พบผลลัพธ์ทั้งหมด 219 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1617/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าสินไหมทดแทนจากการขาดไร้อุปการะของคู่สมรสหลังเกิดเหตุเสียชีวิต
สามีภริยาอยู่กินด้วยกันมาได้ 30 ปีเศษ ขณะมีชีวิตอยู่ได้ช่วยเหลือในทางค้าขาย แสดงว่าสามีภริยาต่างก็มีอุปการะซึ่งกันและกัน ฉะนั้นเมื่อฝ่ายหนึ่งตายลง ย่อมเป็นเหตุให้อีกฝ่ายหนึ่งต้องขาดไร้อุปการะและการขาดไร้อุปการะเช่นว่านี้เป็นการขาดไร้อุปการะตามกฎหมายผู้ที่มีชีวิตอยู่จึงชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1617/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าสินไหมทดแทนจากการเสียชีวิต: การขาดไร้อุปการะระหว่างสามีภริยา
สามีภริยาอยู่กินด้วยกันมาได้ 30 ปีเศษ. ขณะมีชีวิตอยู่ได้ช่วยเหลือในทางค้าขาย แสดงว่าสามีภริยาต่างก็มีอุปการะซึ่งกันและกัน. ฉะนั้นเมื่อฝ่ายหนึ่งตายลง ย่อมเป็นเหตุให้อีกฝ่ายหนึ่งต้องขาดไร้อุปการะและการขาดไร้อุปการะเช่นว่านี้เป็นการขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย.ผู้ที่มีชีวิตอยู่จึงชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้นได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 458/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตร: มารดาฟ้องแทนบุตรได้หรือไม่ และค่าเสียหายเป็นของใคร
โจทก์ฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนเป็นค่าอุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาสำหรับบุตรด้วยจำนวนหนึ่งจำเลยให้การต่อสู้ฟ้องข้อนี้ว่าโจทก์ไม่ใช่ผู้ขาดอุปการะเลี้ยงดูโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องให้จำเลยชดใช้ เป็นข้ออ้างข้อเถียงอันเกิดจากคำฟ้องและคำให้การเป็นประเด็นข้อพิพาทว่าโจทก์มีอำนาจฟ้องเรียกค่าเสียหายส่วนนี้ได้หรือไม่
ฟ้องโจทก์บรรยายว่า ผู้ตายซึ่งเป็นบิดามีบุตรกับโจทก์ 4 คน พร้อมทั้งระบุชื่อและอายุของบุตรทุกคน บุตรเหล่านี้อยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของผู้ตายขณะยังมีชีวิตเมื่อผู้ตายตายบุตรเหล่านี้ขาดที่พึ่งและผู้อุปการะเลี้ยงดู จึงขอเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูของบุตรเหล่านี้ ดังนี้ มีความหมายพอเข้าใจได้ว่าบุตรเหล่านี้ขอเรียกค่าเสียหายตามสิทธิของตนนั่นเองแต่เพราะเหตุที่บุตรเหล่านี้มีอายุอย่างสูงเพียง 6 ปี ฟ้องด้วยตนเองไม่ได้โจทก์ซึ่งเป็นมารดาจึงฟ้องแทนตามฟ้อง ถือได้ว่าโจทก์ฟ้องในนามของบุตรโดยปริยาย
มารดาไม่มีสิทธิฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรจากผู้ทำละเมิดต่อบิดาของบุตรในนามของมารดาเพราะค่าเสียหายส่วนนี้เป็นค่าเสียหายของบุตรที่ขาดการอุปการะเลี้ยงดู
ฟ้องโจทก์บรรยายว่า ผู้ตายซึ่งเป็นบิดามีบุตรกับโจทก์ 4 คน พร้อมทั้งระบุชื่อและอายุของบุตรทุกคน บุตรเหล่านี้อยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของผู้ตายขณะยังมีชีวิตเมื่อผู้ตายตายบุตรเหล่านี้ขาดที่พึ่งและผู้อุปการะเลี้ยงดู จึงขอเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูของบุตรเหล่านี้ ดังนี้ มีความหมายพอเข้าใจได้ว่าบุตรเหล่านี้ขอเรียกค่าเสียหายตามสิทธิของตนนั่นเองแต่เพราะเหตุที่บุตรเหล่านี้มีอายุอย่างสูงเพียง 6 ปี ฟ้องด้วยตนเองไม่ได้โจทก์ซึ่งเป็นมารดาจึงฟ้องแทนตามฟ้อง ถือได้ว่าโจทก์ฟ้องในนามของบุตรโดยปริยาย
มารดาไม่มีสิทธิฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรจากผู้ทำละเมิดต่อบิดาของบุตรในนามของมารดาเพราะค่าเสียหายส่วนนี้เป็นค่าเสียหายของบุตรที่ขาดการอุปการะเลี้ยงดู
