พบผลลัพธ์ทั้งหมด 126 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 482/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจเจ้าพนักงานภาษีในการยึดทรัพย์และสิทธิในการเฉลี่ยทรัพย์ตามกฎหมาย
ประมวลรัษฎากรมาตรา 12 เป็นกฎหมายพิเศษให้อำนาจแก่เจ้าพนักงานที่จะเรียกเก็บภาษีอากรค้างโดยสั่งยึดและขายทอดตลาดทรัพย์สินได้เอง ไม่จำต้องนำคดีขึ้นฟ้องร้องต่อศาล ถือได้ว่าเป็นสิทธิอื่นๆซึ่งบุคคลภายนอกอาจร้องขอให้บังคับเหนือทรัพย์สินนั้นได้ตามกฎหมายซึ่งบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งไม่กระทบกระทั่งถึงตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 287. เจ้าพนักงานซึ่งเป็นเจ้าหนี้ค่าภาษีการค้าและภาษีเทศบาลจึงมีสิทธิขอเข้าเฉลี่ยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 290 ได้ แม้จะมิได้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1879/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในการเฉลี่ยของเจ้าหนี้ค่าภาษีอากรค้าง แม้มิใช่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษา โดยอาศัยอำนาจตามประมวลรัษฎากรมาตรา 12
บทบัญญัติมาตรา 12 ประมวลรัษฎากร เป็นกฎหมายพิเศษให้อำนาจแก่เจ้าพนักงานที่จะเรียกเก็บภาษีอากรค้างได้โดยสั่งยึดและสั่งขายทอดตลาดทรัพย์สินได้เองโดยไม่จำต้องคำคดีขึ้นฟ้องร้องต่อศาล จึงถือได้ว่าเป็นสิทธิอื่น ๆ ซึ่งบุคคลภายนอกอาจร้องขอให้บังคับเหนือทรัพย์สินนั้นได้ตามกฎหมาย ซึ่งบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งว่าด้วยการบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำพิพากษาไม่กระทบกระทั่งถึง ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 287 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เมื่อกฎหมายให้อำนาจไว้ถึงขนาดนี้แล้ว แม้ผู้ร้อง (เจ้าพนักงานซึ่งเป็นเจ้าหนี้ค่าภาษีอากรค้าง) จะมิได้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา ก็มีสิทธิที่จะขอเข้าเฉลี่ยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 290 ได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 14/2518)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1879/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการเฉลี่ยหนี้ภาษีอากรค้าง แม้มิใช่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษา โดยอาศัยอำนาจตามประมวลรัษฎากรมาตรา 12
บทบัญญัติมาตรา 12 ประมวลรัษฎากร เป็นกฎหมายพิเศษให้อำนาจแก่เจ้าพนักงานที่จะเรียกเก็บภาษีอากรค้างได้โดยสั่งยึดและสั่งขายทอดตลาดทรัพย์สินได้เอง โดยไม่จำต้องนำคดีขึ้นฟ้องร้องต่อศาล จึงถือได้ว่าเป็นสิทธิอื่นๆ ซึ่งบุคคลภายนอกอาจร้องขอให้บังคับเหนือทรัพย์สินนั้นได้ตามกฎหมาย ซึ่งบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งว่าด้วยการบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำพิพากษาไม่กระทบกระทั่งถึง ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 287 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เมื่อกฎหมายให้อำนาจไว้ถึงขนาดนี้แล้ว แม้ผู้ร้อง (เจ้าพนักงานซึ่งเป็นเจ้าหนี้ค่าภาษีอากรค้าง) จะมิได้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา ก็มีสิทธิที่จะขอเข้าเฉลี่ยตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 290 ได้ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 14/2518)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 751/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเจ้าหนี้ภาษีอากรในการเฉลี่ยหนี้จากเงินที่ถูกอายัด ต้องมีสิทธิเหนือทรัพย์สินนั้นโดยตรง ไม่เทียบเคียงบุริมสิทธิ
