สินค้าที่จัดอยู่ในพิกัดอัตราอากรขาเข้าประเภทที่35.06นั้นจะต้องเป็นการที่ปรุงแต่งแล้วซึ่งมิได้ระบุหรือรวมไว้ในที่อื่นรวมทั้งผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับใช้อย่างกาวแต่สินค้าที่จำเลยนำเข้ายังไม่เป็นกาวและจำเลยทั้งสามรู้อยู่แล้วว่ากรมศุลกากรเคยเรียกเก็บอากรขาเข้าในพิกัดอัตราอากรขาเข้าประเภทที่39.01ก.มาแล้วจำเลยทั้งสามยังสำแดงในใบขนสินค้าขาเข้าและแบบแสดงรายการการค้าว่าเป็นสินค้าในพิกัดอัตราอากรขาเข้าประเภทที่35.06อีกทั้งๆที่กรณีมิได้เข้าข้อยกเว้นตามที่จำเลยนำสืบต่อสู้อันเป็นการกระทำเพื่อชักพาให้พนักงานเจ้าหน้าที่กรมศุลกากรผิดหลงในรายการสินค้าและพิกัดอัตราอากรขาเข้าตามที่จำเลยสำแดงไว้เพื่อจะได้ชำระอากรขาเข้าเป็นจำนวนน้อยกว่าพิกัดอัตราอากรขาเข้าที่ถูกต้องถือได้ว่าจำเลยมีเจตนาจะฉ้อค่าภาษีของรัฐบาล.(ที่มา-ส่งเสริมฯ)
of 29