คำพิพากษาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
ป.พ.พ. ม. 1629

พบผลลัพธ์ทั้งหมด 245 รายการ

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1690/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิในมรดกของบุตรเกิดนอกสมรส: การไม่จดทะเบียนสมรสและไม่รับรองบุตร
ชายหญิงได้เสียกันเองโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรสเมื่อเกิดบุตรขึ้นมา บุตรที่เกิดมานั้นย่อมไม่ใช่บุตรอันชอบด้วยกฎหมายของชายและเมื่อต่อมาชายก็มิได้จดทะเบียนรับรองหรือร้องขอ ต่อศาลให้แสดงว่าเป็นบุตรอีกเช่นนี้ ชายนั้นจึงไม่ใช่บิดาหรือทายาทของบุตรนั้น และย่อมไม่มีสิทธิที่จะรับมรดกของบุตรและไม่อาจที่จะยกอายุความมรดก 1 ปีมาต่อสู้แก่ทายาทได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1690/2493

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิในมรดกของบุตรเกิดนอกสมรสและบิดาที่มิได้จดทะเบียนรับรอง
ชายหญิงได้เสียกันเองโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส เมื่อเกิดบุตรขึ้นมา บุตรที่เกิดมานั้น ย่อมไม่ใช่บุตรอันชอบด้วยกฎหมายของชาย และเมื่อต่อมาชายก็มิได้จดทะเบียนรับรองหรือร้องขอต่อศาลให้แสดงว่า เป็นบุตรอีกเช่นนี้ ชายนั้นจึงไม่ใช่บิดาหรือทายาทของบุตรนั้น และย่อมไม่มีสิทธิที่จะรับมรดกของบุตร และไม่อาจที่จะยกอายุความมรดก 1 ปีมาต่อสู้แก่ทายาทได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1249/2493

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิรับมรดกและการอ้างอายุความมรดก: ทายาทโดยธรรม vs. ผู้รับมรดกแทน
โจทก์และบิดาจำเลยเป็นทายาทของเจ้ามรดกตามมาตรา 1629(4)ลำดับเดียวกัน บิดาจำเลยยังมีชีวิตอยู่ ตัวจำเลยจึงหาใช่เป็นทายาทของเจ้ามรดกไม่จึงไม่มีสิทธิอ้างอายุความมรดก 1 ปียกขึ้นต่อสู้แก่โจทก์ผู้เป็นทายาทของเจ้ามรดกตามมาตรา 1755 ได้
ในกรณีเช่นนี้จำเลยจะรับมรดกเจ้ามรดกแทนที่บิดาจำเลยได้แต่เมื่อบิดาได้ถึงแก่ความตายแล้ว หรือถูกจำกัดมิให้รับมรดก มิฉะนั้นจะเข้ามารับมรดกแทนที่บิดาไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1249/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิในการรับมรดกและการอ้างอายุความมรดก: ทายาทโดยธรรมและผู้รับมรดกแทนกัน
โจทก์และบิดาจำเลยเป็นทายาทของเจ้ามฤดกตามมาตรา 1629(4)ลำดับเดียวกัน บิดาจำเลยยังมีชีวิตอยู่ ตัวจำเลยจึงหาใช่เป็นทายาทของเจ้ามฤดกไม่จึงไม่มีสิทธิอ้างอายุความมฤดก 1 ปียกขึ้นต่อสู้แก่โจทก์ผู้เป็นทายาทของเจ้ามฤดกตามมาตรา 1755 ได้
ในกรณีเช่นนี้จำเลยจะรับมฤดกเจ้ามฤดกแทนที่บิดาจำเลยได้แต่เมื่อบิดาได้ถึงแก่ความตายแล้ว หรือถูกจำกัดมิให้รับมฤดกมิฉะนั้นจะเข้ามารับมฤดกแทนที่บิดาไม่ได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 419/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องหนี้สินบริคณห์ของภรรยา การอนุญาตจากสามี และการพิสูจน์หนี้เงินฝาก/ค่าเซ้ง
การที่หญิงมีสามีฟ้องเรียกหนี้และส่วนมรดกของบุตรสาวที่ตายจากบุตรเขยนั้น เกี่ยวกับการเพื่อประโยชน์แก่สินบริคณห์ตาม ป.ม.แพ่งฯ มาตรา 1469 จะต้องได้รับอนุญาตจากสามีเมื่อสามีร้องสอดเข้าเป็นโจทก์ร่วมขอรับชำระหนี้และส่วนมรดกด้วยนั้น พอถือว่าเป็๋นหลักฐานที่สามีอนุญาต
ทนายโจทก์ที่ยื่นคำร้องขอเพิ่มเติมฟ้องนั้น แม้จะยื่นในชื่อของทนายเองก็ใช้ได้ เพราะเป็นการทำการแทนโจทก์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 419/2493

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิการฟ้องคดีเกี่ยวกับสินบริคณห์ของภริยา, การอนุญาตจากสามี, และการพิสูจน์หลักฐานหนี้สิน
การที่หญิงมีสามีฟ้องเรียกหนี้และส่วนมรดกของบุตรสาวที่ตายจากบุตรเขยนั้นเกี่ยวกับการเพื่อประโยชน์แก่สินบริคณห์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1469 จะต้องได้รับอนุญาตจากสามีเมื่อสามีร้องสอดเข้าเป็นโจทก์ร่วมขอรับชำระหนี้และส่วนมรดกด้วยนั้นพอถือว่าเป็นหลักฐานที่สามีอนุญาต
ทนายโจทก์ที่ยื่นคำร้องขอเพิ่มเติมฟ้องนั้น แม้จะยื่นในชื่อของทนายเองก็ใช้ได้ เพราะเป็นการทำแทนตัวโจทก์