สิทธิอื่นๆ ซึ่งบุคคลภายนอกอาจร้องขอให้บังคับเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ได้ตามกฎหมายในมาตรา 287 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งนั้น จะต้องเป็นสิทธิที่บุคคลภายนอกมีอยู่เหนือทรัพย์สินของลูกหนี้นั้นเอง และจะต้องเป็นสิทธิเทียบเคียงได้กับบุริมสิทธิอันเป็นสิทธิประเภทแรกด้วย
ข้อเท็จจริงได้ความว่า ผู้ร้องเป็นเจ้าหนี้ภาษีอากรค้างชำระของจำเลย ผู้ร้องไม่ใช่เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาและไม่ใช่เจ้าหนี้บุริมสิทธิ และผู้ร้องไม่เคยใช้อำนาจตามประมวลรัษฎากร มาตรา 12 สั่งอายัดหรือยึดเงินค่าจ้างรายพิพาทมาก่อน ดังนั้น ที่ผู้ร้องยื่นคำร้องขอเฉลี่ยเงินค่าจ้างรายพิพาทตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา287 โดยอ้างแต่เพียงว่า ในฐานะที่ตนเป็นเจ้าพนักงานมีสิทธิที่จะบังคับเหนือเงินรายนี้ได้ ตามนัยแห่งมาตรา 12 ประมวลรัษฎากรนั้น เห็นได้ว่าอำนาจของผู้ร้องหากจะมีตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายดังกล่าว ผู้ร้องก็ยังหาได้ใช้อำนาจบังคับเอาแก่เงินจำนวนนี้โดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายดังกล่าวไม่ ผู้ร้องจึงมีฐานะไม่ต่างกับเจ้าหนี้ธรรมดา จึงไม่อาจถือได้ว่าสิทธิของผู้ร้องเป็น"สิทธิอื่น" ซึ่งเจ้าหนี้ในฐานะบุคคลภายนอกอาจร้องขอให้บังคับเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ตามกฎหมาย ตามนัยแห่งบทบัญญัติมาตรา 287 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ข้อเท็จจริงได้ความว่า ผู้ร้องเป็นเจ้าหนี้ภาษีอากรค้างชำระของจำเลย ผู้ร้องไม่ใช่เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาและไม่ใช่เจ้าหนี้บุริมสิทธิ และผู้ร้องไม่เคยใช้อำนาจตามประมวลรัษฎากร มาตรา 12 สั่งอายัดหรือยึดเงินค่าจ้างรายพิพาทมาก่อน ดังนั้น ที่ผู้ร้องยื่นคำร้องขอเฉลี่ยเงินค่าจ้างรายพิพาทตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา287 โดยอ้างแต่เพียงว่า ในฐานะที่ตนเป็นเจ้าพนักงานมีสิทธิที่จะบังคับเหนือเงินรายนี้ได้ ตามนัยแห่งมาตรา 12 ประมวลรัษฎากรนั้น เห็นได้ว่าอำนาจของผู้ร้องหากจะมีตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายดังกล่าว ผู้ร้องก็ยังหาได้ใช้อำนาจบังคับเอาแก่เงินจำนวนนี้โดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายดังกล่าวไม่ ผู้ร้องจึงมีฐานะไม่ต่างกับเจ้าหนี้ธรรมดา จึงไม่อาจถือได้ว่าสิทธิของผู้ร้องเป็น"สิทธิอื่น" ซึ่งเจ้าหนี้ในฐานะบุคคลภายนอกอาจร้องขอให้บังคับเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ตามกฎหมาย ตามนัยแห่งบทบัญญัติมาตรา 287 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 751/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเจ้าหนี้ภาษีอากรในการเฉลี่ยหนี้จากเงินค่าจ้างรายพิพาท ต้องเป็นสิทธิอื่นที่เทียบเคียงบุริมสิทธิ
