พบผลลัพธ์ทั้งหมด 143 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1198/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ของหมั้นไม่จำต้องเป็นกรรมสิทธิชายคู่หมั้น สิทธิแก่หญิงเมื่อสมรสได้ แม้ของหมั้นเป็นของผู้อื่น
ของหมั้นไม่จำต้องเป็นกรรมสิทธิของชายคู่หมั้น แม้จะเป็นของคนอื่นก็อาจเป็นของหมั้นและตกเป็นกรรมสิทธิแก่หญิงในเมื่อสมรสแล้วได้ ป.ม.แพ่ง ฯ มาตรา 1436 ก็ใช้คำว่า ฝ่ายชาย มิได้ใช้คำว่า ชาย เฉย ๆ
พ.สามีจำเลยกับจำเลยได้ไปทำการหมั้นโจทก์ให้แก่ จ. ซึ่งเป็นบุตรของ พ. โดยใช้แหวนเป็นของหมั้น แหวนนี้จะเป็นเพียงจำเลยให้ยืม โดย พ.ทราบด้วยหรือไม่ทราบก็ตาม เมื่อปรากฎว่าทางฝ่ายโจทก์และบิดามารดาโจทก์หาได้ทราบความข้อนี้ด้วยไม่ จึงจะเอาข้อตกลงระหว่าง จ.กับจำเลยตลอดจนความไม่รู้ของ พ.หากเป็นความจริง ไปผูกมัดโจทก์ไม่ได้.
การที่ศาลอุทธรณ์ไม่ได้กำหนดค่าฤชาธรรมเนียมให้โจทก์ ซึ่งเป็นฝ่ายชนะนั้น โจทก์อาจฎีกาได้ตามมาตรา 168 ป.ม.วิ.แพ่ง แต่โจทก์ไม่ได้ฎีกา เป็นแต่เพียงแถลงมาในคำแก้ฎีกานั้นย่อมไม่ได้ แต่เนื่องจากเวลาพิพากษาศาลฎีกามีอำนาจสั่งในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมตลอดไปถึงของศาลล่างด้วย โดยอาศัยอำนาจนี้ ศาลฎีกาอาจวินิจฉัยเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมนี้ให้ได้ในเมื่อเห็นสมควร
เมื่อพ้นกำหนดยื่นคำแก้อุทธรณ์ตามมาตรา 237 วรรคต้น ป.ม.วิ.แพ่งแล้วจำเลยจะยื่นคำแก้อุทธรณ์ไม่ได้ จะยื่นได้ก็แต่ในฐานะคำแถลงการณ์ตามมาตรา 246,186 วรรค 2 ป.ม.วิ.แพ่ง หากยื่นคำแก้อุทธรณ์ภายหลังกำหนดและศาลรับไว้ก็รับไว้ในฐานะเป็นคำแถลงการณ์เท่านั้น ซึ่งมีผลว่าจำเลยจะตั้งประเด็นในศาลอุทธรณ์ไม่ได้เพราะเป็นแต่เพียงคำแถลงการณ์ ไม่ใช่คำแก้อุทธรณ์ซึ่งเป็นคำคู่ความที่จำเลยอาจตั้งประเด็นไว้
การยื่นคำแก้อุทธรณ์ภายหลังกำหนดอันถือได้ว่าเป็นการยื่นคำแถลงการณ์นี้ ก็ถือได้ว่าทนายของจำเลยอุทธรณ์ได้ว่าคดีในชั้นศาลอุทธรณ์เหมือนกัน
พ.สามีจำเลยกับจำเลยได้ไปทำการหมั้นโจทก์ให้แก่ จ. ซึ่งเป็นบุตรของ พ. โดยใช้แหวนเป็นของหมั้น แหวนนี้จะเป็นเพียงจำเลยให้ยืม โดย พ.ทราบด้วยหรือไม่ทราบก็ตาม เมื่อปรากฎว่าทางฝ่ายโจทก์และบิดามารดาโจทก์หาได้ทราบความข้อนี้ด้วยไม่ จึงจะเอาข้อตกลงระหว่าง จ.กับจำเลยตลอดจนความไม่รู้ของ พ.หากเป็นความจริง ไปผูกมัดโจทก์ไม่ได้.
การที่ศาลอุทธรณ์ไม่ได้กำหนดค่าฤชาธรรมเนียมให้โจทก์ ซึ่งเป็นฝ่ายชนะนั้น โจทก์อาจฎีกาได้ตามมาตรา 168 ป.ม.วิ.แพ่ง แต่โจทก์ไม่ได้ฎีกา เป็นแต่เพียงแถลงมาในคำแก้ฎีกานั้นย่อมไม่ได้ แต่เนื่องจากเวลาพิพากษาศาลฎีกามีอำนาจสั่งในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมตลอดไปถึงของศาลล่างด้วย โดยอาศัยอำนาจนี้ ศาลฎีกาอาจวินิจฉัยเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมนี้ให้ได้ในเมื่อเห็นสมควร
เมื่อพ้นกำหนดยื่นคำแก้อุทธรณ์ตามมาตรา 237 วรรคต้น ป.ม.วิ.แพ่งแล้วจำเลยจะยื่นคำแก้อุทธรณ์ไม่ได้ จะยื่นได้ก็แต่ในฐานะคำแถลงการณ์ตามมาตรา 246,186 วรรค 2 ป.ม.วิ.แพ่ง หากยื่นคำแก้อุทธรณ์ภายหลังกำหนดและศาลรับไว้ก็รับไว้ในฐานะเป็นคำแถลงการณ์เท่านั้น ซึ่งมีผลว่าจำเลยจะตั้งประเด็นในศาลอุทธรณ์ไม่ได้เพราะเป็นแต่เพียงคำแถลงการณ์ ไม่ใช่คำแก้อุทธรณ์ซึ่งเป็นคำคู่ความที่จำเลยอาจตั้งประเด็นไว้
การยื่นคำแก้อุทธรณ์ภายหลังกำหนดอันถือได้ว่าเป็นการยื่นคำแถลงการณ์นี้ ก็ถือได้ว่าทนายของจำเลยอุทธรณ์ได้ว่าคดีในชั้นศาลอุทธรณ์เหมือนกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1198/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ของหมั้นไม่จำต้องเป็นกรรมสิทธิ์ชายคู่หมั้น การหมั้นสมบูรณ์เมื่อสมรสแล้ว
ของหมั้นไม่จำต้องเป็นกรรมสิทธิ์ของชายคู่หมั้น แม้จะเป็นของคนอื่นก็อาจเป็นของหมั้นและตกเป็นกรรมสิทธิ์แก่หญิงในเมื่อสมรสแล้วได้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1436 ก็ใช้คำว่า ฝ่ายชาย มิได้ใช้คำว่า ชายเฉยๆ
พ.สามีจำเลยกับจำเลยได้ไปทำการหมั้นโจทก์ให้แก่จ.ซึ่งเป็นบุตรของ พ. โดยใช้แหวนเป็นของหมั้น แหวนนี้จะเป็นเพียงจำเลยให้ยืมโดย พ. ทราบด้วยหรือไม่ทราบก็ตาม เมื่อปรากฏว่าทางฝ่ายโจทก์และบิดามารดาโจทก์หาได้ทราบความข้อนี้ด้วยไม่ จึงจะเอาข้อตกลงระหว่าง จ. กับจำเลยตลอดจนความไม่รู้ของ พ. หากเป็นความจริงไปผูกมัดโจทก์ไม่ได้
การที่ศาลอุทธรณ์ไม่ได้กำหนดค่าฤชาธรรมเนียมให้โจทก์ซึ่งเป็นฝ่ายชนะนั้น โจทก์อาจฎีกาได้ตามมาตรา168 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง แต่โจทก์ไม่ได้ฎีกา เป็นแต่เพียงแถลงมาในคำแก้ฎีกานั้นย่อมไม่ได้ แต่เนื่องจากเวลาพิพากษาศาลฎีกามีอำนาจสั่งในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมตลอดไปถึงของศาลล่างด้วยโดยอาศัยอำนาจนี้ ศาลฎีกาอาจวินิจฉัยเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมนี้ให้ได้ในเมื่อเห็นสมควร
เมื่อพ้นกำหนดยื่นคำแก้อุทธรณ์ตามมาตรา 237 วรรคต้นประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งแล้ว จำเลยจะยื่นคำแก้อุทธรณ์ไม่ได้ จะยื่นได้ก็แต่ในฐานะคำแถลงการณ์ตามมาตรา246,186 วรรคสอง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ก็รับไว้หากยื่นคำแก้อุทธรณ์ภายหลังกำหนดและศาลรับไว้ในฐานะเป็นคำแถลงการณ์เท่านั้น ซึ่งมีผลว่าจำเลยจะตั้งประเด็นในศาลอุทธรณ์ไม่ได้ เพราะเป็นแต่เพียงคำแถลงการณ์ ไม่ใช่คำแก้อุทธรณ์ซึ่งเป็นคำคู่ความที่จำเลยอาจตั้งประเด็นได้
