พบผลลัพธ์ทั้งหมด 44 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 657-660/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การปฏิเสธการรับอุทธรณ์เนื่องจากค่าขึ้นศาลไม่ครบถ้วน และคำสั่งศาลอุทธรณ์ที่ถือเป็นที่สุด
ในการตรวจอุทธรณ์ที่ยื่นต่อศาลชั้นต้น ศาลชั้นต้นอาจตรวจทั้งในข้อที่คดีต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 224,230 รวมตลอดทั้งตรวจอุทธรณ์เพื่อปฏิเสธไม่ส่งอุทธรณ์นั้นในเหตุอื่นตามมาตรา 230 วรรค 2 และ มาตรา 232 ด้วย
ศาลชั้นต้นตรวจอุทธรณ์ของโจทก์ตามมาตรา 232 และมีคำสั่งให้คืนฟ้องอุทธรณ์ให้โจทก์เสียค่าฤชาธรรมเนียมให้ครบถ้วนคำสั่งศาลชั้นต้นนี้เป็นคำสั่งปฏิเสธไม่ส่งอุทธรณ์ไปยังศาลอุทธรณ์โดยเหตุผลดังที่ปรากฏในคำสั่งนั้น โจทก์จึงอุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่ได้รับอุทธรณ์ของโจทก์นี้ โดยยื่นคำขอเป็นคำร้องต่อศาลชั้นต้นตามมาตรา 234 ศาลอุทธรณ์พิจารณาคำร้องของโจทก์แล้วมีคำสั่งว่า ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งว่าโจทก์เสียค่าขึ้นศาลไม่ครบนั้นชอบแล้วให้ยกคำร้อง คำสั่งศาลอุทธรณ์ดังนี้เป็นคำสั่งยืนตามคำสั่งศาลชั้นต้นที่ปฏิเสธไม่ส่งอุทธรณ์ไปศาลอุทธรณ์นั่นเอง ซึ่งมาตรา 236 บัญญัติว่า คำสั่งศาลอุทธรณ์นี้ให้เป็นที่สุด โจทก์จึงฎีกาคำสั่งนี้ไม่ได้ (อ้างฎีกาที่ 1223/2498,1404/2498)
ศาลชั้นต้นตรวจอุทธรณ์ของโจทก์ตามมาตรา 232 และมีคำสั่งให้คืนฟ้องอุทธรณ์ให้โจทก์เสียค่าฤชาธรรมเนียมให้ครบถ้วนคำสั่งศาลชั้นต้นนี้เป็นคำสั่งปฏิเสธไม่ส่งอุทธรณ์ไปยังศาลอุทธรณ์โดยเหตุผลดังที่ปรากฏในคำสั่งนั้น โจทก์จึงอุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่ได้รับอุทธรณ์ของโจทก์นี้ โดยยื่นคำขอเป็นคำร้องต่อศาลชั้นต้นตามมาตรา 234 ศาลอุทธรณ์พิจารณาคำร้องของโจทก์แล้วมีคำสั่งว่า ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งว่าโจทก์เสียค่าขึ้นศาลไม่ครบนั้นชอบแล้วให้ยกคำร้อง คำสั่งศาลอุทธรณ์ดังนี้เป็นคำสั่งยืนตามคำสั่งศาลชั้นต้นที่ปฏิเสธไม่ส่งอุทธรณ์ไปศาลอุทธรณ์นั่นเอง ซึ่งมาตรา 236 บัญญัติว่า คำสั่งศาลอุทธรณ์นี้ให้เป็นที่สุด โจทก์จึงฎีกาคำสั่งนี้ไม่ได้ (อ้างฎีกาที่ 1223/2498,1404/2498)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 657-660/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การปฏิเสธการส่งอุทธรณ์เนื่องจากค่าขึ้นศาลไม่ครบ และคำสั่งศาลอุทธรณ์ที่ให้เป็นที่สุด
ในการตรวจอุทธรณ์ที่ยื่นต่อศาลชั้นต้น ศาลชั้นต้นอาจตรวจทั้งในข้อที่คดีต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 224, 230 รวมตลอดทั้งตรวจอุทธรณ์เพื่อปฏิเสธไม่ส่งอุทธรณ์นั้นในเหตุอื่นตามมาตรา 230 วรรค 2 และมาตรา 232 ด้วย
ศาลชั้นต้นตรวจอุทธรณ์ของโจทก์ตามมาตรา 232 และมีคำสั่งให้คืนฟ้องอุทธรณ์ให้โจทก์เสียค่าฤชาธรรมเนียมให้ครบถ้วน คำสั่งศาลชั้นต้นนี้เป็นคำสั่งปฏิเสธไม่ส่งอุทธรณ์ไปยังศาลอุทธรณ์โดยเหตุผลดังที่ปรากฏในคำสั่งนั้น โจทก์จึงอุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่ไม่รับอุทธรณ์ของโจทก์นี้ โดยยื่นคำขอเป็นคำร้องต่อศาลชั้นต้นตามมาตรา 234 ศาลอุทธรณ์พิจารณาคำร้องของโจทก์แล้วมีคำสั่งว่า ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งว่าโจทก์เสียค่าขึ้นศาลไม่ครบนั้นชอบแล้วให้ยกคำร้อง คำสั่งศาลอุทธรณ์ดังนี้เป็นคำสั่งยืนตามคำสั่งศาลชั้นต้นที่ปฏิเสธไม่ส่งอุทธรณ์ไปศาลอุทธรณ์นั่นเอง ซึ่งมาตรา 236 บัญญัติว่า คำสั่งศาลอุทธรณ์นี้ให้เป็นที่สุด โจทก์จึงฎีกาคำสั่งนี้ไม่ได้ (อ้างฎีกาที่ 1223/2498, 1404/2498)