สิทธิอื่นๆ ซึ่งบุคคลภายนอกอาจร้องขอให้บังคับเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ได้ตามกฎหมายในมาตรา 287 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งนั้น จะต้องเป็นสิทธิที่บุคคลภายนอกมีอยู่เหนือทรัพย์สินของลูกหนี้นั้นเอง และจะต้องเป็นสิทธิเทียบเคียงได้กับบุริมสิทธิอันเป็นสิทธิประเภทแรกด้วย
ข้อเท็จจริงได้ความว่า ผู้ร้องเป็นเจ้าหนี้ภาษีอากรค้างชำระของจำเลยผู้ร้องไม่ใช่เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาและไม่ใช่เจ้าหนี้บุริมสิทธิ และผู้ร้องไม่เคยใช้อำนาจตามประมวลรัษฎากร มาตรา 12 สั่งอายัดหรือยึดเงินค่าจ้างรายพิพาทมาก่อน ดังนั้น ที่ผู้ร้องยื่นคำร้องขอเฉลี่ยเงินค่าจ้างรายพิพาทตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 287 โดยอ้างแต่เพียงว่าในฐานะที่ตนเป็นเจ้าพนักงานมีสิทธิที่จะบังคับเหนือเงินรายนี้ได้ตามนัยแห่งมาตรา 12 ประมวลรัษฎากรนั้น เห็นได้ว่าอำนาจของผู้ร้องหากจะมีตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายดังกล่าว ผู้ร้องก็ยังหาได้ใช้อำนาจบังคับเอาแก่เงินจำนวนนี้โดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายดังกล่าวไม่ผู้ร้องจึงมีฐานะไม่ต่างกับเจ้าหนี้ธรรมดา จึงไม่อาจถือได้ว่าสิทธิของผู้ร้องเป็น"สิทธิอื่น" ซึ่งเจ้าหนี้ในฐานะบุคคลภายนอกอาจร้องขอให้บังคับเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ตามกฎหมาย ตามนัยแห่งบทบัญญัติมาตรา 287ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ข้อเท็จจริงได้ความว่า ผู้ร้องเป็นเจ้าหนี้ภาษีอากรค้างชำระของจำเลยผู้ร้องไม่ใช่เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษาและไม่ใช่เจ้าหนี้บุริมสิทธิ และผู้ร้องไม่เคยใช้อำนาจตามประมวลรัษฎากร มาตรา 12 สั่งอายัดหรือยึดเงินค่าจ้างรายพิพาทมาก่อน ดังนั้น ที่ผู้ร้องยื่นคำร้องขอเฉลี่ยเงินค่าจ้างรายพิพาทตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 287 โดยอ้างแต่เพียงว่าในฐานะที่ตนเป็นเจ้าพนักงานมีสิทธิที่จะบังคับเหนือเงินรายนี้ได้ตามนัยแห่งมาตรา 12 ประมวลรัษฎากรนั้น เห็นได้ว่าอำนาจของผู้ร้องหากจะมีตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายดังกล่าว ผู้ร้องก็ยังหาได้ใช้อำนาจบังคับเอาแก่เงินจำนวนนี้โดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายดังกล่าวไม่ผู้ร้องจึงมีฐานะไม่ต่างกับเจ้าหนี้ธรรมดา จึงไม่อาจถือได้ว่าสิทธิของผู้ร้องเป็น"สิทธิอื่น" ซึ่งเจ้าหนี้ในฐานะบุคคลภายนอกอาจร้องขอให้บังคับเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ตามกฎหมาย ตามนัยแห่งบทบัญญัติมาตรา 287ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 257-258/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คำสั่งห้ามชั่วคราวไม่ใช่การบังคับคดี นายอำเภอมีอำนาจยึดทรัพย์เพื่อภาษีอากรได้ แม้มีคำสั่งห้ามชั่วคราว
คำสั่งห้ามชั่วคราวของศาลมิให้ทำนิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับตึกของจำเลยนั้น เป็นวิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาเพื่อคุ้มครองป้องกันผลประโยชน์ของเจ้าหนี้ให้ได้รับผลตามคำพิพากษา โดยบริบูรณ์ที่สุดเท่าที่จะทำได้ มิใช่เป็นส่วนหนึ่งของการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