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 134/2493 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องแย่งกรรมสิทธิ์ในสินสมรสที่กลายเป็นมรดก: รูปคดีไม่ชัดเจน ศาลต้องยกฟ้องแต่ไม่ตัดสิทธิ
โจทก์ฟ้องกล่าวว่าที่สวนพิพาทเป็นกรรมสิทธิของโจทก์ทั้งหมด มิได้ตั้งรูปคดีมาว่าเป็นมฤดก แต่ปรากฎว่าสวนนั้นเป็นมฤดกซึ่งโจทก์มีส่วนได้ไม่ทั้งหมดมีส่วนจะต้องแบ่งในระหว่างทายาท ดังนี้ ศาลยกฟ้องแต่ไม่ตัดสิทธิที่จะฟ้องขอแบ่งกันต่อไป
สวนพิพาทเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์กับสามี สามีโจทก์ตาย มารดาของสามีได้คัดค้านว่ามีส่วนในทางมฤดก เมื่อโจทก์ประกาศขายและมารดาของสามีได้เข้ากรีดยางในสวนพิพาท ดังนี้แสดงว่า มารดาของสามีไม่ได้ละทิ้งมฤดกเกิน 1 ปี

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 134/2493

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ การฟ้องแย้งกรรมสิทธิ์ที่ดินที่เป็นสินสมรสและมรดก ศาลยกฟ้องเนื่องจากตั้งรูปคดีไม่ถูกต้อง
โจทก์ฟ้องกล่าวว่าที่สวนพิพาทเป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์ทั้งหมด มิได้ตั้งรูปคดีมาว่าเป็นมรดก แต่ปรากฏว่าสวนนั้นเป็นมรดกซึ่งโจทก์มีส่วนได้ไม่ทั้งหมดมีส่วนจะต้องแบ่งในระหว่างทายาท ดังนี้ ศาลยกฟ้องแต่ไม่ตัดสิทธิที่จะฟ้องขอแบ่งกันต่อไป
สวนพิพาทเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์กับสามี สามีโจทก์ตายมารดาของสามีได้คัดค้านว่ามีส่วนในทางมรดก เมื่อโจทก์ประกาศขายและมารดาของสามีได้เข้ากรีดยางในสวนพิพาทดังนี้แสดงว่า มารดาของสามีไม่ได้ละทิ้งมรดกเกิน 1 ปี

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1601/2492

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิบุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรอง: มรดก vs. อุปการะเลี้ยงดู
บุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา1627 นั้น มีสิทธิเพียงที่จะได้รับมรดกในฐานเป็นผู้สืบสันดานตาม มาตรา 1629(1) เท่านั้น
สิทธิที่บุตรจะได้รับจากบิดาในกรณีที่บุตรต้องขาดอุปการะ เพราะมีผู้ทำให้บิดาตนถึงแก่ความตายนั้น จะต้องเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายมาแต่แรก มิฉะนั้นก็ต้องเข้าในบทบัญญัติแห่งมาตรา 1526 คือ ต่อมาบิดามารดาได้สมรสกันหรือบิดาได้จดทะเบียนว่าเป็นบุตร หรือศาลพิพากษาว่าเป็นบุตร
มาตรา 1524 เป็นเรื่องพิสูจน์ว่าเป็นบุตรในกรณีที่บิดาได้สมรสกันโดยถูกต้องแล้ว เป็นคนละเรื่องกับมาตรา 1627 บุตรที่บิดารับรองโดยทะเบียนคนเกิดและโดยเปิดเผยย่อมสมบูรณ์ตามมาตรา 1627 มีสิทธิในฐานะผู้สืบสันดาน ย่อมฟ้องเรียกค่าทำศพบิดาจากผู้ที่ทำให้บิดาตนถึงแก่ความตายได้

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1601/2492 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ

ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้ สิทธิบุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรอง: มรดก vs. ค่าอุปการะ
บุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองตาม ป.ม.แพ่งฯมาตรา 1627 นั้น มีสิทธิเพียงที่จะได้รับมฤดกในฐานเป็นผู้สืบสันดานตาม มาตรา 1629(1) เท่านั้น
สิทธิที่บุตรจะได้รับจากบิดาในกรณีที่บุตรต้องขาดอุปการะ เพราะมีผู้ทำให้บิดาตนถึงแก่ความตายนั้น จะต้องเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายมาแต่แรก มิฉะนั้นก็ต้องเข้าในบทบัญญัติแห่งมาตรา 1526 คือ ต่อมาบิดามารดาได้สมรสกัน หรือบิดาได้จดทะเบียนว่าเป็นบุตร หรือศาลพิพากษาว่าเป็นบุตร
มาตรา 1524 เป็นเรื่องพิศูจน์ว่าเป็นบุตรในกรณีที่บิดาได้สมรสกันโดยถูกต้องแล้ว เป็นคนละเรื่องกับมาตรา 1627 บุตรที่บิดารับรองโดยทะเบียนคนเกิดและโดยเปิดเผยย่อมสมบูรณ์ตามมาตรา 1627 มีสิทธิในฐานะผู้สืบสันดาน ย่อมฟ้องเรียกค่าทำศพบิดาจากผู้ที่ทำให้บิดาตนถึงแก่ความตายได้
of 25