ศาลชั้นต้นตรวจอุทธรณ์ของโจทก์ตามมาตรา 232 และมีคำสั่งให้คืนฟ้องอุทธรณ์ให้โจทก์เสียค่าฤชาธรรมเนียมให้ครบถ้วน คำสั่งศาลชั้นต้นนี้เป็นคำสั่งปฏิเสธไม่ส่งอุทธรณ์ไปยังศาลอุทธรณ์โดยเหตุผลดังที่ปรากฏในคำสั่งนั้น โจทก์จึงอุทธรณ์คำสั่งศาลชั้นต้นที่ไม่รับอุทธรณ์ของโจทก์นี้ โดยยื่นคำขอเป็นคำร้องต่อศาลชั้นต้นตามมาตรา 234 ศาลอุทธรณ์พิจารณาคำร้องของโจทก์แล้วมีคำสั่งว่า ที่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งว่าโจทก์เสียค่าขึ้นศาลไม่ครบนั้นชอบแล้วให้ยกคำร้อง คำสั่งศาลอุทธรณ์ดังนี้เป็นคำสั่งยืนตามคำสั่งศาลชั้นต้นที่ปฏิเสธไม่ส่งอุทธรณ์ไปศาลอุทธรณ์นั่นเอง ซึ่งมาตรา 236 บัญญัติว่า คำสั่งศาลอุทธรณ์นี้ให้เป็นที่สุด โจทก์จึงฎีกาคำสั่งนี้ไม่ได้ (อ้างฎีกาที่ 1223/2498, 1404/2498)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1041/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับอุทธรณ์ต้องชัดแจ้ง การสั่งรับเป็นฟ้องอุทธรณ์ทั่วไป ไม่ถือเป็นการรับรองอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง
การรับรองอุทธรณ์ว่า มีเหตุอันสมควรอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงได้นั้น ต้องเป็นการรับรองโดยชัดแจ้ง ฉะนั้น คำสั่งของผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นที่สั่งรับอุทธรณ์เพียงว่า "ให้รับเป็นฟ้องอุทธรณ์" เฉยๆ เท่านั้น ย่อมไม่ต้องด้วยข้อยกเว้นดังบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 224
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1041/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การรับอุทธรณ์ต้องชัดเจน การสั่งรับเป็นฟ้องอุทธรณ์อย่างเดียวไม่ถือเป็นการรับรองเหตุอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง
การรับรองอุทธรณ์ว่า มีเหตุอันสมควรอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงได้นั้น ต้องเป็นการรับรองโดยชัดแจ้ง ฉะนั้น คำสั่งของผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นที่สั่งรับอุทธรณ์เพียงว่า "ให้รับเป็นฟ้องอุทธรณ์" เฉย ๆ เท่านั้น ย่อมไม่ต้องด้วยข้อยกเว้นดังบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 224.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1619/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องของทายาท และการคุ้มครองสัญญาเช่าเคหะสถาน: ประเด็นข้อพิพาทเรื่องกรรมสิทธิ์และการอุทธรณ์ข้อเท็จจริง
สถานที่เช่าเป็นเคหะสถานอันได้รับความคุ้มครองจากพระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าหรือไม่นั้น จำเลยต้องนำสืบก่อน
ข้อพิพาทด้วยกรรมสิทธิ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 224 นั้น เป็นเรื่องที่คู่ความโต้เถียงกันว่าฝ่ายใดมีกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์เป็นประการสำคัญ การที่อ้างว่าผู้ใดไม่มีอำนาจฟ้องเพราะไม่มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์พิพาท ไม่ใช่ข้อพิพาทด้วยกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์
จำเลยอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง ศาลชั้นต้นสั่งว่า"รับเป็นอุทธรณ์ของจำเลยให้นำส่งสำเนาให้โจทก์ภายใน 15 วัน" ศาลฎีกาเห็นว่า ศาลชั้นต้นสั่งรับอุทธรณ์ตามธรรมดา ไม่ได้สั่งในรูปรับรองให้อุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 230 วรรคสอง เมื่อศาลอุทธรณ์เห็นว่าประเด็นใดเป็นประเด็นข้อเท็จจริงต้องห้ามไม่ให้อุทธรณ์ ก็ไม่หยิบยกประเด็นนั้นๆ ขึ้นวินิจฉัยเป็นการถูกต้องแล้ว
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1599 ทายาทย่อมได้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์มรดกตั้งแต่เจ้ามรดกตาย แม้จะยังไม่ได้จดทะเบียนสิทธินั้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1299 ก็ตาม