คำสั่งห้ามชั่วคราวดังกล่าวแล้วมีผลเพียงห้ามจำเลยมิให้ทำนิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับตึกของจำเลย การที่ศาลแจ้งคำสั่งให้นายอำเภอทราบก็เพื่อมิให้รับจดทะเบียนนิติกรรมใด ๆ ที่จำเลยจะลักลอบกระทำโดยไม่สุจริต มิได้หมายความว่า เป็นการห้ามยึดหรืออายัดตามบทบัญญัติว่าด้วยการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งหรือกฎหมายอื่นเสียเลย
ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 12 นายอำเภอมีอำนาจยึดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียภาษีอากรเพื่อชำระค่าภาษีอากรค้างได้โดยไม่จำเป็นต้องฟ้องร้องแม้ศาลจะมีคำสั่งห้ามชั่วคราวมิให้ทำนิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับตึกของจำเลย และแจ้งคำสั่งให้นายอำเภอทราบแล้ว แต่เมื่อจำเลยค้างชำระค่าภาษีอากร นายอำเภอก็มีอำนาจยึดตึกของจำเลยมาขายทอดตลาดชำระค่าภาษีอากรค้างนั้นได้ โดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้ร้องเป็นผู้ซื้อตึกของจำเลยได้จากการขายทอดตลาดของนายอำเภอ และได้ชำระราคาครบถ้วนแล้ว การขายทอดตลาดบริบูรณ์ชอบด้วยกฎหมายแล้ว นายอำเภอจะสั่งเพิกถอนการขายทอดตลาดมิได้ แม้อำเภอจะยังมิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ตึกให้แก่ผู้ร้อง ผู้ร้องก็อยู่ในฐานะจดทะเบียนสิทธิได้ก่อนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1300 เมื่อการขายทอดตลาดตึกได้กระทำก่อนโจทก์บังคับคดี โจทก์บังคับคดีเอาแก่ตึกดังกล่าวให้เป็นการกระทบถึงสิทธิของผู้ร้อง ซึ่งอาจบังคับเหนือตึกนั้น หาได้ไม่
ผู้ร้องคนเดียวยื่นคำร้องขัดทรัพย์แยกกันเป็น 2 คดี คดีแรกร้องขัดทรัพย์เฉพาะตึก ส่วนคดีหลังร้องขัดทรัพย์เฉพาะเตียงโต๊ะเก้าอี้ และเครื่องที่นอน แม้ศาลจะร่วมพิจารณาพิพากษาและผู้ร้องฎีการวมกันมา ก็ต้องถือทุนทรัพย์แต่ละคดีเป็นเกณฑ์พิจารณาในการใช้สิทธิฎีกา เมื่อคดีหลังเป็นคดีมีทุนทรัพย์ไม่เกินห้าพันบาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืน ย่อมต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง แม้ศาลชั้นต้นจะสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่วินิจฉัยให้
คำสั่งห้ามชั่วคราวดังกล่าวแล้วมีผลเพียงห้ามจำเลยมิให้ทำนิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับตึกของจำเลย การที่ศาลแจ้งคำสั่งให้นายอำเภอทราบก็เพื่อมิให้รับจดทะเบียนนิติกรรมใด ๆ ที่จำเลยจะลักลอบกระทำโดยไม่สุจริต มิได้หมายความว่า เป็นการห้ามยึดหรืออายัดตามบทบัญญัติว่าด้วยการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งหรือกฎหมายอื่นเสียเลย
ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 12 นายอำเภอมีอำนาจยึดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียภาษีอากรเพื่อชำระค่าภาษีอากรค้างได้โดยไม่จำเป็นต้องฟ้องร้องแม้ศาลจะมีคำสั่งห้ามชั่วคราวมิให้ทำนิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับตึกของจำเลย และแจ้งคำสั่งให้นายอำเภอทราบแล้ว แต่เมื่อจำเลยค้างชำระค่าภาษีอากร นายอำเภอก็มีอำนาจยึดตึกของจำเลยมาขายทอดตลาดชำระค่าภาษีอากรค้างนั้นได้ โดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้ร้องเป็นผู้ซื้อตึกของจำเลยได้จากการขายทอดตลาดของนายอำเภอ และได้ชำระราคาครบถ้วนแล้ว การขายทอดตลาดบริบูรณ์ชอบด้วยกฎหมายแล้ว นายอำเภอจะสั่งเพิกถอนการขายทอดตลาดมิได้ แม้อำเภอจะยังมิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ตึกให้แก่ผู้ร้อง ผู้ร้องก็อยู่ในฐานะจดทะเบียนสิทธิได้ก่อนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1300 เมื่อการขายทอดตลาดตึกได้กระทำก่อนโจทก์บังคับคดี โจทก์บังคับคดีเอาแก่ตึกดังกล่าวให้เป็นการกระทบถึงสิทธิของผู้ร้อง ซึ่งอาจบังคับเหนือตึกนั้น หาได้ไม่
ผู้ร้องคนเดียวยื่นคำร้องขัดทรัพย์แยกกันเป็น 2 คดี คดีแรกร้องขัดทรัพย์เฉพาะตึก ส่วนคดีหลังร้องขัดทรัพย์เฉพาะเตียงโต๊ะเก้าอี้ และเครื่องที่นอน แม้ศาลจะร่วมพิจารณาพิพากษาและผู้ร้องฎีการวมกันมา ก็ต้องถือทุนทรัพย์แต่ละคดีเป็นเกณฑ์พิจารณาในการใช้สิทธิฎีกา เมื่อคดีหลังเป็นคดีมีทุนทรัพย์ไม่เกินห้าพันบาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืน ย่อมต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง แม้ศาลชั้นต้นจะสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่วินิจฉัยให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 257-258/2513
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การขายทอดตลาดโดยนายอำเภอเพื่อชำระภาษีอากรชอบด้วยกฎหมาย แม้มีคำสั่งห้ามชั่วคราวคุ้มครองสิทธิเจ้าหนี้ก่อน
คำสั่งห้ามชั่วคราวของศาลมิให้ทำนิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับตึกของจำเลยนั้นเป็นวิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาเพื่อคุ้มครองป้องกันผลประโยชน์ของเจ้าหนี้ให้ได้รับผลตามคำพิพากษาโดยบริบูรณ์ที่สุดเท่าที่จะทำได้ มิใช่เป็นส่วนหนึ่งของการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
คำสั่งห้ามชั่วคราวดังกล่าวแล้วมีผลเพียงห้ามจำเลยมิให้ทำนิติกรรมใด ๆเกี่ยวกับตึกของจำเลย การที่ศาลแจ้งคำสั่งให้นายอำเภอทราบก็เพื่อมิให้รับจดทะเบียนนิติกรรมใด ๆ ที่จำเลยจะลักลอบกระทำโดยไม่สุจริต มิได้หมายความว่า เป็นการห้ามยึดหรืออายัดตามบทบัญญัติว่าด้วยการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งหรือกฎหมายอื่นเสียเลย
ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 12 นายอำเภอมีอำนาจยึดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียภาษีอากรเพื่อชำระค่าภาษีอากรค้างได้โดยไม่จำเป็นต้องฟ้องร้อง แม้ศาลจะมีคำสั่งห้ามชั่วคราวมิให้ทำนิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับตึกของจำเลย และแจ้งคำสั่งให้นายอำเภอทราบแล้ว แต่เมื่อจำเลยค้างชำระค่าภาษีอากร นายอำเภอก็มีอำนาจยึดตึกของจำเลยมาขายทอดตลาดชำระค่าภาษีอากรค้างนั้นได้โดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้ร้องเป็นผู้ซื้อตึกของจำเลยได้จากการขายทอดตลาดของนายอำเภอและได้ชำระราคาครบถ้วนแล้ว การขายทอดตลาดบริบูรณ์ชอบด้วยกฎหมายแล้วนายอำเภอจะสั่งเพิกถอนการขายทอดตลาดมิได้ แม้อำเภอจะยังมิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ตึกให้แก่ผู้ร้อง ผู้ร้องก็อยู่ในฐานะจดทะเบียนสิทธิได้ก่อนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1300 เมื่อการขายทอดตลาดตึกได้กระทำก่อนโจทก์จะบังคับคดี โจทก์จะบังคับคดีเอาแก่ตึกดังกล่าวให้เป็นการกระทบถึงสิทธิของผู้ร้องซึ่งอาจบังคับเหนือตึกนั้นหาได้ไม่
