พบผลลัพธ์ทั้งหมด 143 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2639-2640/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโต้แย้งข้อเท็จจริงในฎีกาต้องชัดเจน และศาลอุทธรณ์มีอำนาจสั่งค่าฤชาธรรมเนียม แม้ไม่มีคำขอ
ฎีกาจำเลยเป็นแต่เพียงโต้เถียงว่าที่ดินตามบัญชีท้ายฟ้องเป็นสินเดิมของ ล. โดยมิได้อ้างอิงข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายเป็นเหตุผลแห่งข้อโต้แย้งให้ชัดแจ้งในฎีกา ฎีกาของจำเลยในประเด็นข้อนี้จึงต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 วรรคแรก
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 246 ประกอบกับมาตรา 167 บัญญัติให้เป็นอำนาจของศาลอุทธรณ์ในอันที่จะมีคำสั่งในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียม ไม่ว่าคู่ความทั้งปวงหรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจักมีคำขอหรือไม่ก็ดี ศาลอุทธรณ์จึงหยิบยกเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมนี้ขึ้นกล่าวเองได้ แม้ประเด็นแห่งคดีมิได้มีข้อโต้เถียงในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียม
โจทก์ได้รับอนุญาตให้ฟ้องคดีอย่างคนอนาถา และจำเลยได้รับอนุญาตให้อุทธรณ์อย่างคนอนาถา เมื่อเรื่องปรากฏต่อศาลอุทธรณ์ก่อนศาลอุทธรณ์พิพากษาว่า โจทก์จำเลยต่างฝ่ายต่างมีส่วนได้รับทรัพย์พิพาทจากกองมรดกเป็นจำนวนมาก ถือได้ว่าทั้งโจทก์และจำเลยมีทรัพย์สินพอจะเสียค่าฤชาธรรมเนียมได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 159 ศาลอุทธรณ์ย่อมมีอำนาจสั่งให้คู่ความทั้งสองฝ่ายชำระค่าฤชาธรรมเนียมที่ได้รับยกเว้น หากไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง ให้ยึดหรืออายัดทรัพย์พิพาท แล้วเอาฃำระค่าฤชาธรรมเนียมจากทรัพย์สินที่ยึดนั้นได้
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 246 ประกอบกับมาตรา 167 บัญญัติให้เป็นอำนาจของศาลอุทธรณ์ในอันที่จะมีคำสั่งในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียม ไม่ว่าคู่ความทั้งปวงหรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจักมีคำขอหรือไม่ก็ดี ศาลอุทธรณ์จึงหยิบยกเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมนี้ขึ้นกล่าวเองได้ แม้ประเด็นแห่งคดีมิได้มีข้อโต้เถียงในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียม
โจทก์ได้รับอนุญาตให้ฟ้องคดีอย่างคนอนาถา และจำเลยได้รับอนุญาตให้อุทธรณ์อย่างคนอนาถา เมื่อเรื่องปรากฏต่อศาลอุทธรณ์ก่อนศาลอุทธรณ์พิพากษาว่า โจทก์จำเลยต่างฝ่ายต่างมีส่วนได้รับทรัพย์พิพาทจากกองมรดกเป็นจำนวนมาก ถือได้ว่าทั้งโจทก์และจำเลยมีทรัพย์สินพอจะเสียค่าฤชาธรรมเนียมได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 159 ศาลอุทธรณ์ย่อมมีอำนาจสั่งให้คู่ความทั้งสองฝ่ายชำระค่าฤชาธรรมเนียมที่ได้รับยกเว้น หากไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง ให้ยึดหรืออายัดทรัพย์พิพาท แล้วเอาฃำระค่าฤชาธรรมเนียมจากทรัพย์สินที่ยึดนั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2639-2640/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโต้แย้งสินสมรสที่ไม่มีเหตุผลชัดเจน และคำสั่งค่าฤชาธรรมเนียมจากทรัพย์สินมรดก
ฎีกาจำเลยเป็นเพียงโต้เถียงว่าที่ดินตามบัญชีท้ายฟ้องเป็นสินเดิมของ ส. โดยมิได้อ้างข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายเป็นเหตุผลแห่งข้อโต้แย้งให้ชัดแจ้งในฎีกา ฎีกาของจำเลยในประเด็นข้อนี้จึงต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 วรรคแรก
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 246 ประกอบกับมาตรา 167 บัญญัติให้เป็นอำนาจของศาลอุทธรณ์ในอันที่จะมีคำสั่งในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียม ไม่ว่าคู่ความทั้งปวงหรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจักมีคำขอหรือไม่ก็ดี ศาลอุทธรณ์จึงหยิบยกเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมนี้ขึ้นกล่าวเองได้ แม้ประเด็นแห่งคดีมิได้มีข้อโต้เถียงในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียม
โจทก์ได้รับอนุญาตในฟ้องคดีอย่างคนอนาถา และจำเลยได้รับอนุญาตให้อุทธรณ์อย่างคนอนาถา เมื่อเรื่องปรากฏต่อศาลอุทธรณ์ก่อนศาลอุทธรณ์พิพากษาว่า โจทก์จำเลยต่างฝ่ายต่างมีส่วนได้รับทรัพย์พิพาทจากกองมรดกเป็นจำนวนมาก ถือได้ว่าทั้งโจทก์และจำเลยมีทรัพย์สินพอจะเสียค่าฤชาธรรมเนียมได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 149 ศาลอุทธรณ์ย่อมมีอำนาจสั่งให้คู่ความทั้งสองฝ่ายชำระค่าฤชาธรรมเนียมที่ได้รับยกเว้น หากไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง ให้ยึดหรืออายัดทรัพย์พิพาท แล้วเอาชำระค่าฤชาธรรมเนียมจากทรัพย์สินที่ยึดนั้นได้
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 246 ประกอบกับมาตรา 167 บัญญัติให้เป็นอำนาจของศาลอุทธรณ์ในอันที่จะมีคำสั่งในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียม ไม่ว่าคู่ความทั้งปวงหรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจักมีคำขอหรือไม่ก็ดี ศาลอุทธรณ์จึงหยิบยกเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมนี้ขึ้นกล่าวเองได้ แม้ประเด็นแห่งคดีมิได้มีข้อโต้เถียงในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียม
โจทก์ได้รับอนุญาตในฟ้องคดีอย่างคนอนาถา และจำเลยได้รับอนุญาตให้อุทธรณ์อย่างคนอนาถา เมื่อเรื่องปรากฏต่อศาลอุทธรณ์ก่อนศาลอุทธรณ์พิพากษาว่า โจทก์จำเลยต่างฝ่ายต่างมีส่วนได้รับทรัพย์พิพาทจากกองมรดกเป็นจำนวนมาก ถือได้ว่าทั้งโจทก์และจำเลยมีทรัพย์สินพอจะเสียค่าฤชาธรรมเนียมได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 149 ศาลอุทธรณ์ย่อมมีอำนาจสั่งให้คู่ความทั้งสองฝ่ายชำระค่าฤชาธรรมเนียมที่ได้รับยกเว้น หากไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง ให้ยึดหรืออายัดทรัพย์พิพาท แล้วเอาชำระค่าฤชาธรรมเนียมจากทรัพย์สินที่ยึดนั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2268/2518 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าและข้อตกลงเพิ่มเติม: การปรับปรุงทรัพย์สินไม่ใช่สัญญาต่างตอบแทนพิเศษ
ผู้ให้เข่ากำหนดให้ผู้เช่าเทพื้นทางด้านหลัง ทำห้องน้ำ ห้องส้วมใหม่ และผู้เช่าได้กระทำครบถ้วนตามนั้น ก็เป็นการกระทำเพื่อความสะดวกสบายของผู้เช่าในการใช้ทรัพย์สินที่เช่า ไม่มีลักษณะเป็นสัญญาต่างตอบแทนชนิดพิเศษที่จะทำให้ผู้เช่ามีสิทธิยิ่งไปกว่าสัญญาเช่าธรรมดา
จำเลยฎีกาเพียงแต่ขอให้สั่งศาลชั้นต้นสืบพยานแล้วพิพากษาใหม่ ไม่ได้ขอให้พิพากษาให้จำเลยชนะคดี จึงเสียค่าขึ้นศาลเพียง 50 บาท คืนส่วนที่เกิน 50 บาทให้จำเลย
จำเลยฎีกาเพียงแต่ขอให้สั่งศาลชั้นต้นสืบพยานแล้วพิพากษาใหม่ ไม่ได้ขอให้พิพากษาให้จำเลยชนะคดี จึงเสียค่าขึ้นศาลเพียง 50 บาท คืนส่วนที่เกิน 50 บาทให้จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2268/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าและการปรับปรุงทรัพย์สิน: การกระทำเพื่อความสะดวกสบายของผู้เช่า ไม่ถือเป็นสิทธิพิเศษเหนือสัญญาเช่า
ผู้ให้เช่ากำหนดให้ผู้เช่าเทพื้นทางด้านหลัง ทำห้องน้ำห้องส้วมใหม่ และผู้เช่าได้กระทำครบถ้วนตามนั้น ก็เป็นการกระทำเพื่อความสะดวกสบายของผู้เช่าในการใช้ทรัพย์สินที่เช่า ไม่มีลักษณะเป็นสัญญาต่างตอบแทนชนิดพิเศษที่จะทำให้ผู้เช่ามีสิทธิยิ่งไปกว่าสัญญาเช่าธรรมดา
จำเลยฎีกาเพียงแต่ขอให้สั่งศาลชั้นต้นสืบพยานแล้วพิพากษาใหม่ ไม่ได้ขอให้พิพากษาให้จำเลยชนะคดี จึงเสียค่าขึ้นศาลเพียง 50 บาท คือส่วนที่เกิน 50 บาทให้จำเลย
จำเลยฎีกาเพียงแต่ขอให้สั่งศาลชั้นต้นสืบพยานแล้วพิพากษาใหม่ ไม่ได้ขอให้พิพากษาให้จำเลยชนะคดี จึงเสียค่าขึ้นศาลเพียง 50 บาท คือส่วนที่เกิน 50 บาทให้จำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 665/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาบัญชีเดินสะพัดต่ออายุโดยปริยาย & ดอกเบี้ยทบต้นหลังบอกกล่าวบังคับจำนอง
สัญญาบัญชีเดินสะพัดมีกำหนดเวลา 1 ปี 6 เดือน แต่หลังจากนั้นคู่สัญญายังติดต่อให้บัญชีเดินสะพัดเดินอยู่ถือว่าเลิกกันเมื่อเจ้าหนี้บอกกล่าวบังคับจำนอง เจ้าหนี้เรียกดอกเบี้ยทบต้นหลังจากนั้นอีกไม่ได้
คำสั่งให้จำเลยใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ ศาลสั่งในคำพิพากษาได้ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 167 แม้โจทก์มิได้มีคำขอมาในฟ้อง
คำสั่งให้จำเลยใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ ศาลสั่งในคำพิพากษาได้ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 167 แม้โจทก์มิได้มีคำขอมาในฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2339/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความเสียหายจากการผิดสัญญาซื้อขายที่ดิน ศาลพิจารณาความเสียหายที่เกิดขึ้นจริงและค่าปรับตามสมควร
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายจากจำเลยฐานผิดสัญญาไม่ขายที่ดินให้โจทก์ โดยคำนวณจากผลกำไรทั้งหมดซึ่งโจทก์คาดหมายว่าจะขายที่ดินได้ในราคาสูงกว่าราคาที่ซื้อจากจำเลยแต่ความเสียหายที่โจทก์เรียกร้องนั้นเป็นเพียงความหวังของโจทก์โจทก์จะขายที่ดินได้ในราคานั้นหรือไม่ ไม่เป็นที่แน่นอนยังฟังไม่ได้ว่าโจทก์ได้รับความเสียหายอันเกิดแต่พฤติการณ์พิเศษแต่ที่ดินที่จะซื้อขายมีทางหลวงตัดผ่านไป พอคาดหมายได้ว่าต้องมีราคาเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นความเสียหายเช่นที่ตามปกติย่อมเกิดขึ้นจากการไม่ชำระหนี้ของจำเลย ศาลมีอำนาจกำหนดค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายให้ตามที่เห็นสมควร
