พบผลลัพธ์ทั้งหมด 46 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2664/2525 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าขาดแรงงานจากพนักงานเสียชีวิต: สัญญาจ้างสิ้นสุด, นายจ้างไม่ต้องชดใช้
การที่ลูกจ้างของโจทก์ต้องเสียชีวิต เพราะการกระทำละเมิดของลูกจ้างจำเลยนั้น ถือไม่ได้ว่าโจทก์ต้องขาดแรงงาน เพราะเมื่อลูกจ้างโจทก์เสียชีวิต การจ้างแรงงานย่อมเป็นอันเลิกกัน โจทก์ไม่ได้แรงงาน แต่ขณะเดียวกันโจทก์ก็ไม่ต้องให้สินจ้าง โจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนในส่วนนี้จากจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2664/2525
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ค่าขาดแรงงานเมื่อลูกจ้างเสียชีวิต: สัญญาจ้างสิ้นสุด นายจ้างไม่ต้องชดใช้
การที่ลูกจ้างของโจทก์ต้องเสียชีวิต เพราะการกระทำละเมิดของลูกจ้างจำเลยนั้น ถือไม่ได้ว่าโจทก์ต้องขาดแรงงาน เพราะเมื่อลูกจ้างโจทก์เสียชีวิต การจ้างแรงงานย่อมเป็นอันเลิกกัน โจทก์ไม่ได้แรงงานแต่ขณะเดียวกันโจทก์ก็ไม่ต้องให้สินจ้าง โจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนในส่วนนี้จากจำเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1047/2522 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนของนายจ้างจากอุบัติเหตุที่ลูกจ้างได้รับบาดเจ็บ/เสียชีวิต และขอบเขตความรับผิดของจำเลย
โจทก์มิใช่ผู้ถูกทำละเมิด หากเป็นเพียงนายจ้างของผู้ถูกทำละเมิด เป็นบุคคลภายนอก ที่โจทก์จะใช้สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเอากับจำเลยที่ 1 ที่ 2 ได้ต้องมีกฎหมายรับรองสิทธิของโจทก์ ค่าเสียหายที่โจทก์เรียกร้อง (ค่ารักษาพยาบาล ค่าทำศพ ค่าทดแทน และค่าชดเชย) ของผู้ถูกทำละเมิด เป็นเงินที่โจทก์จ่ายให้ลูกจ้างตามคำสั่งของแรงงานจังหวัด ผูกพันตามกฎหมายแรงงานซึ่งเป็นคนละเรื่องกับค่าสินไหมทดแทนที่จำเลยที่ 1 ที่ 2 จะต้องรับผิดชดใช้ให้โจทก์กรณีที่ต้องขาดแรงงานในมูลละเมิด
ตามฟ้องของโจทก์ได้ความแล้วว่า โจทก์เป็นนายจ้างของลูกจ้างที่ได้รับอันตรายถึงตายและบาดเจ็บเพราะการกระทำโดยประมาทของจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นลูกจ้างกระทำไปในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 2 โจทก์ต้องขาดแรงงานระหว่างลูกจ้างบาดเจ็บต้องจ่ายเงินเดือนระหว่างลูกจ้างปฏิบัติงานไม่ได้ โรงงานต้องหยุดกิจการเพราะขาดแรงงาน ถือได้ว่าโจทก์เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 445 แล้ว จำเลยที่ 1 ที่ 2 จึงต้องรับผิดในค่าสินไหมทดแทนส่วนนี้
ตามฟ้องของโจทก์ได้ความแล้วว่า โจทก์เป็นนายจ้างของลูกจ้างที่ได้รับอันตรายถึงตายและบาดเจ็บเพราะการกระทำโดยประมาทของจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นลูกจ้างกระทำไปในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 2 โจทก์ต้องขาดแรงงานระหว่างลูกจ้างบาดเจ็บต้องจ่ายเงินเดือนระหว่างลูกจ้างปฏิบัติงานไม่ได้ โรงงานต้องหยุดกิจการเพราะขาดแรงงาน ถือได้ว่าโจทก์เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 445 แล้ว จำเลยที่ 1 ที่ 2 จึงต้องรับผิดในค่าสินไหมทดแทนส่วนนี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1047/2522