ผู้ร้องคนเดียวยื่นคำร้องขัดทรัพย์แยกกันเป็น 2 คดี คดีแรกร้องขัดทรัพย์เฉพาะตึก ส่วนคดีหลังร้องขัดทรัพย์เฉพาะเตียงโต๊ะเก้าอี้และเครื่องที่นอนแม้ศาลจะร่วมพิจารณาพิพากษาและผู้ร้องฎีการวมกันมา ก็ต้องถือทุนทรัพย์แต่ละคดีเป็นเกณฑ์พิจารณาในการใช้สิทธิฎีกา เมื่อคดีหลังเป็นคดีมีทุนทรัพย์ไม่เกินห้าพันบาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืน ย่อมต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง แม้ศาลชั้นต้นจะสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่วินิจฉัยให้
คำสั่งห้ามชั่วคราวดังกล่าวแล้วมีผลเพียงห้ามจำเลยมิให้ทำนิติกรรมใด ๆเกี่ยวกับตึกของจำเลย การที่ศาลแจ้งคำสั่งให้นายอำเภอทราบก็เพื่อมิให้รับจดทะเบียนนิติกรรมใด ๆ ที่จำเลยจะลักลอบกระทำโดยไม่สุจริต มิได้หมายความว่า เป็นการห้ามยึดหรืออายัดตามบทบัญญัติว่าด้วยการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งหรือกฎหมายอื่นเสียเลย
ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 12 นายอำเภอมีอำนาจยึดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียภาษีอากรเพื่อชำระค่าภาษีอากรค้างได้โดยไม่จำเป็นต้องฟ้องร้อง แม้ศาลจะมีคำสั่งห้ามชั่วคราวมิให้ทำนิติกรรมใด ๆ เกี่ยวกับตึกของจำเลย และแจ้งคำสั่งให้นายอำเภอทราบแล้ว แต่เมื่อจำเลยค้างชำระค่าภาษีอากร นายอำเภอก็มีอำนาจยึดตึกของจำเลยมาขายทอดตลาดชำระค่าภาษีอากรค้างนั้นได้โดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้ร้องเป็นผู้ซื้อตึกของจำเลยได้จากการขายทอดตลาดของนายอำเภอและได้ชำระราคาครบถ้วนแล้ว การขายทอดตลาดบริบูรณ์ชอบด้วยกฎหมายแล้วนายอำเภอจะสั่งเพิกถอนการขายทอดตลาดมิได้ แม้อำเภอจะยังมิได้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ตึกให้แก่ผู้ร้อง ผู้ร้องก็อยู่ในฐานะจดทะเบียนสิทธิได้ก่อนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1300 เมื่อการขายทอดตลาดตึกได้กระทำก่อนโจทก์จะบังคับคดี โจทก์จะบังคับคดีเอาแก่ตึกดังกล่าวให้เป็นการกระทบถึงสิทธิของผู้ร้องซึ่งอาจบังคับเหนือตึกนั้นหาได้ไม่
ผู้ร้องคนเดียวยื่นคำร้องขัดทรัพย์แยกกันเป็น 2 คดี คดีแรกร้องขัดทรัพย์เฉพาะตึก ส่วนคดีหลังร้องขัดทรัพย์เฉพาะเตียงโต๊ะเก้าอี้และเครื่องที่นอนแม้ศาลจะร่วมพิจารณาพิพากษาและผู้ร้องฎีการวมกันมา ก็ต้องถือทุนทรัพย์แต่ละคดีเป็นเกณฑ์พิจารณาในการใช้สิทธิฎีกา เมื่อคดีหลังเป็นคดีมีทุนทรัพย์ไม่เกินห้าพันบาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืน ย่อมต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง แม้ศาลชั้นต้นจะสั่งรับฎีกามา ศาลฎีกาก็ไม่วินิจฉัยให้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1796/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการเฉลี่ยของเจ้าพนักงานภาษีอากรที่ยึดทรัพย์ก่อนการบังคับคดีตามคำพิพากษา