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 458/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตร: มารดาฟ้องแทนบุตรยังเยาว์ได้ แต่ค่าเสียหายเป็นของบุตร
โจทก์ฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนเป็นค่าอุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาสำหรับบุตรด้วยจำนวนหนึ่ง จำเลยให้การต่อสู้ฟ้องข้อนี้ว่าโจทก์ไม่ใช่ผู้ขาดอุปการะเลี้ยงดู โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องให้จำเลยชดใช้ เป็นข้ออ้างข้อเถียงอันเกิดจากคำฟ้องและคำให้การเป็นประเด็นข้อพิพาทว่าโจทก์มีอำนาจฟ้องเรียกค่าเสียหายส่วนนี้ได้หรือไม่
ฟ้องโจทก์บรรยายว่า ผู้ตายซึ่งเป็นบิดามีบุตรกับโจทก์ 4 คน พร้อมทั้งระบุชื่อและอายุของบุตรทุกคน บุตรเหล่านี้อยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของผู้ตายขณะยังมีชีวิต เมื่อผู้ตายตาย บุตรเหล่านี้ขาดที่พึ่งและผู้อุปการะเลี้ยงดู จึงขอเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูของบุตรเหล่านี้ ดังนี้ มีความหมายพอเข้าใจได้ว่าบุตรเหล่านี้ขอเรียกค่าเสียหายตามสิทธิของตนนั่นเอง แต่เพราะเหตุที่บุตรเหล่านี้มีอายุอย่างสูงเพียง 6 ปี ฟ้องด้วยตนเองไม่ได้ โจทก์ซึ่งเป็นมารดาจึงฟ้องแทนตามฟ้อง ถือได้ว่าโจทก์ฟ้องในนามของบุตรโดยปริยาย
มารดาไม่มีสิทธิฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรจากผู้ทำละเมิดต่อบิดาของบุตรในนามของมารดา เพราะค่าเสียหายส่วนนี้เป็นค่าเสียหายของบุตรที่ขาดการอุปการะเลี้ยงดู
ฟ้องโจทก์บรรยายว่า ผู้ตายซึ่งเป็นบิดามีบุตรกับโจทก์ 4 คน พร้อมทั้งระบุชื่อและอายุของบุตรทุกคน บุตรเหล่านี้อยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของผู้ตายขณะยังมีชีวิต เมื่อผู้ตายตาย บุตรเหล่านี้ขาดที่พึ่งและผู้อุปการะเลี้ยงดู จึงขอเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูของบุตรเหล่านี้ ดังนี้ มีความหมายพอเข้าใจได้ว่าบุตรเหล่านี้ขอเรียกค่าเสียหายตามสิทธิของตนนั่นเอง แต่เพราะเหตุที่บุตรเหล่านี้มีอายุอย่างสูงเพียง 6 ปี ฟ้องด้วยตนเองไม่ได้ โจทก์ซึ่งเป็นมารดาจึงฟ้องแทนตามฟ้อง ถือได้ว่าโจทก์ฟ้องในนามของบุตรโดยปริยาย
มารดาไม่มีสิทธิฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรจากผู้ทำละเมิดต่อบิดาของบุตรในนามของมารดา เพราะค่าเสียหายส่วนนี้เป็นค่าเสียหายของบุตรที่ขาดการอุปการะเลี้ยงดู
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 458/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตร: มารดาฟ้องแทนบุตรได้หรือไม่ และต้องเป็นผู้เสียหายโดยตรงหรือไม่
โจทก์ฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนเป็นค่าอุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาสำหรับบุตรด้วยจำนวนหนึ่ง. จำเลยให้การต่อสู้ฟ้องข้อนี้ว่าโจทก์ไม่ใช่ผู้ขาดอุปการะเลี้ยงดู. โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้องให้จำเลยชดใช้. เป็นข้ออ้างข้อเถียงอันเกิดจากคำฟ้องและคำให้การเป็นประเด็นข้อพิพาทว่าโจทก์มีอำนาจฟ้องเรียกค่าเสียหายส่วนนี้ได้หรือไม่.
ฟ้องโจทก์บรรยายว่า ผู้ตายซึ่งเป็นบิดามีบุตรกับโจทก์4 คน พร้อมทั้งระบุชื่อและอายุของบุตรทุกคน. บุตรเหล่านี้อยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของผู้ตายขณะยังมีชีวิต. เมื่อผู้ตายตาย. บุตรเหล่านี้ขาดที่พึ่งและผู้อุปการะเลี้ยงดู จึงขอเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูของบุตรเหล่านี้. ดังนี้ มีความหมายพอเข้าใจได้ว่าบุตรเหล่านี้ขอเรียกค่าเสียหายตามสิทธิของตนนั่นเอง. แต่เพราะเหตุที่บุตรเหล่านี้มีอายุอย่างสูงเพียง 6 ปี ฟ้องด้วยตนเองไม่ได้. โจทก์ซึ่งเป็นมารดาจึงฟ้องแทนตามฟ้อง ถือได้ว่าโจทก์ฟ้องในนามของบุตรโดยปริยาย.