ข้อพิพาทด้วยกรรมสิทธิ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 224 นั้น เป็นเรื่องที่คู่ความโต้เถียงกันว่าฝ่ายใดมีกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์เป็นประการสำคัญ การที่อ้างว่าผู้ใดไม่มีอำนาจฟ้องเพราะไม่มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์พิพาท ไม่ใช่ข้อพิพาทด้วยกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์
จำเลยอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง ศาลชั้นต้นสั่งว่า"รับเป็นอุทธรณ์ของจำเลยให้นำส่งสำเนาให้โจทก์ภายใน 15 วัน" ศาลฎีกาเห็นว่า ศาลชั้นต้นสั่งรับอุทธรณ์ตามธรรมดา ไม่ได้สั่งในรูปรับรองให้อุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 230 วรรคสอง เมื่อศาลอุทธรณ์เห็นว่าประเด็นใดเป็นประเด็นข้อเท็จจริงต้องห้ามไม่ให้อุทธรณ์ ก็ไม่หยิบยกประเด็นนั้นๆ ขึ้นวินิจฉัยเป็นการถูกต้องแล้ว
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1599 ทายาทย่อมได้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์มรดกตั้งแต่เจ้ามรดกตาย แม้จะยังไม่ได้จดทะเบียนสิทธินั้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1299 ก็ตาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 605/2494
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
มติคณะกรรมการควบคุมค่าเช่าชอบด้วยกฎหมาย แม้ความเห็นอนุกรรมการฯจะต่างกัน การฟ้องขับไล่เป็นคนละประเด็น
มติของคณะกรรมการควบคุมค่าเช่าที่ให้ความยินยอมแก่ผู้ให้เช่าเข้าอยู่อาศัยในเคหะที่เช่าเองนั้น แม้ในชั้นแรกคณะอนุกรรมการฯจะมีความเห็นว่าไม่ควรอนุญาตก็ดี แต่เมื่อคณะกรรมการผู้มีอำนาจสูงกว่าได้พิจารณาอนุญาตแล้ว มตินั้นหาตกเป็นโมฆะไม่
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากเคหะที่เช่าโดยอ้างว่า ครบกำหนดสัญญาเช่าและบอกเลิกสัญญาเช่าแล้ว แต่ศาลพิพากษายกฟ้องโดยวินิจฉัยว่าจำเลยได้รับความคุ้มครองตาม พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ โจทก์จึงขอต่อคณะกรรมการฯเข้าอยู่เองเมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงฟ้องขอให้ขับไล่จำเลยอีกโดยอ้างมติอนุญาตของคณะกรรมการควบคุมค่าเช่าฯ ดังนี้ ย่อมเป็นคนละเรื่องคนละประเด็นกัน หาต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 148 หรือ 173(1)ไม่
ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นสั่งไม่รับอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงแล้วข้าหลวงยุติธรรมก็ยังมีอำนาจอนุญาตให้อุทธรณ์ในข้อเท็จจริงได้ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 230 วรรคสาม
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากเคหะที่เช่าโดยอ้างว่า ครบกำหนดสัญญาเช่าและบอกเลิกสัญญาเช่าแล้ว แต่ศาลพิพากษายกฟ้องโดยวินิจฉัยว่าจำเลยได้รับความคุ้มครองตาม พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่าฯ โจทก์จึงขอต่อคณะกรรมการฯเข้าอยู่เองเมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงฟ้องขอให้ขับไล่จำเลยอีกโดยอ้างมติอนุญาตของคณะกรรมการควบคุมค่าเช่าฯ ดังนี้ ย่อมเป็นคนละเรื่องคนละประเด็นกัน หาต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 148 หรือ 173(1)ไม่
ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นสั่งไม่รับอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงแล้วข้าหลวงยุติธรรมก็ยังมีอำนาจอนุญาตให้อุทธรณ์ในข้อเท็จจริงได้ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 230 วรรคสาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 605/2494 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