ประมวลรัษฎากร มาตรา 12 ให้อำนาจข้าหลวงประจำจังหวัดหรือนายอำเภอโดยเฉพาะที่จะสั่งยึดและสั่งขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียภาษีอากรโดยมิต้องขอให้ศาลออกหมายยึดหรือสั่ง จึงเห็นได้ว่าสำหรับค่าภาษีอากรค้างกฎหมายให้อำนาจแก่เจ้าพนักงานที่จะเรียกเก็บเองตลอดถึงการยึดทรัพย์ได้ด้วย โดยไม่จำต้องนำคดีฟ้องศาลก่อน เมื่อผู้ร้องซึ่งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะเจ้าพนักงานมีสิทธิที่จะบังคับเหนือทรัพย์สินได้ตามกฎหมาย ทั้งก็เป็นผู้ใช้อำนาจนี้ก่อน แต่ยังไม่ทันได้ขายทอดตลาด เจ้าพนักงานบังคับคดีก็ไปยึดทรัพย์รายเดียวกันนี้ตามคำสั่งศาลอีก ดังนี้ ผู้ร้องซึ่งมิได้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษามีสิทธิขอเฉลี่ยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 287 เพราะผู้ร้องเป็นบุคคลภายนอกมีสิทธิอาจร้องขอให้บังคับเหนือทรัพย์สินนั้นได้ตามกฎหมาย (ประชุมใหญ่ ครั้ง ที่ 30/2512)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1796/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิการเฉลี่ยทรัพย์สินของเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจยึดทรัพย์ภาษีอากรค้าง ก่อนการยึดทรัพย์โดยเจ้าพนักงานบังคับคดี
ประมวลรัษฎากร มาตรา 12 ให้อำนาจข้าหลวงประจำจังหวัดหรือนายอำเภอโดยเฉพาะที่จะสั่งยึดและสั่งขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียภาษีอากรโดยมิต้องขอให้ศาลออกหมายยึดหรือสั่ง. จึงเห็นได้ว่าสำหรับค่าภาษีอากรค้างกฎหมายให้อำนาจแก่เจ้าพนักงานที่จะเรียกเก็บเองตลอดถึงการยึดทรัพย์ได้ด้วย. โดยไม่จำต้องนำคดีฟ้องศาลก่อน.เมื่อผู้ร้องซึ่งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะเจ้าพนักงานมีสิทธิที่จะบังคับเหนือทรัพย์สินได้ตามกฎหมาย ทั้งก็เป็นผู้ใช้อำนาจนี้ก่อน. แต่ยังไม่ทันได้ขายทอดตลาด.เจ้าพนักงานบังคับคดีก็ไปยึดทรัพย์รายเดียวกันนี้ตามคำสั่งศาลอีก. ดังนี้ ผู้ร้องซึ่งมิได้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษามีสิทธิขอเฉลี่ยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา287. เพราะผู้ร้องเป็นบุคคลภายนอกมีสิทธิอาจร้องขอให้บังคับเหนือทรัพย์สินนั้นได้ตามกฎหมาย.(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 30/2512).
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1776/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจเจ้าพนักงานในการยึดทรัพย์ภาษีค้างชำระ vs. สิทธิเรียกร้องของเจ้าหนี้รายอื่น และการแบ่งมรดก
ประมวลรัษฎากร มาตรา 12 ให้อำนาจข้าหลวงประจำจังหวัดหรือนายอำเภอโดยเฉพาะที่จะสั่งยึดและสั่งขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียภาษีอากรโดยมิต้องขอให้ศาลออกหมายยึดหรือสั่ง จึงเห็นได้ว่าสำหรับค่าภาษีอากรค้าง กฎหมายให้อำนาจแก่เจ้าพนักงานที่จะเรียกเก็บเองตลอดถึงการยึดทรัพย์ได้ด้วย โดยไม่จำต้องนำคดีฟ้องศาลก่อน เมื่อผู้ร้องซึงเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะเจ้าพนักงานมีสิทธิที่จะบังคับเหนือทรัพย์สินได้ตามกฎหมาย ทั้งก็เป็นผู้ใช้อำนาจนี้ก่อน แต่ยังไม่ทันได้ขายทอดตลาด เจ้าพนักงานบังคับคดีก็ไปยึดทรัพย์รายเดียวกันนี้ตามคำสั่งศาลอีก ดังนี้ ผู้ร้องซึ่งมิได้เป็นเจ้าหนี้ตามคำพิพากษามีสิทธิขอเฉลี่ยได้ตามประมวลกฎหมายวิธีความแพ่ง มาตรา 278 เพราะผู้ร้องเป็นบุคคลภายนอกมีสิทธิอาจร้องขอให้บังคับเหนือทรัพย์สินนั้นได้ตามกฎหมาย
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 30/2512)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 30/2512)