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นายจ้างเรียกร้องค่าเสียหายจากผู้ทำละเมิดต่อลูกจ้าง: สิทธิเรียกร้องตามกฎหมายแรงงานและประมวลกฎหมายแพ่ง
โจทก์มิใช่ผู้ถูกทำละเมิด หากเป็นเพียงนายจ้างของผู้ถูกทำละเมิด เป็นบุคคลภายนอก ที่โจทก์จะใช้สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเอากับจำเลยที่ 1 ที่ 2 ได้ต้องมีกฎหมายรับรองสิทธิของโจทก์ค่าเสียหายที่โจทก์เรียกร้อง (ค่ารักษาพยาบาล ค่าทำศพ ค่าทดแทน และค่าชดเชย)ของผู้ถูกทำละเมิดเป็นเงินที่โจทก์จ่ายให้ลูกจ้างตามคำสั่งของแรงงานจังหวัด ผูกพันกันตามกฎหมายแรงงานซึ่งเป็นคนละเรื่องกับค่าสินไหมทดแทนที่จำเลยที่ 1 ที่ 2 จะต้องรับผิดชดใช้ให้โจทก์กรณีที่ต้องขาดแรงงานในมูลละเมิด
ตามฟ้องของโจทก์ได้ความแล้วว่า โจทก์เป็นนายจ้างของลูกจ้างที่ได้รับอันตรายถึงตายและบาดเจ็บเพราะการกระทำโดยประมาทของจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นลูกจ้างกระทำไปในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 2 โจทก์ต้องขาดแรงงานระหว่างลูกจ้างบาดเจ็บต้องจ่ายเงินเดือนระหว่างลูกจ้างปฏิบัติงานไม่ได้ โรงงานต้องหยุดกิจการเพราะขาดแรงงาน ถือได้ว่าโจทก์เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 445 แล้ว จำเลยที่ 1 ที่ 2 จึงต้องรับผิดในค่าสินไหมทดแทนส่วนนี้
ตามฟ้องของโจทก์ได้ความแล้วว่า โจทก์เป็นนายจ้างของลูกจ้างที่ได้รับอันตรายถึงตายและบาดเจ็บเพราะการกระทำโดยประมาทของจำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นลูกจ้างกระทำไปในทางการที่จ้างของจำเลยที่ 2 โจทก์ต้องขาดแรงงานระหว่างลูกจ้างบาดเจ็บต้องจ่ายเงินเดือนระหว่างลูกจ้างปฏิบัติงานไม่ได้ โรงงานต้องหยุดกิจการเพราะขาดแรงงาน ถือได้ว่าโจทก์เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 445 แล้ว จำเลยที่ 1 ที่ 2 จึงต้องรับผิดในค่าสินไหมทดแทนส่วนนี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2455/2519 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่ารักษาพยาบาลและค่าอุปการะเลี้ยงดูจากผู้ละเมิด แม้ผู้เสียหายได้รับเงินจากรัฐ
แม้โจทก์เป็นข้าราชการได้รับเงินค่ารักษาพยาบาลบุตรผู้เยาว์ซึ่งถูกทำละเมิดจากทางราชการแล้ว ก็ยังมีสิทธิ์ที่จะเรียกร้องเอาค่ารักษาพยาบาลจากจำเลยผู้ต้องรับผิดในผลแห่งการละเมิดอีกได้ เพราะสิทธิ์ของโจทก์ที่จะได้รับเงินดังกล่าวจากทางราชการ เป็นสิทธิ์ที่รัฐกำหนดให้แก่ข้าราชการ ไม่เกี่ยวกับความรับผิดของจำเลย
ในการละเมิดทำให้เขาเสียหายแก่ร่างกายหรืออนามัย ผู้ต้องเสียหายจะเรียกร้องค่าเสียหายอย่างใดได้บ้าง มีบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 444, 445 และ 446 ซึ่งหาได้ให้สิทธิ์แก่บิดาที่จะเรียกร้องเอาค่าเสียหายเพื่อการที่จะต้องอุปการะเลี้ยงดูบุตรซึ่งทุพพลภาพเพราะถูกกระทำละเมิดต่อไปในอนาคตไม่
ฟ้องเรียกค่าที่ต้องอุปการะเลี้ยงดูบุตรซึ่งต้องทุพพลภาพเพราะถูกกระทำละเมิด แม้ทางพิจารณาโจทก์จะนำสืบเป็นทำนองขอเรียกค่าเสียหายเพื่อการที่บุตรเสียความสามารถสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วนทั้งในเวลาปัจจุบันและอนาคต ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 444 ศาลก็จะบังคับให้ไม่ได้ เพราะประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142 ห้ามมิให้พิพากษาหรือทำคำสั่งให้สิ่งใด ๆ เกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้อง
หมายเหตุ วรรคแรกวินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 18/2519)
ในการละเมิดทำให้เขาเสียหายแก่ร่างกายหรืออนามัย ผู้ต้องเสียหายจะเรียกร้องค่าเสียหายอย่างใดได้บ้าง มีบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 444, 445 และ 446 ซึ่งหาได้ให้สิทธิ์แก่บิดาที่จะเรียกร้องเอาค่าเสียหายเพื่อการที่จะต้องอุปการะเลี้ยงดูบุตรซึ่งทุพพลภาพเพราะถูกกระทำละเมิดต่อไปในอนาคตไม่
ฟ้องเรียกค่าที่ต้องอุปการะเลี้ยงดูบุตรซึ่งต้องทุพพลภาพเพราะถูกกระทำละเมิด แม้ทางพิจารณาโจทก์จะนำสืบเป็นทำนองขอเรียกค่าเสียหายเพื่อการที่บุตรเสียความสามารถสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วนทั้งในเวลาปัจจุบันและอนาคต ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 444 ศาลก็จะบังคับให้ไม่ได้ เพราะประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142 ห้ามมิให้พิพากษาหรือทำคำสั่งให้สิ่งใด ๆ เกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้อง
หมายเหตุ วรรคแรกวินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ครั้งที่ 18/2519)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2455/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่ารักษาพยาบาลและค่าอุปการะเลี้ยงดูจากผู้ละเมิด แม้ได้รับเงินจากราชการแล้ว และขอบเขตการฟ้องร้องตามที่ระบุในคำฟ้อง
แม้โจทก์เป็นข้าราชการได้รับเงินค่ารักษาพยาบาลบุตรผู้เยาว์ซึ่งถูกทำละเมิดจากทางราชการแล้ว ก็ยังมีสิทธิที่จะเรียกร้องเอาค่ารักษาพยาบาลจากจำเลยผู้ต้องรับผิดในผลแห่งการละเมิดอีกได้ เพราะสิทธิของโจทก์ที่จะได้รับเงินดังกล่าวจากทางราชการ เป็นสิทธิที่รัฐกำหนดให้แก่ข้าราชการ ไม่เกี่ยวกับความรับผิดของจำเลย
ในการละเมิดทำให้เขาเสียหายแก่ร่างกายหรืออนามัย ผู้ต้องเสียหายจะเรียกร้องค่าเสียหายอย่างใดได้บ้างมีบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 444,445,และ 446 ซึ่งหาได้ให้สิทธิแก่บิดาที่จะเรียกร้องเอาค่าเสียหายเพื่อการที่จะต้องอุปการะเลี้ยงดูบุตรซึ่งทุพพลภาพเพราะถูกกระทำละเมิดต่อไปในอนาคตไม่
ฟ้องเรียกค่าที่ต้องอุปการะเลี้ยงดูบุตรซึ่งต้องทุพพลภาพเพราะถูกกระทำละเมิด แม้ทางพิจารณาโจทก์จะนำสืบเป็นทำนองขอเรียกค่าเสียหายเพื่อการที่บุตรเสียความสามารถสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วนทั้งในเวลาปัจจุบันและอนาคต ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 444 ศาลก็จะบังคับให้ไม่ได้ เพราะประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142ห้ามมิให้พิพากษาหรือทำคำสั่งให้สิ่งใดๆ เกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้อง
หมายเหตุวรรคแรกวินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ครั้งที่18/2519
ในการละเมิดทำให้เขาเสียหายแก่ร่างกายหรืออนามัย ผู้ต้องเสียหายจะเรียกร้องค่าเสียหายอย่างใดได้บ้างมีบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 444,445,และ 446 ซึ่งหาได้ให้สิทธิแก่บิดาที่จะเรียกร้องเอาค่าเสียหายเพื่อการที่จะต้องอุปการะเลี้ยงดูบุตรซึ่งทุพพลภาพเพราะถูกกระทำละเมิดต่อไปในอนาคตไม่
ฟ้องเรียกค่าที่ต้องอุปการะเลี้ยงดูบุตรซึ่งต้องทุพพลภาพเพราะถูกกระทำละเมิด แม้ทางพิจารณาโจทก์จะนำสืบเป็นทำนองขอเรียกค่าเสียหายเพื่อการที่บุตรเสียความสามารถสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วนทั้งในเวลาปัจจุบันและอนาคต ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 444 ศาลก็จะบังคับให้ไม่ได้ เพราะประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142ห้ามมิให้พิพากษาหรือทำคำสั่งให้สิ่งใดๆ เกินไปกว่าหรือนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้อง
หมายเหตุวรรคแรกวินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญ่ครั้งที่18/2519
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2580/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นายจ้างไม่มีสิทธิฟ้องเรียกค่าทดแทนจากผู้ทำละเมิดต่อลูกจ้างตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19
เจตนารมณ์ของประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 เพื่อมิให้ใช้พระราชบัญญัติแรงงาน พ.ศ. 2499 เป็นเครื่องมือยุยงส่งเสริมให้เกิดการร้าวฉานระหว่างนายจ้างและลูกจ้างทำลายความเห็นใจและการประนีประนอมระหว่างกัน จึงกำหนดหน้าที่ให้นายจ้างจ่ายเงินค่าทดแทนที่ลูกจ้างได้ประสบอันตรายเนื่องจากการทำงานให้นายจ้างหรือเจ็บป่วยด้วยโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้จึงเป็นกฎหมายพิเศษที่ใช้บังคับระหว่างนายจ้างและลูกจ้างโดยเฉพาะ มิได้เกี่ยวกับบุคคลภายนอก แม้มีผู้ทำละเมิดต่อลูกจ้างของโจทก์และโจทก์ต้องจ่ายเงินค่าทดแทนให้แก่ลูกจ้างไปตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับดังกล่าว ผู้ทำละเมิดนั้นก็มิได้กระทำละเมิดต่อโจทก์โดยตรง และไม่มีกฎหมายให้สิทธิโจทก์ผู้เป็นนายจ้างฟ้องผู้ละเมิดให้ชดใช้เงินค่าทดแทนที่โจทก์จ่ายไปโจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องเรียกร้องเงินประเภทนี้เอาจากผู้ทำละเมิดนั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2580/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นายจ้างไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าทดแทนจากบุคคลภายนอกที่ทำให้ลูกจ้างบาดเจ็บ แม้ต้องจ่ายค่าทดแทนให้ลูกจ้างตามประกาศ คปฎ.ฉบับที่ 19
เจตนารมณ์ของประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 เพื่อมิให้ใช้พระราชบัญญัติแรงงาน พ.ศ. 2499 เป็นเครื่องมือยุยงส่งเสริมให้เกิดการร้าวฉานระหว่างนายจ้างและลูกจ้างทำลายความเห็นใจและการประนีประนอมระหว่างกัน จึงกำหนดหน้าที่ให้นายจ้างจ่ายเงินค่าทดแทนที่ลูกจ้างได้ประสบอันตรายเนื่องจากการทำงานให้นายจ้างหรือเจ็บป่วยด้วยโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้จึงเป็นกฎหมายพิเศษที่ใช้บังคับระหว่างนายจ้างและลูกจ้างโดยเฉพาะ มิได้เกี่ยวกับบุคคลภายนอก แม้มีผู้ทำละเมิดต่อลูกจ้างของโจทก์และโจทก์ต้องจ่ายเงินค่าทดแทนให้แก่ลูกจ้างไปตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับดังกล่าว ผู้ทำละเมิดนั้นก็มิได้กระทำละเมิดต่อโจทก์โดยตรง และไม่มีกฎหมายให้สิทธิโจทก์ผู้เป็นนายจ้างฟ้องผู้ละเมิดให้ชดใช้เงินค่าทดแทนที่โจทก์จ่ายไปโจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องเรียกร้องเงินประเภทนี้เอาจากผู้ทำละเมิดนั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1648/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดนายจ้างต่อละเมิดของลูกจ้าง, ค่าปลงศพ, ค่าขาดไร้อุปการะ, และดอกเบี้ย
โจทก์บรรยายฟ้องว่า โจทก์เป็นบิดาผู้ปกครองผู้ตายซึ่งมีอายุ 19 ปี จำเลยมิได้ให้การปฏิเสธหรือยกเป็นข้อต่อสู้ว่าโจทก์ไม่ใช่บิดาผู้ปกครองผู้ตาย ข้อที่ว่าผู้ตายเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของโจทก์หรือไม่ จึงไม่เป็นประเด็นโต้เถียงกัน
ผู้มีชื่อนำรถยนต์เข้ามาวิ่งร่วมในเส้นทางสัมปทานของบริษัทจำเลยที่ 2 โดยโอนกรรมสิทธิ์รถให้จำเลยที่ 2 ต้องพ่นสีและตีตราเป็นรถของจำเลยที่ 2 คนเก็บเงินค่าโดยสารต้องแต่งเครื่องแบบของจำเลยที่ 2 ถ้าประพฤติตนไม่ดี ผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 2 มีอำนาจพิจารณาลงโทษได้ ตั๋วที่จำหน่ายแก่ผู้โดยสารก็เป็นตั๋วของจำเลยที่ 2 นอกจากนี้จำเลยที่ 2 ยังได้ผลประโยชน์ตอบแทนเป็นค่าบริการเมื่อรถเข้าจอดเทียบสถานีของจำเลยที่ 2 เที่ยวละ 3 บาท พฤติการณ์ดังกล่าวนี้ชี้ชัดว่าจำเลยที่ 2 ยอมรับว่ารถยนต์ดังกล่าวเป็นรถของจำเลยที่ 2 หรือจำเลยที่ 2 ได้ร่วมกับเจ้าของรถมีรถยนต์ดังกล่าวเพื่อใช้ในกิจการหารายได้ของจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 1 คนขับรถปฏิบัติกิจการของจำเลยที่ 2 โดยมีสินจ้าง จำเลยที่ 2 จึงเป็นนายจ้างต้องร่วมรับผิดในผลละเมิดของจำเลยที่ 1 ซึ่งขับรถชนบุตรโจทก์ในระหว่างขับรถขนส่งคนโดยสารในกิจการของจำเลยที่ 2 (อ้างฎีกาที่ 1576/2506)
ค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจำเป็นจะต้องพิจารณาตามความสมควร ตามความจำเป็น และตามฐานะของผู้ตายและบิดามารดา ทั้งต้องพิจารณาถึงประเพณีการทำศพตามลัทธินิยมประกอบด้วย และต้องไม่ใช่รายการที่ฟุ่มเฟือยเกินไป
การที่บุตรตายลงทำให้บิดาต้องขาดไร้อุปการะ บิดาชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากการต้องขาดไร้อุปการะ โดยไม่ต้องพิจารณาว่าปัจจุบันผู้ตายจะได้อุปการะเลี้ยงดูบิดาหรือไม่ (อ้างฎีกาที่ 1742/2499)
ค่าสินไหมทดแทนค่าขาดไร้อุปการะเป็นหนี้ค่าเสียหายในอนาคตซึ่งมีจำนวนกำหนดแน่นอน โจทก์สามารถบังคับได้ในวันที่ศาลชั้นต้นพิพากษา โจทก์จึงมีสิทธิจะได้รับดอกเบี้ยนับแต่วันที่ศาลชั้นต้นพิพากษา
ผู้มีชื่อนำรถยนต์เข้ามาวิ่งร่วมในเส้นทางสัมปทานของบริษัทจำเลยที่ 2 โดยโอนกรรมสิทธิ์รถให้จำเลยที่ 2 ต้องพ่นสีและตีตราเป็นรถของจำเลยที่ 2 คนเก็บเงินค่าโดยสารต้องแต่งเครื่องแบบของจำเลยที่ 2 ถ้าประพฤติตนไม่ดี ผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 2 มีอำนาจพิจารณาลงโทษได้ ตั๋วที่จำหน่ายแก่ผู้โดยสารก็เป็นตั๋วของจำเลยที่ 2 นอกจากนี้จำเลยที่ 2 ยังได้ผลประโยชน์ตอบแทนเป็นค่าบริการเมื่อรถเข้าจอดเทียบสถานีของจำเลยที่ 2 เที่ยวละ 3 บาท พฤติการณ์ดังกล่าวนี้ชี้ชัดว่าจำเลยที่ 2 ยอมรับว่ารถยนต์ดังกล่าวเป็นรถของจำเลยที่ 2 หรือจำเลยที่ 2 ได้ร่วมกับเจ้าของรถมีรถยนต์ดังกล่าวเพื่อใช้ในกิจการหารายได้ของจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 1 คนขับรถปฏิบัติกิจการของจำเลยที่ 2 โดยมีสินจ้าง จำเลยที่ 2 จึงเป็นนายจ้างต้องร่วมรับผิดในผลละเมิดของจำเลยที่ 1 ซึ่งขับรถชนบุตรโจทก์ในระหว่างขับรถขนส่งคนโดยสารในกิจการของจำเลยที่ 2 (อ้างฎีกาที่ 1576/2506)
ค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจำเป็นจะต้องพิจารณาตามความสมควร ตามความจำเป็น และตามฐานะของผู้ตายและบิดามารดา ทั้งต้องพิจารณาถึงประเพณีการทำศพตามลัทธินิยมประกอบด้วย และต้องไม่ใช่รายการที่ฟุ่มเฟือยเกินไป
การที่บุตรตายลงทำให้บิดาต้องขาดไร้อุปการะ บิดาชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากการต้องขาดไร้อุปการะ โดยไม่ต้องพิจารณาว่าปัจจุบันผู้ตายจะได้อุปการะเลี้ยงดูบิดาหรือไม่ (อ้างฎีกาที่ 1742/2499)
ค่าสินไหมทดแทนค่าขาดไร้อุปการะเป็นหนี้ค่าเสียหายในอนาคตซึ่งมีจำนวนกำหนดแน่นอน โจทก์สามารถบังคับได้ในวันที่ศาลชั้นต้นพิพากษา โจทก์จึงมีสิทธิจะได้รับดอกเบี้ยนับแต่วันที่ศาลชั้นต้นพิพากษา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1648/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความรับผิดทางละเมิดของนายจ้างต่อการกระทำของลูกจ้าง, ค่าปลงศพ, ค่าขาดไร้อุปการะ และดอกเบี้ย
โจทก์บรรยายฟ้องว่า โจทก์เป็นบิดาผู้ปกครองผู้ตายซึ่งมีอายุ 19 ปีจำเลยมิได้ให้การปฏิเสธหรือยกเป็นข้อต่อสู้ว่าโจทก์ไม่ใช่บิดาผู้ปกครองผู้ตาย ข้อที่ว่าผู้ตายเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของโจทก์หรือไม่ จึงไม่เป็นประเด็นโต้เถียงกัน
ผู้มีชื่อนำรถยนต์เข้ามาวิ่งร่วมในเส้นทางสัมปทานของบริษัทจำเลยที่ 2 โดยโอนกรรมสิทธิ์รถให้จำเลยที่ 2 ต้องพ่นสีและตีตราเป็นรถของจำเลยที่ 2 คนเก็บเงินค่าโดยสารต้องแต่งเครื่องแบบของจำเลยที่ 2 ถ้าประพฤติตนไม่ดี ผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 2 มีอำนาจพิจารณาลงโทษได้ ตั๋วที่จำหน่ายแก่ผู้โดยสารก็เป็นตั๋วของจำเลยที่ 2 นอกจากนี้จำเลยที่ 2 ยังได้ผลประโยชน์ตอบแทนเป็นค่าบริการเมื่อรถเข้าจอดเทียบสถานีของจำเลยที่ 2 เที่ยวละ 3 บาท พฤติการณ์ดังกล่าวนี้ชี้ชัดว่าจำเลยที่ 2 ยอมรับว่ารถยนต์ดังกล่าวเป็นรถของจำเลยที่ 2 หรือจำเลยที่ 2 ได้ร่วมกับเจ้าของรถมีรถยนต์ดังกล่าวเพื่อใช้ในกิจการหารายได้ของจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 1 คนขับรถปฏิบัติกิจการของจำเลยที่ 2 โดยมีสินจ้าง จำเลยที่ 2 จึงเป็นนายจ้างต้องร่วมรับผิดในผลละเมิดของจำเลยที่ 1 ซึ่งขับรถชนบุตรโจทก์ในระหว่างขับรถขนส่งคนโดยสารในกิจการของจำเลยที่ 2 (อ้างฎีกา ที่ 1576/2506)
ค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจำเป็นจะต้องพิจารณาตามความสมควร ตามความจำเป็น และตามฐานะของผู้ตายและบิดามารดา ทั้งต้องพิจารณาถึงประเพณีการทำศพตามลัทธินิยมประกอบด้วย และต้องไม่ใช่รายการที่ฟุ่มเฟือยเกินไป
การที่บุตรตายลงทำให้บิดาต้องขาดไร้อุปการะบิดาชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากการต้องขาดไร้อุปการะ โดยไม่ต้องพิจารณาว่าปัจจุบันผู้ตายจะได้อุปการะเลี้ยงดูบิดาหรือไม่ (อ้างฎีกาที่ 1742/2499)
ค่าสินไหมทดแทนค่าขาดไร้อุปการะเป็นหนี้ค่าเสียหายในอนาคตซึ่งมีจำนวนกำหนดแน่นอน โจทก์สามารถบังคับได้ในวันที่ศาลชั้นต้นพิพากษา โจทก์จึงมีสิทธิจะได้รับดอกเบี้ยนับแต่วันที่ศาลชั้นต้นพิพากษา
ผู้มีชื่อนำรถยนต์เข้ามาวิ่งร่วมในเส้นทางสัมปทานของบริษัทจำเลยที่ 2 โดยโอนกรรมสิทธิ์รถให้จำเลยที่ 2 ต้องพ่นสีและตีตราเป็นรถของจำเลยที่ 2 คนเก็บเงินค่าโดยสารต้องแต่งเครื่องแบบของจำเลยที่ 2 ถ้าประพฤติตนไม่ดี ผู้จัดการบริษัทจำเลยที่ 2 มีอำนาจพิจารณาลงโทษได้ ตั๋วที่จำหน่ายแก่ผู้โดยสารก็เป็นตั๋วของจำเลยที่ 2 นอกจากนี้จำเลยที่ 2 ยังได้ผลประโยชน์ตอบแทนเป็นค่าบริการเมื่อรถเข้าจอดเทียบสถานีของจำเลยที่ 2 เที่ยวละ 3 บาท พฤติการณ์ดังกล่าวนี้ชี้ชัดว่าจำเลยที่ 2 ยอมรับว่ารถยนต์ดังกล่าวเป็นรถของจำเลยที่ 2 หรือจำเลยที่ 2 ได้ร่วมกับเจ้าของรถมีรถยนต์ดังกล่าวเพื่อใช้ในกิจการหารายได้ของจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 1 คนขับรถปฏิบัติกิจการของจำเลยที่ 2 โดยมีสินจ้าง จำเลยที่ 2 จึงเป็นนายจ้างต้องร่วมรับผิดในผลละเมิดของจำเลยที่ 1 ซึ่งขับรถชนบุตรโจทก์ในระหว่างขับรถขนส่งคนโดยสารในกิจการของจำเลยที่ 2 (อ้างฎีกา ที่ 1576/2506)
ค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจำเป็นจะต้องพิจารณาตามความสมควร ตามความจำเป็น และตามฐานะของผู้ตายและบิดามารดา ทั้งต้องพิจารณาถึงประเพณีการทำศพตามลัทธินิยมประกอบด้วย และต้องไม่ใช่รายการที่ฟุ่มเฟือยเกินไป
การที่บุตรตายลงทำให้บิดาต้องขาดไร้อุปการะบิดาชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนจากการต้องขาดไร้อุปการะ โดยไม่ต้องพิจารณาว่าปัจจุบันผู้ตายจะได้อุปการะเลี้ยงดูบิดาหรือไม่ (อ้างฎีกาที่ 1742/2499)
ค่าสินไหมทดแทนค่าขาดไร้อุปการะเป็นหนี้ค่าเสียหายในอนาคตซึ่งมีจำนวนกำหนดแน่นอน โจทก์สามารถบังคับได้ในวันที่ศาลชั้นต้นพิพากษา โจทก์จึงมีสิทธิจะได้รับดอกเบี้ยนับแต่วันที่ศาลชั้นต้นพิพากษา