พบผลลัพธ์ทั้งหมด 122 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1172/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค่าจ้าง: การพิจารณาช่วงเวลาการจ่ายเงินเพื่อกำหนดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
เงินเดือนมีลักษณะเป็นเงินค่าจ้าง ทำงานนั่นเอง แต่มีลักษณะจ่ายเป็นรายเดือนจึงเรียกว่าเงินเดือน
กำหนดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (8) กับมาตรา 166 มีความสำคัญอยู่ที่ว่า เงินค่าจ้างนั้น มีกำหนดจ่ายเป็นกำหนดระยะเวลาหรือไม่ หากจ่ายเป็นกำหนดระยะเวลา ก็เข้ามาตรา 166 หากไม่มีกำหนดระยะเวลาก็เข้ามาตรา 165 (8)
กำหนดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (8) กับมาตรา 166 มีความสำคัญอยู่ที่ว่า เงินค่าจ้างนั้น มีกำหนดจ่ายเป็นกำหนดระยะเวลาหรือไม่ หากจ่ายเป็นกำหนดระยะเวลา ก็เข้ามาตรา 166 หากไม่มีกำหนดระยะเวลาก็เข้ามาตรา 165 (8)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1172/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค่าจ้าง: การพิจารณาตามลักษณะการจ่ายเงินเป็นรายเดือนหรือรายปี
เงินเดือนมีลักษณะเป็นเงินค่าจ้างทำงานนั่นเอง แต่มีลักษณะจ่ายเป็นรายเดือนจึงเรียกว่าเงินเดือน
กำหนดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(8) กับมาตรา 166 มีความสำคัญอยู่ที่ว่า เงินค่าจ้างนั้น มีกำหนดจ่ายเป็นกำหนดระยะเวลาหรือไม่ หากจ่ายเป็นกำหนดระยะเวลา ก็เข้ามาตรา 166 หากไม่มีกำหนดระยะเวลาก็เข้ามาตรา 165(8)
กำหนดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(8) กับมาตรา 166 มีความสำคัญอยู่ที่ว่า เงินค่าจ้างนั้น มีกำหนดจ่ายเป็นกำหนดระยะเวลาหรือไม่ หากจ่ายเป็นกำหนดระยะเวลา ก็เข้ามาตรา 166 หากไม่มีกำหนดระยะเวลาก็เข้ามาตรา 165(8)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 841/2503 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การระงับหนี้ด้วยการชำระเงิน vs. การยอมรับทรัพย์สินอื่นแทนเงินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา ๖๕๓
โจทก์ฟ้องเรียกเงินกู้ตามหนังสือสัญญากู้จำเลยให้การต่อสู้คดีว่า จำเลยได้ทำสัญญากู้ เงินโจทก์แต่ จำเลยได้ทำสัญญากู้เงินโจทก์จริง แต่ได้ชำระเงินกู้พร้อมด้วยดอกเบี้ยให้โจทก์ครบถ้วนแล้ว โดยโจทก์จำเลยตกลงกันว่า โจทก์จะเป็นผู้รับเงินค่าจ้างทำทางจากกรมทางฯ แทนบริษัทพาณิชย์ฯ ซึ่งจำเลยรับจ้างจากบริษัทพาณิชย์ ฯ ขุดดินถมคันทางที่บริษัทพาณิชย์ฯ รับจ้างสร้างทางจากกรมทางฯ และโจทก์ก็ได้รับเงินจากกรมทางฯ ไปแล้วโดยโจทก์ได้หักเงินจำนวนนั้น ชำระหนี้เงินที่จำเลยกู้ พร้อมด้วยดอกเบี้ยครบถ้วนแล้ว หนี้สินระหว่างโจทก์จำเลยจึงไม่มีเหลืออยู่ ที่จำเลยให้การต่อสู้ดังนี้ ย่อมหมายความว่า หนี้เงินกู้รายนี้ได้ระงับโดยมีใช้เงินกันแล้ว หาใช่ระงับไปเพราะมีการยอมรับเอาสิ่งของหรือทรัพย์สินอย่างอื่นแทนเงินไม่ เมื่อการใช้หนี้เงินกู้รายนี้ จำเลยไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ให้กู้มาแสดงทั้งจำเลยยอมรับว่าสัญญากู้เวลานี้ยังอยู่ที่โจทก์โดยมิได้มีการสลักหลังกันแต่ประการใด จำเลยย่อมไม่มีสิทธิที่จะนำสืบการใช้เงินกู้นี้ได้ เพราะต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 653 วรรค 2.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 841/2503
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การระงับหนี้ด้วยการชำระเงินและการนำสืบพยานหลักฐานการชำระหนี้ภายใต้ข้อจำกัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
โจทก์ฟ้องเรียกเงินกู้ตามหนังสือสัญญากู้ จำเลยให้การต่อสู้คดีว่า จำเลยได้ทำสัญญากู้เงินโจทก์จริง แต่ได้ชำระเงินกู้พร้อมด้วยดอกเบี้ยให้โจทก์ครบถ้วนแล้ว โดยโจทก์จำเลยตกลงกันว่า โจทก์จะเป็นผู้รับเงินค่าจ้างทำทางจากกรมทางฯ แทนบริษัทพาณิชย์ฯ ซึ่งจำเลยรับจ้างจากบริษัทพาณิชย์ฯขุดดินถมคันทางที่บริษัทพาณิชย์ฯ รับจ้างสร้างทางจากกรมทางฯ และโจทก์ได้รับเงินจากกรมทางฯ ไปแล้วโดยโจทก์ได้หักเงินจำนวนนั้นชำระหนี้เงินที่จำเลยกู้พร้อมด้วยดอกเบี้ยครบถ้วนแล้ว หนี้สินระหว่างโจทก์จำเลยจึงไม่มีเหลืออยู่ ที่จำเลยให้การต่อสู้ดังนี้ ย่อมหมายความว่า หนี้เงินกู้รายนี้ได้ระงับไปแล้ว ซึ่งเท่ากับจำเลยได้ต่อสู้คดีว่าหนี้ระงับโดยมีการใช้เงินกันแล้ว หาใช่ระงับไปเพราะมีการยอมรับเอาสิ่งของหรือทรัพย์สินอย่างอื่นแทนเงินไม่ เมื่อการใช้หนี้เงินกู้รายนี้ จำเลยไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ให้กู้มาแสดงทั้งจำเลยยอมรับว่าสัญญากู้เวลานี้ยังอยู่ที่โจทก์โดยมิได้มีการสลักหลังกันแต่ประการใด จำเลยย่อมไม่มีสิทธิที่จะนำสืบการใช้เงินกู้นี้ได้เพราะต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 653 วรรคสอง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 562/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความสินจ้าง: บำเหน็จจากการขายและผลกำไรเป็นสินจ้างชนิดอื่น ฟ้องร้องภายใน 2 ปี
เงินบำเหน็จในการขายสินค้าก็ดี เงินบำเหน็จในผลกำไรของร้านค้าก็ดี ซึ่งนายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นรายปีนั้น คือ "สินจ้างชนิดอื่นเพื่อการงานที่ทำ" ตาม ป.พ.พ. มาตรา 165(8), สิทธิเรียกร้องเหล่านี้จะต้องฟ้องร้องเสียภายในกำหนดอายุความ 2 ปี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 562/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความการเรียกร้องค่าบำเหน็จพนักงาน: สินจ้างชนิดอื่นตาม ป.พ.พ. มาตรา 165(8) มีอายุความ 2 ปี
เงินบำเหน็จในการขายสินค้าก็ดี เงินบำเหน็จในผลกำไรของร้านค้าก็ดี ซึ่งนายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นรายปีนั้น คือ "สินจ้างชนิดอื่นเพื่อการงานที่ทำ" ตามป.พ.พ. มาตรา 165(8), สิทธิเรียกร้องเหล่านี้จะต้องฟ้องร้องเสียภายในกำหนดอายุความ 2 ปี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1393/2495 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องค่าอุปการะเลี้ยงดูของมารดา และข้อยกเว้นการรับผิดของบิดาเมื่อบุตรมีทรัพย์สิน
มารดาของผู้เยาว์ ซึ่งเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองผู้เยาว์ ย่อมมีอำนาจฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูผู้เยาว์จากบิดาของผู้เยาว์ได้ ไม่เป็นอุทลุมเพราะฟ้องในฐานะส่วนตัวของตยเอง ไม่มช่ฟ้องในนามของเด็กหรือในฐานะเป็นผู้แทนเด็ก
ภริยาฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรจากสามี ซึ่งหย่ากันแล้วนั้น สามีจะอ้างอายุความตามมาตรา 165(12)มาตัดฟ้องไม่ได้ เพราะเป็นกรณีที่บุตรอยู่กับมารดาในฐานะเป็นมารดาและเป็นใช้อำนาจปกครอง กรณีไม่ต้องตามมาตรา 165(12) และมาตรา 166
ตามมาตรา 1594 ป.ม.แพ่งฯ ระบุว่าบุคคลผู้มีสิทธิเรียกร้องค่าอุปการะเลี้ยงดู ต้องเป็นผู้ไร้ทรัพย์สิน และมิสามารถเลี้ยงตนเองได้ และแม้ในเรื่องบิดามารดามีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาบุตร ดังที่ระบุไว้ในมาตรา 1536 ในการรับผิดออกค่าอุปการะเลี้ยงดูและการศึกษา ก็ต้องอยู่ภายใต้บทบัญญัติว่าด้วยค่าอุปการะเลี้ยงดูตามมาตรา 1594 ด้วย ฉะนั้นถ้าบุตรมีทรัพย์สินซึ่งมีราคามาก อาจหารายได้เป็นาจำนวนท่วมล้นค่าเลี้ยงดูและค่าศึกษาแล้ว บิดาก็ไม่ต้องรับผิดในค่าอุปการะเลี้ยงดูและการศึกษาของบุตรนั้น
ภริยาฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรจากสามี ซึ่งหย่ากันแล้วนั้น สามีจะอ้างอายุความตามมาตรา 165(12)มาตัดฟ้องไม่ได้ เพราะเป็นกรณีที่บุตรอยู่กับมารดาในฐานะเป็นมารดาและเป็นใช้อำนาจปกครอง กรณีไม่ต้องตามมาตรา 165(12) และมาตรา 166
ตามมาตรา 1594 ป.ม.แพ่งฯ ระบุว่าบุคคลผู้มีสิทธิเรียกร้องค่าอุปการะเลี้ยงดู ต้องเป็นผู้ไร้ทรัพย์สิน และมิสามารถเลี้ยงตนเองได้ และแม้ในเรื่องบิดามารดามีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาบุตร ดังที่ระบุไว้ในมาตรา 1536 ในการรับผิดออกค่าอุปการะเลี้ยงดูและการศึกษา ก็ต้องอยู่ภายใต้บทบัญญัติว่าด้วยค่าอุปการะเลี้ยงดูตามมาตรา 1594 ด้วย ฉะนั้นถ้าบุตรมีทรัพย์สินซึ่งมีราคามาก อาจหารายได้เป็นาจำนวนท่วมล้นค่าเลี้ยงดูและค่าศึกษาแล้ว บิดาก็ไม่ต้องรับผิดในค่าอุปการะเลี้ยงดูและการศึกษาของบุตรนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1393/2495
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องค่าอุปการะเลี้ยงดู และข้อยกเว้นการใช้บังคับอายุความ รวมถึงเกณฑ์การรับผิดของบิดา
มารดาของผู้เยาว์ ซึ่งเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองผู้เยาว์ ย่อมมีอำนาจฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูผู้เยาว์จากบิดาของผู้เยาว์ได้ ไม่เป็นอุทลุมเพราะฟ้องในฐานะส่วนตัวของตนเอง ไม่ใช่ฟ้องในนามของเด็กหรือในฐานะเป็นผู้แทนเด็ก
ภริยาฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรจากสามีซึ่งหย่ากันแล้วนั้น สามีจะอ้างอายุความตามมาตรา 165(12)มาตัดฟ้องไม่ได้ เพราะเป็นกรณีที่บุตรอยู่กับมารดาในฐานะเป็นมารดาและเป็นผู้ใช้อำนาจปกครอง กรณีไม่ต้องตามมาตรา 165(12) และมาตรา 166
ตามมาตรา 1594 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ระบุว่าบุคคลผู้มีสิทธิเรียกร้องค่าอุปการะเลี้ยงดู ต้องเป็นผู้ไร้ทรัพย์สินและมิสามารถเลี้ยงตนเองได้ และแม้ในเรื่องบิดามารดามีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาแก่บุตรดังที่ระบุไว้ในมาตรา 1536 ในการรับผิดออกค่าอุปการะเลี้ยงดูและการศึกษา ก็ต้องอยู่ภายใต้บทบัญญัติว่าด้วยค่าอุปการะเลี้ยงดูตามมาตรา 1594 ด้วย ฉะนั้นถ้าบุตรมีทรัพย์สินซึ่งมีราคามาก อาจหารายได้เป็นจำนวนท่วมล้นค่าเลี้ยงดูและค่าศึกษาแล้ว บิดาก็ไม่ต้องรับผิดในค่าอุปการะเลี้ยงดูและการศึกษาของบุตรนั้น
ภริยาฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรจากสามีซึ่งหย่ากันแล้วนั้น สามีจะอ้างอายุความตามมาตรา 165(12)มาตัดฟ้องไม่ได้ เพราะเป็นกรณีที่บุตรอยู่กับมารดาในฐานะเป็นมารดาและเป็นผู้ใช้อำนาจปกครอง กรณีไม่ต้องตามมาตรา 165(12) และมาตรา 166
ตามมาตรา 1594 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ระบุว่าบุคคลผู้มีสิทธิเรียกร้องค่าอุปการะเลี้ยงดู ต้องเป็นผู้ไร้ทรัพย์สินและมิสามารถเลี้ยงตนเองได้ และแม้ในเรื่องบิดามารดามีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาแก่บุตรดังที่ระบุไว้ในมาตรา 1536 ในการรับผิดออกค่าอุปการะเลี้ยงดูและการศึกษา ก็ต้องอยู่ภายใต้บทบัญญัติว่าด้วยค่าอุปการะเลี้ยงดูตามมาตรา 1594 ด้วย ฉะนั้นถ้าบุตรมีทรัพย์สินซึ่งมีราคามาก อาจหารายได้เป็นจำนวนท่วมล้นค่าเลี้ยงดูและค่าศึกษาแล้ว บิดาก็ไม่ต้องรับผิดในค่าอุปการะเลี้ยงดูและการศึกษาของบุตรนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 581/2494 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การผ่อนชำระหนี้และการยอมรับข้อตกลงใหม่ของผู้ให้กู้ ทำให้เกิดผลผูกพันตามสัญญา แม้จะไม่ได้ทำเป็นหนังสือ
ผู้ให้กู้มอบหมายให้ทนายความไปทวงถามผู้กู้ ให้ชำระเงินกู้ ผู้กู้ยังไม่มีเงินชำระทันที ทนายความจึงตกลงผ่อนผันโดยคำบันทึกไว้ในท้ายสัญญากู้ให้ผู้กู้ผ่อนชำระเป็นงวด ๆ แล้วทนายความและผู้กู้ลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐานด้วยกัน ดังนี้เมื่อผู้ให้กู้ยอมรับเอาข้อตกลงตามบันทึกนั้นแล้วโดยแสดงออกโดยตรงหรือปริยายก็ตาม ข้อความในบันทึกนั้นก็ย่อมผูกพันผู้ให้กู้
ทำสัญญากู้กันแล้วตกลงกันให้ผ่อนส่งคืนเป็นงวด ๆ นั้นเป็นเรื่องอยู่ภายในบังคับแห่ง ป.ม.แพ่งฯ มาตรา 166 อายุความ 5 ปี
ทำสัญญากู้กันแล้วตกลงกันให้ผ่อนส่งคืนเป็นงวด ๆ นั้นเป็นเรื่องอยู่ภายในบังคับแห่ง ป.ม.แพ่งฯ มาตรา 166 อายุความ 5 ปี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 581/2494
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อตกลงผ่อนผันหนี้ผูกพันผู้ให้กู้เมื่อยอมรับ หากทำเป็นหลักฐาน
ผู้ให้กู้มอบหมายให้ทนายความไปทวงถามผู้กู้ ให้ชำระเงินกู้ ผู้กู้ยังไม่มีเงินชำระทันทีทนายความจึงตกลงผ่อนผันโดยทำบันทึกไว้ในท้ายสัญญากู้ให้ผู้กู้ผ่อนชำระเป็นงวดๆ แล้วทนายความและผู้กู้ลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐานด้วยกัน ดังนี้เมื่อผู้ให้กู้ยอมรับเอาข้อตกลงตามบันทึกนั้นแล้วโดยแสดงออกโดยตรงหรือปริยายก็ตาม ข้อความในบันทึกนั้นก็ย่อมผูกพันผู้ให้กู้
ทำสัญญากู้กันแล้วตกลงกันให้ผ่อนส่งคืนเป็นงวดๆ นั้น เป็นเรื่องอยู่ภายในบังคับแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 166 มีอายุความ 5 ปี
ทำสัญญากู้กันแล้วตกลงกันให้ผ่อนส่งคืนเป็นงวดๆ นั้น เป็นเรื่องอยู่ภายในบังคับแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 166 มีอายุความ 5 ปี