แม้ศาลชั้นต้นจะใช้ดุลพินิจพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ไม่เหมาะสม จำเลยก็จะร้องมาในคำแก้อุทธรณ์และคำแก้ฎีกาเพื่อให้แก้ไขคำพิพากษาศาลล่างโดยมิได้อุทธรณ์ฎีกาหาได้ไม่ แต่ศาลฎีกามีอำนาจที่จะสั่งในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมตลอดไปถึงของศาลล่างด้วยหากเห็นเป็นการสมควร
แม้ศาลชั้นต้นจะใช้ดุลพินิจพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ไม่เหมาะสม จำเลยก็จะร้องมาในคำแก้อุทธรณ์และคำแก้ฎีกาเพื่อให้แก้ไขคำพิพากษาศาลล่างโดยมิได้อุทธรณ์ฎีกาหาได้ไม่ แต่ศาลฎีกามีอำนาจที่จะสั่งในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมตลอดไปถึงของศาลล่างด้วยหากเห็นเป็นการสมควร
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2339/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความเสียหายจากการผิดสัญญาซื้อขายที่ดิน ศาลพิจารณาจากราคาตลาดและค่าปรับที่สมเหตุสมผล
โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายจากจำเลยฐานผิดสัญญาไม่ขายที่ดินให้โจทก์ โดยคำนวณจากผลกำไรทั้งหมดซึ่งโจทก์คาดหมายว่าจะขายที่ดินได้ในราคาสูงกว่าราคาที่ซื้อจากจำเลย แต่ความเสียหายที่โจทก์เรียกร้องนั้นเป็นเพียงความหวังของโจทก์โจทก์จะขายที่ดินได้ในราคานั้นหรือไม่ ไม่เป็นที่แน่นอน ยังฟังไม่ได้ว่าโจทก์ได้รับความเสียหายอันเกิดแต่พฤติการณ์พิเศษ แต่ที่ดินที่จะซื้อขายมีทางหลวงตัดผ่านไป พอคาดหมายได้ว่าต้องมีราคาเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นความเสียหายเช่นที่ตามปกติย่อมเกิดขึ้นจากการไม่ชำระหนี้ของจำเลย ศาลมีอำนาจกำหนดค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายให้ตามที่เห็นสมควร
แม้ศาลชั้นต้นจะใช้ดุลพินิจพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ไม่เหมาะสม จำเลยก็จะร้องมาในคำแก้อุทธรณ์และคำแก้ฎีกาเพื่อให้แก้ไขคำพิพากษาศาลล่างโดยมิได้อุทธรณ์ฎีกาหาได้ไม่ แต่ศาลฎีกามีอำนาจที่จะสั่งในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมตลอดไปถึงของศาลล่างด้วย หากเห็นเป็นการสมควร
แม้ศาลชั้นต้นจะใช้ดุลพินิจพิพากษาให้จำเลยใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนโจทก์ไม่เหมาะสม จำเลยก็จะร้องมาในคำแก้อุทธรณ์และคำแก้ฎีกาเพื่อให้แก้ไขคำพิพากษาศาลล่างโดยมิได้อุทธรณ์ฎีกาหาได้ไม่ แต่ศาลฎีกามีอำนาจที่จะสั่งในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมตลอดไปถึงของศาลล่างด้วย หากเห็นเป็นการสมควร
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2170/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติกรรมอำพรางและเจตนาลวงในสัญญากู้ยืมและค้ำประกัน การพิสูจน์เพื่อแสดงเจตนาที่แท้จริง
จำเลยที่ 1 ทำสัญญากู้เงินบริษัท บ. โดยมีจำเลยที่ เป็นผู้ค้ำประกัน คู่สัญญากู้อยู่ว่ามิได้มีการกู้และค้ำประกันตามนั้น ความจริงจำเลยที่ 2 เป็นผู้กู้โดยมีจำเลยที่ 1 เป็นตัวแทน จำเลยทั้งสองไม่ต้องรับผิดตามสัญญาอันแสดงเจตนาลวงนั้น ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 118 สัญญากู้อันถูกอำพรางไว้นั้น จำเลยที่ 2ก็ไม่ต้องรับผิดเป็นส่วนตัวเพราะจำเลยที่ 2 ทำไปในฐานะเป็นทายาทของกองมรดก ส. ซึ่งมีอำนาจจัดการกู้เงินเพื่อประโยชน์ของกองมรดกได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1745 ประกอบด้วยมาตรา 1358
โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ในฐานะผู้กู้และจำเลยที่ 2 ในฐานะผู้ค้ำประกันให้ชำระเงินต้นพร้อมดอกเบี้ย จำเลยทั้งสองให้การต่อสู้ว่า ความจริงจำเลยที่ 2 ในฐานะผู้จัดการมรดกของ ส. ได้ตั้งให้จำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนไปขอกู้เงินจากบริษัท บ. ซึ่งที่ประชุมของบริษัททราบดีว่ากองมรดกของ ส. เป็นผู้กู้ แต่ให้ลงชื่อจำเลยที่ 1 เป็นผู้กู้ และจำเลยที่ 2 ในฐานะผู้ค้ำประกันสัญญากู้และสัญญาค้ำประกันเป็นนิติกรรมอำพราง จำเลยทั้งสองไม่ต้องรับผิด ดังนี้ การที่จำเลยนำสืบว่าความจริงจำเลยที่ 2 เป็นผู้กู้ มิใช่เป็นผู้ค้ำประกัน ไม่เป็นการต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 เพราะกรณีเป็นเรื่องนิติกรรมอำพราง ซึ่งมาตรา 94 ไม่ตัดสิทธิจำเลยในอันที่จะนำสืบแสดงว่าสัญญาที่ระบุไว้ในเอกสารนั้นไม่สมบูรณ์ประการหนึ่ง และอีกประการหนึ่ง มาตรา 94 ก็ห้ามแต่เฉพาะเรื่องการนำพยานบุคคลเข้ามาสืบแทนเอกสารเท่านั้นไม่ได้ห้ามในการนำสืบหักล้างพยานเอกสารด้วยเอกสาร โดยมีการสืบพยานบุคคลประกอบข้อความและลายมือชื่อในเอกสารนั้น
จำเลยเพียงแต่กล่าวมาในคำแก้ฎีกาว่า ที่ศาลล่างทั้งสองสั่งให้ค่าฤชาธรรมเนียมเป็นพับนั้น ไม่มีเหตุอันสมควรชอบที่โจทก์จะต้องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำเลยนั้น จำเลยย่อมไม่มีสิทธิจะร้องขอให้ศาลฎีกาแก้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ และจำเลยจะฎีกาในเรื่องดุลพินิจเกี่ยวกับค่าฤชาธรรมเนียมโดยเฉพาะไม่ได้ แต่เมื่อศาลฎีกาเห็นสมควรก็อาจสั่งให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำเลยได้ในฐานะที่จำเลยเป็นฝ่ายชนะคดีในชั้นที่สุด
โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ในฐานะผู้กู้และจำเลยที่ 2 ในฐานะผู้ค้ำประกันให้ชำระเงินต้นพร้อมดอกเบี้ย จำเลยทั้งสองให้การต่อสู้ว่า ความจริงจำเลยที่ 2 ในฐานะผู้จัดการมรดกของ ส. ได้ตั้งให้จำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนไปขอกู้เงินจากบริษัท บ. ซึ่งที่ประชุมของบริษัททราบดีว่ากองมรดกของ ส. เป็นผู้กู้ แต่ให้ลงชื่อจำเลยที่ 1 เป็นผู้กู้ และจำเลยที่ 2 ในฐานะผู้ค้ำประกันสัญญากู้และสัญญาค้ำประกันเป็นนิติกรรมอำพราง จำเลยทั้งสองไม่ต้องรับผิด ดังนี้ การที่จำเลยนำสืบว่าความจริงจำเลยที่ 2 เป็นผู้กู้ มิใช่เป็นผู้ค้ำประกัน ไม่เป็นการต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 เพราะกรณีเป็นเรื่องนิติกรรมอำพราง ซึ่งมาตรา 94 ไม่ตัดสิทธิจำเลยในอันที่จะนำสืบแสดงว่าสัญญาที่ระบุไว้ในเอกสารนั้นไม่สมบูรณ์ประการหนึ่ง และอีกประการหนึ่ง มาตรา 94 ก็ห้ามแต่เฉพาะเรื่องการนำพยานบุคคลเข้ามาสืบแทนเอกสารเท่านั้นไม่ได้ห้ามในการนำสืบหักล้างพยานเอกสารด้วยเอกสาร โดยมีการสืบพยานบุคคลประกอบข้อความและลายมือชื่อในเอกสารนั้น
จำเลยเพียงแต่กล่าวมาในคำแก้ฎีกาว่า ที่ศาลล่างทั้งสองสั่งให้ค่าฤชาธรรมเนียมเป็นพับนั้น ไม่มีเหตุอันสมควรชอบที่โจทก์จะต้องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำเลยนั้น จำเลยย่อมไม่มีสิทธิจะร้องขอให้ศาลฎีกาแก้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ และจำเลยจะฎีกาในเรื่องดุลพินิจเกี่ยวกับค่าฤชาธรรมเนียมโดยเฉพาะไม่ได้ แต่เมื่อศาลฎีกาเห็นสมควรก็อาจสั่งให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำเลยได้ในฐานะที่จำเลยเป็นฝ่ายชนะคดีในชั้นที่สุด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2170/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติกรรมอำพราง สัญญาซื้อหุ้น และการรับผิดในหนี้สิน กรณีผู้กู้ตัวจริงไม่ใช่ผู้ลงนามในสัญญา
จำเลยที่ 1 ทำสัญญากู้เงินบริษัท บ. โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกัน คู่สัญญารู้อยู่ว่ามิได้มีการกู้และค้ำประกันตามนั้น ความจริงจำเลยที่ 2 เป็นผู้กู้โดยมีจำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนจำเลยทั้งสองไม่ต้องรับผิดตามสัญญาอันแสดงเจตนาลวงนั้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 118 สัญญากู้อันถูกอำพรางไว้นั้น จำเลยที่ 2 ก็ไม่ต้องรับผิดเป็นส่วนตัวเพราะจำเลยที่ 2 ทำไปในฐานะเป็นทายาทของกองมรดก ส.ซึ่งมีอำนาจจัดการกู้เงินเพื่อประโยชน์ของกองมรดกได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1745 ประกอบด้วยมาตรา 1358
โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ในฐานะผู้กู้และจำเลยที่ 2 ในฐานะผู้ค้ำประกันให้ชำระเงินต้นพร้อมดอกเบี้ย จำเลยทั้งสองให้การต่อสู้ว่า ความจริงจำเลยที่ 2 ในฐานะผู้จัดการมรดกของ ส.ได้ตั้งให้จำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนไปขอกู้เงินจากบริษัท บ.ซึ่งที่ประชุมของบริษัททราบดีว่ากองมรดกของ ส. เป็นผู้กู้แต่ให้ลงชื่อจำเลยที่ 1 เป็นผู้กู้ และจำเลยที่ 2 ในฐานะผู้ค้ำประกันสัญญากู้และสัญญาค้ำประกันเป็นนิติกรรมอำพรางจำเลยทั้งสองไม่ต้องรับผิด ดังนี้ การที่จำเลยนำสืบว่าความจริงจำเลยที่ 2 เป็นผู้กู้ มิใช่เป็นผู้ค้ำประกัน ไม่เป็นการต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 เพราะกรณีเป็นเรื่องนิติกรรมอำพราง ซึ่งมาตรา 94 ไม่ตัดสิทธิจำเลยในอันที่จะนำสืบแสดงว่าสัญญาที่ระบุไว้ในเอกสารนั้นไม่สมบูรณ์ประการหนึ่ง และอีกประการหนึ่ง มาตรา 94 ก็ห้ามแต่เฉพาะเรื่องการนำพยานบุคคลเข้ามาสืบแทนเอกสารเท่านั้นไม่ได้ห้ามในการนำสืบหักล้างพยานเอกสารด้วยเอกสารโดยมีการสืบพยานบุคคลประกอบข้อความและลายมือชื่อในเอกสารนั้น
จำเลยเพียงแต่กล่าวมาในคำแก้ฎีกาว่า ที่ศาลล่างทั้งสองสั่งให้ค่าฤชาธรรมเนียมเป็นพับนั้น ไม่มีเหตุอันสมควรชอบที่โจทก์จะต้องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำเลยนั้น จำเลยย่อมไม่มีสิทธิจะร้องขอให้ศาลฎีกาแก้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ และจำเลยจะฎีกาในเรื่องดุลพินิจเกี่ยวกับค่าฤชาธรรมเนียมโดยเฉพาะไม่ได้ แต่เมื่อศาลฎีกาเห็นสมควรก็อาจสั่งให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำเลยได้ในฐานะที่จำเลยเป็นฝ่ายชนะคดีในชั้นที่สุด
โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ในฐานะผู้กู้และจำเลยที่ 2 ในฐานะผู้ค้ำประกันให้ชำระเงินต้นพร้อมดอกเบี้ย จำเลยทั้งสองให้การต่อสู้ว่า ความจริงจำเลยที่ 2 ในฐานะผู้จัดการมรดกของ ส.ได้ตั้งให้จำเลยที่ 1 เป็นตัวแทนไปขอกู้เงินจากบริษัท บ.ซึ่งที่ประชุมของบริษัททราบดีว่ากองมรดกของ ส. เป็นผู้กู้แต่ให้ลงชื่อจำเลยที่ 1 เป็นผู้กู้ และจำเลยที่ 2 ในฐานะผู้ค้ำประกันสัญญากู้และสัญญาค้ำประกันเป็นนิติกรรมอำพรางจำเลยทั้งสองไม่ต้องรับผิด ดังนี้ การที่จำเลยนำสืบว่าความจริงจำเลยที่ 2 เป็นผู้กู้ มิใช่เป็นผู้ค้ำประกัน ไม่เป็นการต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 94 เพราะกรณีเป็นเรื่องนิติกรรมอำพราง ซึ่งมาตรา 94 ไม่ตัดสิทธิจำเลยในอันที่จะนำสืบแสดงว่าสัญญาที่ระบุไว้ในเอกสารนั้นไม่สมบูรณ์ประการหนึ่ง และอีกประการหนึ่ง มาตรา 94 ก็ห้ามแต่เฉพาะเรื่องการนำพยานบุคคลเข้ามาสืบแทนเอกสารเท่านั้นไม่ได้ห้ามในการนำสืบหักล้างพยานเอกสารด้วยเอกสารโดยมีการสืบพยานบุคคลประกอบข้อความและลายมือชื่อในเอกสารนั้น
จำเลยเพียงแต่กล่าวมาในคำแก้ฎีกาว่า ที่ศาลล่างทั้งสองสั่งให้ค่าฤชาธรรมเนียมเป็นพับนั้น ไม่มีเหตุอันสมควรชอบที่โจทก์จะต้องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำเลยนั้น จำเลยย่อมไม่มีสิทธิจะร้องขอให้ศาลฎีกาแก้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ และจำเลยจะฎีกาในเรื่องดุลพินิจเกี่ยวกับค่าฤชาธรรมเนียมโดยเฉพาะไม่ได้ แต่เมื่อศาลฎีกาเห็นสมควรก็อาจสั่งให้โจทก์ใช้ค่าฤชาธรรมเนียมแทนจำเลยได้ในฐานะที่จำเลยเป็นฝ่ายชนะคดีในชั้นที่สุด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1960/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตคำพิพากษาศาลฎีกา: ค่าธรรมเนียม/ค่าทนายในชั้นฎีกาแยกจากคำพิพากษาศาลชั้นต้น
ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้องและให้โจทก์ใช้ค่าธรรมเนียมค่าทนายแทนจำเลย ศาลอุทธรณ์พิพากษากลับให้โจทก์ชนะคดี จำเลยฎีกา ศาลฎีกาพิพากษากลับคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ให้บังคับคดีตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น และให้โจทก์เสียค่าทนายในชั้นศาลอุทธรณ์และศาลฎีการวมสามพันบาทแทนจำเลย ตามคำพิพากษาของศาลฎีกาดังกล่าวแล้ว แปลไม่ได้ว่า.ศาลฎีกาพิพากษาให้โจทก์ใช้ค่าธรรมเนียมชั้นศาลฎีกาแทนจำเลยด้วย แม้โจทก์จะเป็นฝ่ายแพ้คดี
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 28/2511)
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 28/2511)