การยื่นคำแก้อุทธรณ์ภายหลังกำหนดอันถือได้ว่าเป็นการยื่นคำแถลงการณ์นี้ ก็ถือได้ว่าทนายของจำเลยอุทธรณ์ได้ว่าคดีในชั้นศาลอุทธรณ์เหมือนกัน
พ.สามีจำเลยกับจำเลยได้ไปทำการหมั้นโจทก์ให้แก่จ.ซึ่งเป็นบุตรของ พ. โดยใช้แหวนเป็นของหมั้น แหวนนี้จะเป็นเพียงจำเลยให้ยืมโดย พ. ทราบด้วยหรือไม่ทราบก็ตาม เมื่อปรากฏว่าทางฝ่ายโจทก์และบิดามารดาโจทก์หาได้ทราบความข้อนี้ด้วยไม่ จึงจะเอาข้อตกลงระหว่าง จ. กับจำเลยตลอดจนความไม่รู้ของ พ. หากเป็นความจริงไปผูกมัดโจทก์ไม่ได้
การที่ศาลอุทธรณ์ไม่ได้กำหนดค่าฤชาธรรมเนียมให้โจทก์ซึ่งเป็นฝ่ายชนะนั้น โจทก์อาจฎีกาได้ตามมาตรา168 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง แต่โจทก์ไม่ได้ฎีกา เป็นแต่เพียงแถลงมาในคำแก้ฎีกานั้นย่อมไม่ได้ แต่เนื่องจากเวลาพิพากษาศาลฎีกามีอำนาจสั่งในเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมตลอดไปถึงของศาลล่างด้วยโดยอาศัยอำนาจนี้ ศาลฎีกาอาจวินิจฉัยเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมนี้ให้ได้ในเมื่อเห็นสมควร
เมื่อพ้นกำหนดยื่นคำแก้อุทธรณ์ตามมาตรา 237 วรรคต้นประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งแล้ว จำเลยจะยื่นคำแก้อุทธรณ์ไม่ได้ จะยื่นได้ก็แต่ในฐานะคำแถลงการณ์ตามมาตรา246,186 วรรคสอง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ก็รับไว้หากยื่นคำแก้อุทธรณ์ภายหลังกำหนดและศาลรับไว้ในฐานะเป็นคำแถลงการณ์เท่านั้น ซึ่งมีผลว่าจำเลยจะตั้งประเด็นในศาลอุทธรณ์ไม่ได้ เพราะเป็นแต่เพียงคำแถลงการณ์ ไม่ใช่คำแก้อุทธรณ์ซึ่งเป็นคำคู่ความที่จำเลยอาจตั้งประเด็นได้
การยื่นคำแก้อุทธรณ์ภายหลังกำหนดอันถือได้ว่าเป็นการยื่นคำแถลงการณ์นี้ ก็ถือได้ว่าทนายของจำเลยอุทธรณ์ได้ว่าคดีในชั้นศาลอุทธรณ์เหมือนกัน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 837/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ที่ดินราชพัสดุ: ผู้ไม่มีอำนาจยึด และสิทธิในการเรียกร้องค่าฤชาธรรมเนียม
ที่ดินซึ่งกระทรวงการคลังรับโอนจากเอกชนมาขึ้นทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุ แล้วเอามาให้เอกชนเช่าอยู่นั้น ย่อมเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน
ที่ดินซึ่งเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน ผู้ใดไม่มีอำนาจยึด
ผู้ร้องชนะคดีโจทก์ชั้นศาลอุทธรณ์ แต่ศาลอุทธรณ์มิได้กำหนดค่าฤชาธรรมเนียมให้โจทก์ชำระแทนผู้ร้อง ๆ ย่อมฎีกาฉะเพาะค่าฤชาธรรมเนียมได้ตาม ป.ม.วิ.แพ่ง มาตรา 168 เพราะศาลอุทธรณ์มิได้กำหนดค่าฤชาธรรมเนียมไว้.
ที่ดินซึ่งเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน ผู้ใดไม่มีอำนาจยึด
ผู้ร้องชนะคดีโจทก์ชั้นศาลอุทธรณ์ แต่ศาลอุทธรณ์มิได้กำหนดค่าฤชาธรรมเนียมให้โจทก์ชำระแทนผู้ร้อง ๆ ย่อมฎีกาฉะเพาะค่าฤชาธรรมเนียมได้ตาม ป.ม.วิ.แพ่ง มาตรา 168 เพราะศาลอุทธรณ์มิได้กำหนดค่าฤชาธรรมเนียมไว้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 837/2492
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ที่ดินที่โอนเป็นราชพัสดุแล้ว ย่อมเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน ห้ามยึด และผู้ชนะคดีมีสิทธิเรียกร้องค่าฤชาธรรมเนียม
ที่ดินซึ่งกระทรวงการคลังรับโอนจากเอกชนมาขึ้นทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุ แล้วเอามาให้เอกชนเช่าอยู่นั้น ย่อมเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน
ที่ดินซึ่งเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน ผู้ใดไม่มีอำนาจยึด
ผู้ร้องชนะคดีโจทก์ชั้นศาลอุทธรณ์ แต่ศาลอุทธรณ์มิได้กำหนดค่าฤชาธรรมเนียมให้โจทก์ชำระแทนผู้ร้อง ผู้ร้องย่อมฎีกาเฉพาะค่าฤชาธรรมเนียมได้ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 168 เพราะศาลอุทธรณ์มิได้กำหนดค่าฤชาธรรมเนียมไว้
ที่ดินซึ่งเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน ผู้ใดไม่มีอำนาจยึด
ผู้ร้องชนะคดีโจทก์ชั้นศาลอุทธรณ์ แต่ศาลอุทธรณ์มิได้กำหนดค่าฤชาธรรมเนียมให้โจทก์ชำระแทนผู้ร้อง ผู้ร้องย่อมฎีกาเฉพาะค่าฤชาธรรมเนียมได้ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 168 เพราะศาลอุทธรณ์มิได้กำหนดค่าฤชาธรรมเนียมไว้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 519/2489
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
คดีอยู่ในระหว่างพิจารณา แม้ยังไม่ได้อ่านคำพิพากษา หากศาลสูงหมดอำนาจเหนือคดี ต้องจำหน่ายคดีและไม่ตัดสิทธิฟ้องร้องใหม่
คดีที่ศาลพิพากษาแล้วแต่ยังไม่ได้อ่านคำพิพากษา ย่อมถือว่าเป็นคดีอยู่ในระหว่างพิจารณาของศาลนั้น ๆ
เมื่อดินแดนในอาณาเขตต์ของศาลชั้นต้นได้โอนไปเป็นอาณาเขตต์ของประเทศอื่นในเวลาที่คดีอยู่ระหว่างพิจารณาของศาลสูง ศาลสูงก็ต้องสั่งจำหน่ายคดี
ในคดีที่ศาลสูงสั่งจำหน่ายคดีเพราะหมดอำนาจเหนือคดีนั้นศาลสั่งให้คืนค่าธรรมเนียมฉะเพาะศาลนั้น
เมื่อดินแดนในอาณาเขตต์ของศาลชั้นต้นได้โอนไปเป็นอาณาเขตต์ของประเทศอื่นในเวลาที่คดีอยู่ระหว่างพิจารณาของศาลสูง ศาลสูงก็ต้องสั่งจำหน่ายคดี
ในคดีที่ศาลสูงสั่งจำหน่ายคดีเพราะหมดอำนาจเหนือคดีนั้นศาลสั่งให้คืนค่าธรรมเนียมฉะเพาะศาลนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 50/2489 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมแบบเขียนเอง: อำนาจศาลสั่งค่าธรรมเนียม-ทนายความเกินคำขอ
กรณีที่ว่าเป็นพินัยกรรมเขียนเอง
ข้อความในหนังสือที่ถือว่ามีลักษณะเป็นพินัยกรรม์
ศาลอุทธรณ์มีอำนาจสั่งให้ผู้แพ้คดีใช้ค่าธรรมเนียม,ค่าทนาย 2 ศาลแทนผู้อุทธรณ์ได้ แม้ผู้อุทธรณ์มิได้ขอมาในฟ้องอุทธรณ์ก็ตาม
ข้อความในหนังสือที่ถือว่ามีลักษณะเป็นพินัยกรรม์
ศาลอุทธรณ์มีอำนาจสั่งให้ผู้แพ้คดีใช้ค่าธรรมเนียม,ค่าทนาย 2 ศาลแทนผู้อุทธรณ์ได้ แม้ผู้อุทธรณ์มิได้ขอมาในฟ้องอุทธรณ์ก็ตาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 50/2489
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
พินัยกรรมแบบเขียนเอง: การแต่งตั้งผู้ปกครองบุตรและการจัดการเงินเดือนหลังเสียชีวิต
สำเนาหนังสือของ สิบตรี ว. ผู้ตาย มีข้อความว่าสิบตรีว. ได้ไปราชการทหารได้ทำใบมอบฉันทะให้ย.และ ถ. เป็นผู้ปกครองบุตรและขอให้ช่วยจัดการให้ได้เข้าเรียนจนกว่าจะกลับจากราชการ และในระหว่างรับราชการนั้นหากเขาถึงแก่กรรมก็มอบให้คนทั้งสองรับเงินเดือนแทน ถ้ามีชีวิตอยู่จะรับเองขอให้คนทั้งสองนั้นช่วยปกครองบุตรแทนด้วยและว่าส่วนเงินเดือนนั้นหากว่าเขาถึงแก่กรรมจึงไปรับแทนสุดแต่ทางการจะมอบแก่คนใดคนหนึ่งก็ได้เพราะเป็นที่ไว้ใจ ถือว่าข้อความตามหนังสือดังกล่าวมีลักษณะเป็นพินัยกรรมและเป็นพินัยกรรมแบบเขียนเอง
ศาลอุทธรณ์มีอำนาจสั่งให้ผู้แพ้คดีใช้ค่าธรรมเนียม ค่าทนาย 2 ศาลแทนผู้อุทธรณ์ได้แม้ผู้อุทธรณ์ไม่ได้ขอมาในฟ้องอุทธรณ์ก็ตาม
ศาลอุทธรณ์มีอำนาจสั่งให้ผู้แพ้คดีใช้ค่าธรรมเนียม ค่าทนาย 2 ศาลแทนผู้อุทธรณ์ได้แม้ผู้อุทธรณ์ไม่ได้ขอมาในฟ้องอุทธรณ์ก็ตาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 420/2486
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่ารักษาทรัพย์ยึดก่อนมีคำพิพากษาเป็นค่าฤชาธรรมเนียมตามปกติ เว้นมีข้อตกลงอื่น
ค่ารักษาทรัพย์ที่ยึดไว้ก่อนมีคำพิพากษาย่อมถือได้ว่าเป็นค่าฤชาธรรมเนียม
ถ้าในข้อตกลงของคู่ความไม่มีว่ามิให้ถือว่าค่ารักษาทรัพย์เป็นค่าฤชาธรรมเนียมแล้ว ตามปกติก็ต้องถือว่าค่ารักษาทรัพย์เป็นค่าฤชาธรรมเนียม
ถ้าในข้อตกลงของคู่ความไม่มีว่ามิให้ถือว่าค่ารักษาทรัพย์เป็นค่าฤชาธรรมเนียมแล้ว ตามปกติก็ต้องถือว่าค่ารักษาทรัพย์เป็นค่าฤชาธรรมเนียม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 321-322/2483
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลแขวงไต่สวนมูลฟ้องคดีอาญา แม้มีอัตราโทษสูงกว่าที่กำหนด
คดีอาญาซึ่งมีอัตราโทษเกินอำนาจศาลแขวงที่จะพิจารณาพิพากษาได้นั้น ศาลแขวงมีอำนาจไต่สวนมูลฟ้องและเห็นว่าไม่มีมูลก็มีอำนาจพิพากษายกฟ้องได้ บทบัญญัติในมาตรา 167 แห่ง ประมวล วิธีพิจารณาความอาญานั้น เป็นบทบัญญัติเกี่ยวแก่กระบวนพิจารณาบรรยายกระบวน พิจารณาบรรยายวิธีการที่จะพึงปฏิบัติ มิใช่เป็นบทกำหนดอำนาจศาล
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 133/2481
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การถอนฟ้องในชั้นฎีกาและการคืนค่าธรรมเนียม
ในคดีแพ่งแม้จะมีคำพิพากษาของศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์แล้วก็ตาม โจทก์มาขอถอนฟ้องในขั้นฎีกาได้ค่าธรรมเนียม