มารดาไม่มีสิทธิฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรจากผู้ทำละเมิดต่อบิดาของบุตรในนามของมารดา. เพราะค่าเสียหายส่วนนี้เป็นค่าเสียหายของบุตรที่ขาดการอุปการะเลี้ยงดู.
ฟ้องโจทก์บรรยายว่า ผู้ตายซึ่งเป็นบิดามีบุตรกับโจทก์4 คน พร้อมทั้งระบุชื่อและอายุของบุตรทุกคน. บุตรเหล่านี้อยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของผู้ตายขณะยังมีชีวิต. เมื่อผู้ตายตาย. บุตรเหล่านี้ขาดที่พึ่งและผู้อุปการะเลี้ยงดู จึงขอเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูของบุตรเหล่านี้. ดังนี้ มีความหมายพอเข้าใจได้ว่าบุตรเหล่านี้ขอเรียกค่าเสียหายตามสิทธิของตนนั่นเอง. แต่เพราะเหตุที่บุตรเหล่านี้มีอายุอย่างสูงเพียง 6 ปี ฟ้องด้วยตนเองไม่ได้. โจทก์ซึ่งเป็นมารดาจึงฟ้องแทนตามฟ้อง ถือได้ว่าโจทก์ฟ้องในนามของบุตรโดยปริยาย.
มารดาไม่มีสิทธิฟ้องเรียกค่าเลี้ยงดูบุตรจากผู้ทำละเมิดต่อบิดาของบุตรในนามของมารดา. เพราะค่าเสียหายส่วนนี้เป็นค่าเสียหายของบุตรที่ขาดการอุปการะเลี้ยงดู.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1648/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดนายจ้างต่อละเมิดของลูกจ้าง, ค่าปลงศพ, ค่าขาดไร้อุปการะ, และดอกเบี้ย
โจทก์บรรยายฟ้องว่า โจทก์เป็นบิดาผู้ปกครองผู้ตายซึ่งมีอายุ 19 ปี จำเลยมิได้ให้การปฏิเสธหรือยกเป็นข้อต่อสู้ว่าโจทก์ไม่ใช่บิดาผู้ปกครองผู้ตาย ข้อที่ว่าผู้ตายเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของโจทก์หรือไม่ จึงไม่เป็นประเด็นโต้เถียงกัน
ผู้มีชื่อนำรถยนต์เข้ามาวิ่งร่วมในเส้นทางสัมปทานของบริษัทจำเลยที่ 2 โดยโอนกรรมสิทธิ์รถให้จำเลยที่ 2 ต้องพ่นสีและตีตราเป็นรถของจำเลยที่ 2 คนเก็บเงินค่าโดยสารต้องแต่งเครื่องแบบของจำเลยที่ 2 ถ้าประพฤติตนไม่ดี ผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 2 มีอำนาจพิจารณาลงโทษได้ ตั๋วที่จำหน่ายแก่ผู้โดยสารก็เป็นตั๋วของจำเลยที่ 2 นอกจากนี้จำเลยที่ 2 ยังได้ผลประโยชน์ตอบแทนเป็นค่าบริการเมื่อรถเข้าจอดเทียบสถานีของจำเลยที่ 2 เที่ยวละ 3 บาท พฤติการณ์ดังกล่าวนี้ชี้ชัดว่าจำเลยที่ 2 ยอมรับว่ารถยนต์ดังกล่าวเป็นรถของจำเลยที่ 2 หรือจำเลยที่ 2 ได้ร่วมกับเจ้าของรถมีรถยนต์ดังกล่าวเพื่อใช้ในกิจการหารายได้ของจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 1 คนขับรถปฏิบัติกิจการของจำเลยที่ 2 โดยมีสินจ้าง จำเลยที่ 2 จึงเป็นนายจ้างต้องร่วมรับผิดในผลละเมิดของจำเลยที่ 1 ซึ่งขับรถชนบุตรโจทก์ในระหว่างขับรถขนส่งคนโดยสารในกิจการของจำเลยที่ 2 (อ้างฎีกาที่ 1576/2506)
ค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจำเป็นจะต้องพิจารณาตามความสมควร ตามความจำเป็น และตามฐานะของผู้ตายและบิดามารดา ทั้งต้องพิจารณาถึงประเพณีการทำศพตามลัทธินิยมประกอบด้วย และต้องไม่ใช่รายการที่ฟุ่มเฟือยเกินไป
การที่บุตรตายลงทำให้บิดาต้องขาดไร้อุปการะ บิดาชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากการต้องขาดไร้อุปการะ โดยไม่ต้องพิจารณาว่าปัจจุบันผู้ตายจะได้อุปการะเลี้ยงดูบิดาหรือไม่ (อ้างฎีกาที่ 1742/2499)
ค่าสินไหมทดแทนค่าขาดไร้อุปการะเป็นหนี้ค่าเสียหายในอนาคตซึ่งมีจำนวนกำหนดแน่นอน โจทก์สามารถบังคับได้ในวันที่ศาลชั้นต้นพิพากษา โจทก์จึงมีสิทธิจะได้รับดอกเบี้ยนับแต่วันที่ศาลชั้นต้นพิพากษา
ผู้มีชื่อนำรถยนต์เข้ามาวิ่งร่วมในเส้นทางสัมปทานของบริษัทจำเลยที่ 2 โดยโอนกรรมสิทธิ์รถให้จำเลยที่ 2 ต้องพ่นสีและตีตราเป็นรถของจำเลยที่ 2 คนเก็บเงินค่าโดยสารต้องแต่งเครื่องแบบของจำเลยที่ 2 ถ้าประพฤติตนไม่ดี ผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 2 มีอำนาจพิจารณาลงโทษได้ ตั๋วที่จำหน่ายแก่ผู้โดยสารก็เป็นตั๋วของจำเลยที่ 2 นอกจากนี้จำเลยที่ 2 ยังได้ผลประโยชน์ตอบแทนเป็นค่าบริการเมื่อรถเข้าจอดเทียบสถานีของจำเลยที่ 2 เที่ยวละ 3 บาท พฤติการณ์ดังกล่าวนี้ชี้ชัดว่าจำเลยที่ 2 ยอมรับว่ารถยนต์ดังกล่าวเป็นรถของจำเลยที่ 2 หรือจำเลยที่ 2 ได้ร่วมกับเจ้าของรถมีรถยนต์ดังกล่าวเพื่อใช้ในกิจการหารายได้ของจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 1 คนขับรถปฏิบัติกิจการของจำเลยที่ 2 โดยมีสินจ้าง จำเลยที่ 2 จึงเป็นนายจ้างต้องร่วมรับผิดในผลละเมิดของจำเลยที่ 1 ซึ่งขับรถชนบุตรโจทก์ในระหว่างขับรถขนส่งคนโดยสารในกิจการของจำเลยที่ 2 (อ้างฎีกาที่ 1576/2506)
ค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจำเป็นจะต้องพิจารณาตามความสมควร ตามความจำเป็น และตามฐานะของผู้ตายและบิดามารดา ทั้งต้องพิจารณาถึงประเพณีการทำศพตามลัทธินิยมประกอบด้วย และต้องไม่ใช่รายการที่ฟุ่มเฟือยเกินไป
การที่บุตรตายลงทำให้บิดาต้องขาดไร้อุปการะ บิดาชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากการต้องขาดไร้อุปการะ โดยไม่ต้องพิจารณาว่าปัจจุบันผู้ตายจะได้อุปการะเลี้ยงดูบิดาหรือไม่ (อ้างฎีกาที่ 1742/2499)
ค่าสินไหมทดแทนค่าขาดไร้อุปการะเป็นหนี้ค่าเสียหายในอนาคตซึ่งมีจำนวนกำหนดแน่นอน โจทก์สามารถบังคับได้ในวันที่ศาลชั้นต้นพิพากษา โจทก์จึงมีสิทธิจะได้รับดอกเบี้ยนับแต่วันที่ศาลชั้นต้นพิพากษา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1648/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดทางละเมิดของนายจ้างต่อการกระทำของลูกจ้าง, ค่าปลงศพ, ค่าขาดไร้อุปการะ และดอกเบี้ย
โจทก์บรรยายฟ้องว่า โจทก์เป็นบิดาผู้ปกครองผู้ตายซึ่งมีอายุ 19 ปีจำเลยมิได้ให้การปฏิเสธหรือยกเป็นข้อต่อสู้ว่าโจทก์ไม่ใช่บิดาผู้ปกครองผู้ตาย ข้อที่ว่าผู้ตายเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของโจทก์หรือไม่ จึงไม่เป็นประเด็นโต้เถียงกัน
ผู้มีชื่อนำรถยนต์เข้ามาวิ่งร่วมในเส้นทางสัมปทานของบริษัทจำเลยที่ 2 โดยโอนกรรมสิทธิ์รถให้จำเลยที่ 2 ต้องพ่นสีและตีตราเป็นรถของจำเลยที่ 2 คนเก็บเงินค่าโดยสารต้องแต่งเครื่องแบบของจำเลยที่ 2 ถ้าประพฤติตนไม่ดี ผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 2 มีอำนาจพิจารณาลงโทษได้ ตั๋วที่จำหน่ายแก่ผู้โดยสารก็เป็นตั๋วของจำเลยที่ 2 นอกจากนี้จำเลยที่ 2 ยังได้ผลประโยชน์ตอบแทนเป็นค่าบริการเมื่อรถเข้าจอดเทียบสถานีของจำเลยที่ 