มติอนุญาตเข้าอยู่อาศัยและการฟ้องขับไล่ซ้ำ: ศาลฎีกาวินิจฉัยว่ามติไม่โมฆะและฟ้องซ้ำไม่ขัดกฎหมาย
มติของคณะกรรมการควบคุมค่าเช่าที่ให้ความยินยอมแก่ผู้ให้เช่าเข้าอยู่อาศัยในเคหะที่เช่าเองนั้น แม้ในชั้นแรกคณะอนุกรรมการฯจะมีความเห็นว่าไม่ควรอนุญาตก็ดี แต่เมื่อคณะกรรมการผู้มีอำนาจสูงกว่าได้พิจารณาอนุญาตแล้ว มตินั้นหาตกเป็นโมฆะไม่
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากเคหะที่เช่าโดยอ้างว่า ครบกำหนดสัญญาเช่าและบอกเลิกสัญญาเช่าแล้ว แต่ศาลพิพากษายกฟ้องโดยวินิจฉัยว่า จำเลยได้รับความคุ้มครองตามพ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ โจทก์จึงขอต่อคณะกรรมการณข้าอยู่เอง เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว+ฟ้องขอให้ขับไล่จำเลยอีก โดยทางมติอนุญาตของคณะกรรมการควบคุมค่าเช่า ฯ ดังนี้ย่อมเป็นคนละเรื่องคนละประเด็นกัน หาต้อง+ตาม ป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 148 หรือ 173 (1) ไม่
ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นสั่งไม่รับอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงแล้ว ข้าหลวงยุติธรรมก็ยังมีอำนาจอนุญาตให้อุทธรณ์ในข้อเท็จจริงได้ตาม ป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 230 วรรคสาม
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากเคหะที่เช่าโดยอ้างว่า ครบกำหนดสัญญาเช่าและบอกเลิกสัญญาเช่าแล้ว แต่ศาลพิพากษายกฟ้องโดยวินิจฉัยว่า จำเลยได้รับความคุ้มครองตามพ.ร.บ.ควบคุมค่าเช่าฯ โจทก์จึงขอต่อคณะกรรมการณข้าอยู่เอง เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว+ฟ้องขอให้ขับไล่จำเลยอีก โดยทางมติอนุญาตของคณะกรรมการควบคุมค่าเช่า ฯ ดังนี้ย่อมเป็นคนละเรื่องคนละประเด็นกัน หาต้อง+ตาม ป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 148 หรือ 173 (1) ไม่
ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นสั่งไม่รับอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงแล้ว ข้าหลวงยุติธรรมก็ยังมีอำนาจอนุญาตให้อุทธรณ์ในข้อเท็จจริงได้ตาม ป.ม.วิ.แพ่งมาตรา 230 วรรคสาม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 377/2482
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเครื่องหมายการค้า: คำบอกลักษณะสินค้าทั่วไปมิอาจจดทะเบียนได้ ศาลตัดสินคดีเลียนแบบตามพยานหลักฐานในสำนวน
โจทก์จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าบนกล่องสบู่คาบอลิกของโจทก์ว่า ควีนส์ 10 % "ซึ่งคำว่า 10% นี้เป็นคำบอกลักษณของสบู่นั้นว่ามีส่วนคาบอลิกผสมอยู่ 10 ใน 100 ส่วนดังนี้ โจทก์ไม่มีสิทธิจะใช้คำว่า 10% นี้ แต่ผู้เดียวเพราะเป็นคำ++ถึงลักษณะหรือคุณสมบัติแห่งสินค้าโดยตรงตามที่เข้าใจกันโดยธรรมดา
คดีเลียนแบบเครื่องหมายการค้านั้น ศาลไม่รับฟังคำพะยานบุคคลที่ออกความเห็นว่าเครื่องหมายอันนี้เลียนเครื่องหมาย+นั้นหรือไม่
คดีแพ่งซึ่งโจทก์ฟ้องขอให้ห้ามให้จำเลยใช้เครื่องหมายการค้าซึ่งเลียนแบบของโจทก์และขอให้ทำลายภาพเครื่องหมายดังว่านั้นโดยมิได้มีการเรียกค่าสินไหมทดแทนอย่างใด ต้องถือว่าคดีเช่นนี้เป็นคดี+ คู่ความจะอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงมิได้
คดีเลียนแบบเครื่องหมายการค้านั้น ศาลไม่รับฟังคำพะยานบุคคลที่ออกความเห็นว่าเครื่องหมายอันนี้เลียนเครื่องหมาย+นั้นหรือไม่
คดีแพ่งซึ่งโจทก์ฟ้องขอให้ห้ามให้จำเลยใช้เครื่องหมายการค้าซึ่งเลียนแบบของโจทก์และขอให้ทำลายภาพเครื่องหมายดังว่านั้นโดยมิได้มีการเรียกค่าสินไหมทดแทนอย่างใด ต้องถือว่าคดีเช่นนี้เป็นคดี+ คู่ความจะอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงมิได้