พบผลลัพธ์ทั้งหมด 78 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 73/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อเสนอขายไม้ที่มีเงื่อนไขกำหนดเวลาชำระเงิน เมื่อพ้นกำหนด สัญญาซื้อขายสิ้นสุด
โจทก์เสนอขอซื้อไม้จากจำเลยจำเลยสนองตอบว่าจะขายให้ แต่ให้ติดต่อชำระเงินและรับมอบไม้ภายในกำหนด 30 วัน นับแต่วันได้รับหนังสือ มิฉะนั้น ถือว่าโจทก์ไม่ประสงค์จะซื้อไม้รายนี้ดังนี้ ถ้าโจทก์ได้ชำระเงินค่าไม้บางส่วน เมื่อพ้นกำหนดเวลาดังกล่าวข้อผูกพันตามคำสนองของจำเลยที่บอกขายไม้ให้โจทก์ย่อมสิ้นสุดไปแล้วจำเลยไม่มีหน้าที่ต้องขายไม้นั้นให้โจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 713/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายที่ดินที่ถูกเวนคืน: สิทธิของผู้ซื้อเมื่อผู้ขายได้กรรมสิทธิ์คืน
(1)ในคดีเรื่องเดิม เมื่อศาลฎีกาฟังว่าคู่ความตกลงซื้อขายที่ดินเต็มทั้งโฉนด ต่อมาฝ่ายใดจะฟ้องร้องหรือต่อสู้กันเป็นคดีใหม่ว่าซื้อขายเฉพาะบางส่วน เช่นนี้ ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจาณาความแพ่งมาตรา 148 ทั้งนี้ ถ้าหากเป็นคดีที่ไม่เกี่ยวกับที่ดินซึ่งถูกเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกา
(2) ในสัญญาซื้อขายนั้นอาจระบุถึงที่ดินในเขตเวนคืนได้ แต่ไม่ทำให้ผู้ซื้อมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่ถูกเวนคืน
(3) ในคดีเดิม ศาลฎีกาได้พิพากษาให้รัฐบาลคืนที่ดินที่เวนคืนแต่เหลือใช้แก่จำเลย ต่อมาโจทก์ฟ้องเป็นคดีใหม่ว่าจำเลยได้ทำสัญญาขายที่ดินในเขตเวนคืนดังกล่าว จึงมีประเด็นว่า โจทก์จะเรียกร้องให้ส่งมอบได้หรือไม่ ซึ่งเป็นคนละประเด็นกับคดีเรื่องก่อนๆ จึงไม่ต้องห้ามตามประมวบกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 148
(4) ในเวลาทำสัญญาซื้อขายที่ดิน แม้ผู้ขายจะไม่มีกรรมสิทธิ์ เพราะที่นี้ถูกเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกา แต่ต่อมาผู้ขายได้กรรมสิทธิ์มา เพราะรัฐบาลคืนให้ ผู้ซื้อย่อมเรียกร้องเอาจากผู้ขายได้.
(2) ในสัญญาซื้อขายนั้นอาจระบุถึงที่ดินในเขตเวนคืนได้ แต่ไม่ทำให้ผู้ซื้อมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่ถูกเวนคืน
(3) ในคดีเดิม ศาลฎีกาได้พิพากษาให้รัฐบาลคืนที่ดินที่เวนคืนแต่เหลือใช้แก่จำเลย ต่อมาโจทก์ฟ้องเป็นคดีใหม่ว่าจำเลยได้ทำสัญญาขายที่ดินในเขตเวนคืนดังกล่าว จึงมีประเด็นว่า โจทก์จะเรียกร้องให้ส่งมอบได้หรือไม่ ซึ่งเป็นคนละประเด็นกับคดีเรื่องก่อนๆ จึงไม่ต้องห้ามตามประมวบกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 148
(4) ในเวลาทำสัญญาซื้อขายที่ดิน แม้ผู้ขายจะไม่มีกรรมสิทธิ์ เพราะที่นี้ถูกเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกา แต่ต่อมาผู้ขายได้กรรมสิทธิ์มา เพราะรัฐบาลคืนให้ ผู้ซื้อย่อมเรียกร้องเอาจากผู้ขายได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 713/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายที่ดิน แม้ผู้ขายไม่มีกรรมสิทธิ์ขณะทำสัญญา แต่หากได้กรรมสิทธิ์ภายหลัง ผู้ซื้อก็มีสิทธิเรียกร้องได้
(1) ในคดีเรื่องเดิม เมื่อศาลฎีกาฟังว่าคู่ความตกลงซื้อขายที่ดินเต็มทั้งโฉนด ต่อมาฝ่ายใดจะฟ้องร้องหรือต่อสู้กันเป็นคดีใหม่ว่าซื้อขายเฉพาะบางส่วนเช่นนี้ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 148 ทั้งนี้ถ้าหากเป็นคดีที่ไม่เกี่ยวกับที่ดินซึ่งถูกเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกา
(2) ในสัญญาซื้อขายอาจระบุถึงที่ดินในเขตเวนคืนฯได้ แต่ไม่ทำให้ผู้ซื้อมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่ถูกเวนคืน
(3) ในคดีเดิม ศาลฎีกาได้พิพากษาให้รัฐบาลคืนที่ดินที่เวนคืนแต่เหลือใช้แก่จำเลย ต่อมาโจทก์ฟ้องเป็นคดีใหม่ว่าจำเลยได้ทำสัญญาขายที่ดินในเขตเวนคืนดังกล่าวจึงมีประเด็นว่า โจทก์จะเรียกร้องให้ส่งมอบได้หรือไม่ซึ่งเป็นคนละประเด็นกับคดีเรื่องก่อนๆ จึงไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 148
(4) ในเวลาทำสัญญาซื้อขายที่ดิน แม้ผู้ขายจะไม่มีกรรมสิทธิ์เพราะที่นี้ถูกเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกาแต่ต่อมาผู้ขายได้กรรมสิทธิ์มา เพราะรัฐบาลคืนให้ผู้ซื้อย่อมเรียกร้องเอาจากผู้ขายได้
(2) ในสัญญาซื้อขายอาจระบุถึงที่ดินในเขตเวนคืนฯได้ แต่ไม่ทำให้ผู้ซื้อมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่ถูกเวนคืน
(3) ในคดีเดิม ศาลฎีกาได้พิพากษาให้รัฐบาลคืนที่ดินที่เวนคืนแต่เหลือใช้แก่จำเลย ต่อมาโจทก์ฟ้องเป็นคดีใหม่ว่าจำเลยได้ทำสัญญาขายที่ดินในเขตเวนคืนดังกล่าวจึงมีประเด็นว่า โจทก์จะเรียกร้องให้ส่งมอบได้หรือไม่ซึ่งเป็นคนละประเด็นกับคดีเรื่องก่อนๆ จึงไม่ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 148
(4) ในเวลาทำสัญญาซื้อขายที่ดิน แม้ผู้ขายจะไม่มีกรรมสิทธิ์เพราะที่นี้ถูกเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกาแต่ต่อมาผู้ขายได้กรรมสิทธิ์มา เพราะรัฐบาลคืนให้ผู้ซื้อย่อมเรียกร้องเอาจากผู้ขายได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1240/2505
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญากู้เงินที่มีข้อความเพิ่มเติมถึงการขายที่ดิน ไม่ถือเป็นสัญญาจะซื้อขาย หากไม่มีเจตนาผูกพันโดยตรง
ทำสัญญากู้เงินและมอบโฉนดไว้เป็นประกันโดยมีข้อความเพิ่มเติมไว้ด้วยว่าที่ดินแปลงนี้จะขายให้แก่ผู้ให้กู้จะไม่ขายให้ใครภายใน 3 ปี ตามราคาสองหมื่นบาท เมื่อถึงราคาสองหมื่นบาทจึงจะขาย จึงจะโอนให้ ดังนี้ เป็นเรื่องกู้เงินเท่านั้น ไม่มีลักษณะเป็นสัญญาจะขายเป็นเพียงคำปรารภของผู้กู้ฝ่ายเดียว มิใช่มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์จึงไม่ใช่คำมั่นหรือสัญญาจะขายที่ดิน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1240/2505 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเงินกู้ที่มีข้อความเพิ่มเติมเรื่องการขายที่ดิน ไม่ถือเป็นสัญญาจะขาย
ทำสัญญากู้เงินและมอบโฉนดไว้เป็นประกันโดยมีข้อความเพิ่มเติมไว้ด้วยว่าที่ดินแปลงนี้จะขายให้แก่ผู้ให้กู้ จะไม่ช่วยให้ใครภายใน 3 ปี ตามราคาสองหมื่นบาทเมื่อถึงราคาสองหมื่นบาทจึงจะขาย จึงจะโอนให้ ดังนี้ เป็นเรื่องกู้เงินเท่านั้น ไม่มีลักษณะเป็นสัญญาจะขาย เป็นเพียงคำปรารภของผู้กู้ฝ่ายเดียว มิใช่มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ จึงไม่ใช่คำมั่นหรือสัญญาจะขายที่ดิน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 919-920/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญายอมความระงับสิทธิเรียกร้องเดิม ฟ้องซ้ำเมื่อมีสิทธิจากสัญญาเดิมแล้วย่อมไม่ได้
ทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน แล้วผู้ซื้อเข้าไปปลูกเรือนลงในที่ดินนั้น ต่อมาเจ้าของที่ดินนำที่ดินและเรือนไปขายฝากผู้อื่น ผู้ซื้อที่ดินจึงมาฟ้องผู้ขายและผู้รับซื้อฝากขอให้เพิกถอนสัญญาขายฝาก ในที่สุดยอมความกัน โดยให้ผู้ขายทำการไถ่ถอนที่ดินและเรือนคืนเพื่อไปโอนขายให้แก่ผู้ซื้อที่ดิน ดังนี้ย่อมทำให้สิทธิเรียกร้องเดิมสิ้นไป คงได้สิทธิตามสัญญายอมความและเป็นการรับรองการขายฝากนั้นเมื่อครบกำหนด ผู้ขายไม่ไถ่และผู้ซื้อที่ดินไม่เข้าสรวมสิทธิ ที่ดินและเรือนจึงตกเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ซื้อฝาก และกรณีเช่นนี้ผู้ซื้อที่ดินจะมาฟ้องเรียกค่าแห่งที่ดินที่เพิ่มขึ้นไม่ได้ ทั้งจะมาฟ้องขอให้เพิกถอนสัญญาขายฝากก็ไม่ได้เช่นเดียวกัน เป็นฟ้องซ้ำ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 919-920/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญายอมความระงับสิทธิเดิม ฟ้องซ้ำหลังมีคำพิพากษาตามยอม
ทำสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน แล้วผู้ซื้อเข้าไปปลูกเรือนลงในที่ดินนั้น ต่อมาเจ้าของที่ดินนำที่ดินและเรือนไปขายฝากผู้อื่น ผู้ซื้อที่ดินจึงมาฟ้องผู้ขายและผู้รับซื้อฝากขอให้เพิกถอนสัญญาขายฝาก ในที่สุดยอมความกันโดยให้ผู้ขายทำการไถ่ถอนที่ดินและเรือนคืน เพื่อไปโอนขายให้แก่ผู้ซื้อที่ดินดังนี้ย่อมทำให้สิทธิเรียกร้องเดิมสิ้นไป คงได้สิทธิตามสัญญายอมความและเป็นการรับรองการขายฝากนั้น เมื่อครบกำหนด ผู้ขายไม่ไถ่และผู้ซื้อที่ดินไม่เข้าสวมสิทธิ ที่ดินและเรือนจึงตกเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ซื้อฝาก และกรณีเช่นนี้ผู้ซื้อที่ดินจะมาฟ้องเรียกค่าแห่งที่ดินที่เพิ่มขึ้นไม่ได้ ทั้งจะมาฟ้องขอให้เพิกถอนสัญญาขายฝากก็ไม่ได้เช่นเดียวกัน เป็นฟ้องซ้ำ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 129/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขยายเวลาไถ่ถอนการขายฝากเกินกำหนดตามกฎหมาย มิชอบด้วย ป.พ.พ. มาตรา 496
ขายฝากที่ดินและสิ่งปลูกสร้างกันถูกต้องตามกฎหมาย กำหนดไถ่ถอนภายใน 1 ปี ในวันครบกำหนดได้ตกลงขยายการไถ่ถอนกันด้วยปากเปล่าต่อไป 1 ปี ครั้งครบกำหนดได้ตกลงทำหนังสือว่ายอมให้ต่อการไถ่ถอนกันไปอีก 1 ปี ต่อมาภายในกำหนดเวลาไถ่ถอนครั้งที่ 2 ผู้ขายฝากไปขอไถ่ถอน ดังนี้ ถือว่าข้อตกลงนั้นเป็นการขยายเวลาไถ่ถอนการขายฝาก ไม่ใช่เป็นเรื่องคำมั่นจะขายทรัพย์ที่ขายฝาก
เมื่อถึงกำหนดไถ่ถอนการขายฝาก จะตกลงขยายเวลาการขายฝากในภายหลังไม่ได้ ขัดต่อป.พ.พ. มาตรา 496
เมื่อถึงกำหนดไถ่ถอนการขายฝาก จะตกลงขยายเวลาการขายฝากในภายหลังไม่ได้ ขัดต่อป.พ.พ. มาตรา 496
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 129/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขยายเวลาไถ่ถอนขายฝากเกินกำหนดตามกฎหมาย มิชอบตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 496
ขายฝากที่ดินและสิ่งปลูกสร้างกันถูกต้องตามกฎหมาย กำหนดไถ่ถอนภายใน 1 ปี ในวันครบกำหนดได้ตกลงขยายการไถ่ถอนกันด้วยปากเปล่าต่อไป 1 ปี ครั้นครบกำหนดได้ตกลงทำหนังสือว่ายอมให้ต่อการไถ่ถอนกันไปอีก 1 ปี ต่อมาภายในกำหนดเวลาไถ่ถอนครั้งที่ 2 ผู้ขายฝากไปขอไถ่ถอนดังนี้ ถือว่าข้อตกลงนั้นเป็นการขยายเวลาการไถ่ถอนการขายฝาก ไม่ใช่เป็นเรื่องคำมั่นจะขายทรัพย์ที่ขายฝาก
เมื่อถึงกำหนดไถ่ถอนการขายฝาก จะตกลงขยายเวลาการขายฝากในภายหลังไม่ได้ ขัดต่อ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 496
เมื่อถึงกำหนดไถ่ถอนการขายฝาก จะตกลงขยายเวลาการขายฝากในภายหลังไม่ได้ ขัดต่อ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 496
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 957/2495 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเงินกู้ที่มีเงื่อนไขขายที่ดิน สิทธิของโจทก์จำกัดเมื่อพ้นกำหนดสัญญา
สัญญากู้เงินกันมอบที่ดินให้ผู้ให้กู้ครอบครองทำกินต่างดอกเบี้ย และตามสัญญามีเงื่อนไขด้วยว่าถ้าผู้กู้ประสงค์จะขายที่ดินที่ประกันนั้นแก่ผู้ให้กู้ภายในกำหนด 6 ปี ผู้ให้กู้ยินยอมรับซื้อเป็นเงินจำนวนหนึ่ง ถ้าพ้นกำหนด 6 ปี แล้ว ผู้กู้ต้องชำระหนี้เงินกู้ให้ผู้ให้กู้จนครบถ้วน หรือมิฉะนั้นก็ต้องมีการตกลงกันใหม่ ดังนี้เมื่อพ้นกำหนด 6 ปี แล้ว ผู้กู้ไม่ประสงค์จะขายที่ดิน แต่เลือกเอาทางชำระหนี้เงินกู้ได้ ผู้ให้กู้จะฟ้องขอให้ผู้กู้ขายที่ดินให้ตนเหมือนสัญญาจะซื้อขายธรรมดา ไม่ได้