2 เที่ยวละ 3 บาท พฤติการณ์ดังกล่าวนี้ชี้ชัดว่าจำเลยที่ 2 ยอมรับว่ารถยนต์ดังกล่าวเป็นรถของจำเลยที่ 2 หรือจำเลยที่ 2 ได้ร่วมกับเจ้าของรถมีรถยนต์ดังกล่าวเพื่อใช้ในกิจการหารายได้ของจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 1 คนขับรถปฏิบัติกิจการของจำเลยที่ 2 โดยมีสินจ้าง จำเลยที่ 2 จึงเป็นนายจ้างต้องร่วมรับผิดในผลละเมิดของจำเลยที่ 1 ซึ่งขับรถชนบุตรโจทก์ในระหว่างขับรถขนส่งคนโดยสารในกิจการของจำเลยที่ 2 (อ้างฎีกา ที่ 1576/2506)
ค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจำเป็นจะต้องพิจารณาตามความสมควร ตามความจำเป็น และตามฐานะของผู้ตายและบิดามารดา ทั้งต้องพิจารณาถึงประเพณีการทำศพตามลัทธินิยมประกอบด้วย และต้องไม่ใช่รายการที่ฟุ่มเฟือยเกินไป
การที่บุตรตายลงทำให้บิดาต้องขาดไร้อุปการะบิดาชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากการต้องขาดไร้อุปการะ โดยไม่ต้องพิจารณาว่าปัจจุบันผู้ตายจะได้อุปการะเลี้ยงดูบิดาหรือไม่ (อ้างฎีกาที่ 1742/2499)
ค่าสินไหมทดแทนค่าขาดไร้อุปการะเป็นหนี้ค่าเสียหายในอนาคตซึ่งมีจำนวนกำหนดแน่นอน โจทก์สามารถบังคับได้ในวันที่ศาลชั้นต้นพิพากษา โจทก์จึงมีสิทธิจะได้รับดอกเบี้ยนับแต่วันที่ศาลชั้นต้นพิพากษา
ผู้มีชื่อนำรถยนต์เข้ามาวิ่งร่วมในเส้นทางสัมปทานของบริษัทจำเลยที่ 2 โดยโอนกรรมสิทธิ์รถให้จำเลยที่ 2 ต้องพ่นสีและตีตราเป็นรถของจำเลยที่ 2 คนเก็บเงินค่าโดยสารต้องแต่งเครื่องแบบของจำเลยที่ 2 ถ้าประพฤติตนไม่ดี ผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 2 มีอำนาจพิจารณาลงโทษได้ ตั๋วที่จำหน่ายแก่ผู้โดยสารก็เป็นตั๋วของจำเลยที่ 2 นอกจากนี้จำเลยที่ 2 ยังได้ผลประโยชน์ตอบแทนเป็นค่าบริการเมื่อรถเข้าจอดเทียบสถานีของจำเลยที่ 2 เที่ยวละ 3 บาท พฤติการณ์ดังกล่าวนี้ชี้ชัดว่าจำเลยที่ 2 ยอมรับว่ารถยนต์ดังกล่าวเป็นรถของจำเลยที่ 2 หรือจำเลยที่ 2 ได้ร่วมกับเจ้าของรถมีรถยนต์ดังกล่าวเพื่อใช้ในกิจการหารายได้ของจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 1 คนขับรถปฏิบัติกิจการของจำเลยที่ 2 โดยมีสินจ้าง จำเลยที่ 2 จึงเป็นนายจ้างต้องร่วมรับผิดในผลละเมิดของจำเลยที่ 1 ซึ่งขับรถชนบุตรโจทก์ในระหว่างขับรถขนส่งคนโดยสารในกิจการของจำเลยที่ 2 (อ้างฎีกา ที่ 1576/2506)
ค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจำเป็นจะต้องพิจารณาตามความสมควร ตามความจำเป็น และตามฐานะของผู้ตายและบิดามารดา ทั้งต้องพิจารณาถึงประเพณีการทำศพตามลัทธินิยมประกอบด้วย และต้องไม่ใช่รายการที่ฟุ่มเฟือยเกินไป
การที่บุตรตายลงทำให้บิดาต้องขาดไร้อุปการะบิดาชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากการต้องขาดไร้อุปการะ โดยไม่ต้องพิจารณาว่าปัจจุบันผู้ตายจะได้อุปการะเลี้ยงดูบิดาหรือไม่ (อ้างฎีกาที่ 1742/2499)
ค่าสินไหมทดแทนค่าขาดไร้อุปการะเป็นหนี้ค่าเสียหายในอนาคตซึ่งมีจำนวนกำหนดแน่นอน โจทก์สามารถบังคับได้ในวันที่ศาลชั้นต้นพิพากษา โจทก์จึงมีสิทธิจะได้รับดอกเบี้ยนับแต่วันที่ศาลชั้นต้นพิพากษา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1169-1170/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดทางละเมิดจากการชนรถยนต์ หลักการสันนิษฐานผู้ผิด และขอบเขตความรับผิดของนายจ้าง
การที่รถยนต์จำเลยแล่นเข้าไปชนรถยนต์โจทก์ทางด้านขวาของถนน เบื้องต้นศาลสันนิษฐานตามกฎหมายว่ารถยนต์จำเลยเป็นผู้ผิด จำเลยมีหน้าที่ต้องนำสืบหักล้างว่าจำเลยมิใช่เป็นผู้ผิด เมื่อนายจ้างจะต้องรับผิดร่วมกับจำเลย นายจ้างจึงต้องมีหน้าที่นำสืบหักล้าง ถ้านำสืบหักล้างไม่ได้ ก็ไม่จำต้องอาศัยคำพยานโจทก์มาวินิจฉัยว่าจำเลยเป็นฝ่ายผิดอีก การที่จำเลยแล่นรถทางขวาของถนนเพื่อจะหลีกขึ้นหน้าโดยคาดหรือเดาเอาว่ารถโจทก์จะเลี้ยวทางซ้ายนั้น เป็นการเสี่ยงภัยของตนเองมิใช่หลบหลีกให้พ้นอันตราย จึงไม่อาจลบล้างข้อสันนิษฐานที่ว่ารถจำเลยเป็นผู้ผิดได้ การที่จำเลยเสี่ยงภัยเช่นนี้ และเหตุที่รถชนกันก็เพราะรถจำเลยแล่นผิดทาง จำเลยจึงเป็นฝ่ายผิด
จำเลยที่ 1 เป็นหัวหน้าหมวดขนส่ง มีหน้าที่ควบคุมการจ่ายรถ ซ่อมรถของโรงงานซึ่งจำเลยที่ 2 เป็นนายจ้าง การที่จำเลยที่ 1 เอารถไปลองเครื่องจึงเป็นการกระทำในกิจการงานของโรงงาน เป็นทางการที่จ้าง
การทำงานในวันหยุดหรือทำงานนอกเวลาทำงานตามปกติ หากงานที่ทำเป็นกิจการของนายจ้าง ก็คงเป็นการงานในทางการที่จ้างนั่นเอง หาได้กลายเป็นงานส่วนตัวของผู้ทำไม่
การที่นายจ้างจ้างลูกจ้างทำงานให้ตน หากลูกจ้างฝ่าฝืนคำสั่งหรือระเบียบ แต่ยังปฏิบัติงานของนายจ้างอยู่ นายจ้างจะอ้างคำสั่งหรือระเบียบภายในมาต่อสู้บุคคลภายนอกหาได้ไม่ นายจ้างจึงต้องร่วมรับผิด
การก่อเจดีย์บรรจุอัฐิผู้ตายไม่ใช่ค่าใช้จ่ายอันจำเป็นที่จะให้ผู้รับผิดชอบชดใช้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 443
ตามกฎหมาย บิดาต้องอุปการะเลี้ยงดูบุตรจนกว่าจะบรรลุนิติภาวะ เมื่อบุตรมีสิทธิเรียกค่าขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย ก็ชอบที่จะเรียกได้จนกว่าจะบรรลุนิติภาวะหากเป็นที่เห็นได้ว่าบิดาจะมีชีวิตอยู่อุปการะได้ถึงเวลานั้น
ค่าสินไหมทดแทนเป็นหนี้ที่ต้องชดใช้เป็นเงินจึงเป็นหนี้เงินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 224
หนี้อันเกิดแต่มูลละเมิด ถือว่าลูกหนี้ผิดนัดมาแต่เวลาที่ทำละเมิด ลูกหนี้จึงต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนรวมทั้งดอกเบี้ยด้วย เว้นแต่ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นภายหลัง เช่น ค่าปลงศพ ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ลูกหนี้จะต้องเสียดอกเบี้ยนับแต่วันที่ต้องรับผิดชดใช้เป็นต้นไป ส่วนค่าสินไหมในการที่โจทก์ต้องขาดไร้อุปการะนั้น เมื่อศาลกำหนดให้จำเลยใช้เป็นเงินจำนวนหนึ่ง จำเป็นหนี้เงินที่จำเลยต้องชำระตามคำพิพากษา และต้องเสียดอกเบี้ยตั้งแต่วันศาลพิพากษาเป็นต้นไป ถ้าจำนวนเงินตรงกันตั้งแต่ศาลชั้นใด ก็คิดดอกเบี้ยตั้งแต่วันศาลล่างพิพากษา
จำเลยที่ 1 เป็นหัวหน้าหมวดขนส่ง มีหน้าที่ควบคุมการจ่ายรถ ซ่อมรถของโรงงานซึ่งจำเลยที่ 2 เป็นนายจ้าง การที่จำเลยที่ 1 เอารถไปลองเครื่องจึงเป็นการกระทำในกิจการงานของโรงงาน เป็นทางการที่จ้าง
การทำงานในวันหยุดหรือทำงานนอกเวลาทำงานตามปกติ หากงานที่ทำเป็นกิจการของนายจ้าง ก็คงเป็นการงานในทางการที่จ้างนั่นเอง หาได้กลายเป็นงานส่วนตัวของผู้ทำไม่
การที่นายจ้างจ้างลูกจ้างทำงานให้ตน หากลูกจ้างฝ่าฝืนคำสั่งหรือระเบียบ แต่ยังปฏิบัติงานของนายจ้างอยู่ นายจ้างจะอ้างคำสั่งหรือระเบียบภายในมาต่อสู้บุคคลภายนอกหาได้ไม่ นายจ้างจึงต้องร่วมรับผิด
การก่อเจดีย์บรรจุอัฐิผู้ตายไม่ใช่ค่าใช้จ่ายอันจำเป็นที่จะให้ผู้รับผิดชอบชดใช้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 443
ตามกฎหมาย บิดาต้องอุปการะเลี้ยงดูบุตรจนกว่าจะบรรลุนิติภาวะ เมื่อบุตรมีสิทธิเรียกค่าขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย ก็ชอบที่จะเรียกได้จนกว่าจะบรรลุนิติภาวะหากเป็นที่เห็นได้ว่าบิดาจะมีชีวิตอยู่อุปการะได้ถึงเวลานั้น
ค่าสินไหมทดแทนเป็นหนี้ที่ต้องชดใช้เป็นเงินจึงเป็นหนี้เงินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 224
หนี้อันเกิดแต่มูลละเมิด ถือว่าลูกหนี้ผิดนัดมาแต่เวลาที่ทำละเมิด ลูกหนี้จึงต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนรวมทั้งดอกเบี้ยด้วย เว้นแต่ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นภายหลัง เช่น ค่าปลงศพ ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ลูกหนี้จะต้องเสียดอกเบี้ยนับแต่วันที่ต้องรับผิดชดใช้เป็นต้นไป ส่วนค่าสินไหมในการที่โจทก์ต้องขาดไร้อุปการะนั้น เมื่อศาลกำหนดให้จำเลยใช้เป็นเงินจำนวนหนึ่ง จำเป็นหนี้เงินที่จำเลยต้องชำระตามคำพิพากษา และต้องเสียดอกเบี้ยตั้งแต่วันศาลพิพากษาเป็นต้นไป ถ้าจำนวนเงินตรงกันตั้งแต่ศาลชั้นใด ก็คิดดอกเบี้ยตั้งแต่วันศาลล่างพิพากษา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1068/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากอุบัติเหตุทางรถยนต์ของผู้เช่าซื้อ และการฟ้องรวมค่าเสียหายของครอบครัว
ผู้ที่เช่าซื้อทรัพย์โดยมีข้อสัญญาว่าผู้เช่าซื้อจะระมัดระวังดูแลรักษาทรัพย์นั้นให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยคงเดิม การชำรุดเสียหายเป็นหน้าที่ของผู้เช่าซื้อจะต้องซ่อมแซม เมื่อทรัพย์นั้นถูกทำละเมิดให้เสียหาย และผู้เช่าซื้อได้ชำระเงินค่าซ่อมแซมไปแล้ว จึงเป็นผู้เสียหายโดยตรง มีอำนาจฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนได้
โจทก์บรรยายฟ้องว่าโจทก์ได้รับบาดเจ็บสาหัสต้องรักษาตัวเกิน 20 วัน โจทก์ต้องรักษาตัว เสียค่ายา ค่ารักษา จึงขอคิดค่าเสียหายและค่าใช้จ่ายรวมทั้งค่าทนทุกข์ทรมาน 5,000 บาท ดังนี้ ฟ้องของโจทก์ไม่เคลือบคลุม เพราะค่าเสียหายเป็นค่าอะไร เท่าใดเสียให้แก่ใคร เมื่อใด และเพราะเหตุใดนั้น เป็นรายละเอียดซึ่งต้องนำสืบในชั้นพิจารณา(อ้างฎีกาที่ 497/2499)
โจทก์เช่าซื้อรถมาใช้ในครอบครัวระหว่างโจทก์และสามีโจทก์ โดยใช้ไปทำงานด้วยกันโดยสามีโจทก์เป็นผู้ขับ เมื่อจำเลยทำละเมิดทำให้รถดังกล่าวเสียหายต้องเข้าอู่ซ่อม เป็นเหตุให้โจทก์และสามีโจทก์ต้องจ้างรถยนต์รับจ้างไปทำงานและรับแพทย์มารักษาโจทก์ โจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวรวมกันมาได้
โจทก์บรรยายฟ้องว่าโจทก์ได้รับบาดเจ็บสาหัสต้องรักษาตัวเกิน 20 วัน โจทก์ต้องรักษาตัว เสียค่ายา ค่ารักษา จึงขอคิดค่าเสียหายและค่าใช้จ่ายรวมทั้งค่าทนทุกข์ทรมาน 5,000 บาท ดังนี้ ฟ้องของโจทก์ไม่เคลือบคลุม เพราะค่าเสียหายเป็นค่าอะไร เท่าใดเสียให้แก่ใคร เมื่อใด และเพราะเหตุใดนั้น เป็นรายละเอียดซึ่งต้องนำสืบในชั้นพิจารณา(อ้างฎีกาที่ 497/2499)
โจทก์เช่าซื้อรถมาใช้ในครอบครัวระหว่างโจทก์และสามีโจทก์ โดยใช้ไปทำงานด้วยกันโดยสามีโจทก์เป็นผู้ขับ เมื่อจำเลยทำละเมิดทำให้รถดังกล่าวเสียหายต้องเข้าอู่ซ่อม เป็นเหตุให้โจทก์และสามีโจทก์ต้องจ้างรถยนต์รับจ้างไปทำงานและรับแพทย์มารักษาโจทก์ โจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวรวมกันมาได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1068/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องผู้เช่าซื้อเรียกค่าเสียหายจากละเมิดต่อรถยนต์ และการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนที่เกี่ยวข้อง
ผู้ที่เช่าซื้อทรัพย์โดยมีข้อสัญญาว่าผู้เช่าซื้อจะระมัดระวังดูแลรักษาทรัพย์นั้นให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยคงเดิม การชำรุดเสียหายเป็นหน้าที่ของผู้เช่าซื้อจะต้องซ่อมแซม เมื่อทรัพย์นั้นถูกทำละเมิดให้เสียหาย และผู้เช่าซื้อได้ชำระเงินค่าซ่อมแซมไปแล้ว จึงเป็นผู้เสียหายโดยตรง มีอำนาจฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนได้
โจทก์บรรยายฟ้องว่าโจทก์ได้รับบาดเจ็บสาหัสต้องรักษาตัวเกิน 20 วัน โจทก์ต้องรักษาตัว เสียค่ายา ค่ารักษาจึงขอคิดค่าเสียหายและค่าใช้จ่ายรวมทั้งค่าทนทุกข์ทรมาน 5,000 บาท ดังนี้ ฟ้องของโจทก์ไม่เคลือบคลุม เพราะค่าเสียหายเป็นค่าอะไรเท่าใดเสียให้แก่ใคร เมื่อใด และเพราะเหตุใดนั้น เป็นรายละเอียดซึ่งต้องนำสืบในชั้นพิจารณา(อ้างฎีกาที่ 497/2499)
โจทก์เช่าซื้อรถมาใช้ในครอบครัวระหว่างโจทก์และสามีโจทก์โดยใช้ไปทำงานด้วยกันโดยสามีโจทก์เป็นผู้ขับ เมื่อจำเลยทำละเมิดทำให้รถดังกล่าวเสียหายต้องเข้าอู่ซ่อม เป็นเหตุให้โจทก์และสามีโจทก์ต้องจ้างรถยนต์รับจ้างไปทำงานและรับแพทย์มารักษาโจทก์ โจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวรวมกันมาได้
โจทก์บรรยายฟ้องว่าโจทก์ได้รับบาดเจ็บสาหัสต้องรักษาตัวเกิน 20 วัน โจทก์ต้องรักษาตัว เสียค่ายา ค่ารักษาจึงขอคิดค่าเสียหายและค่าใช้จ่ายรวมทั้งค่าทนทุกข์ทรมาน 5,000 บาท ดังนี้ ฟ้องของโจทก์ไม่เคลือบคลุม เพราะค่าเสียหายเป็นค่าอะไรเท่าใดเสียให้แก่ใคร เมื่อใด และเพราะเหตุใดนั้น เป็นรายละเอียดซึ่งต้องนำสืบในชั้นพิจารณา(อ้างฎีกาที่ 497/2499)
โจทก์เช่าซื้อรถมาใช้ในครอบครัวระหว่างโจทก์และสามีโจทก์โดยใช้ไปทำงานด้วยกันโดยสามีโจทก์เป็นผู้ขับ เมื่อจำเลยทำละเมิดทำให้รถดังกล่าวเสียหายต้องเข้าอู่ซ่อม เป็นเหตุให้โจทก์และสามีโจทก์ต้องจ้างรถยนต์รับจ้างไปทำงานและรับแพทย์มารักษาโจทก์ โจทก์ย่อมมีสิทธิฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวรวมกันมาได้