พบผลลัพธ์ทั้งหมด 380 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1285/2498
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความทางภารจำยอม: การใช้ทางไม่ต่อเนื่องและการหักล้างพยาน
การที่โจทก์ใช้ทางพิพาทเดินมาเพียง 6 ปี เท่านั้น(ไม่ถึง 10 ปี)ยังหาทำให้เกิดสิทธิเป็นทางภารจำยอมไม่
โจทก์ฟ้องขอให้เปิดทางภารจำยอม จำเลยต่อสู้ว่าไม่มีทางในที่ของจำเลย โจทก์ไม่เคยเดินในที่จำเลยเช่นนี้ก็คือจำเลยปฏิเสธว่าไม่มีทางภารจำยอมตามฟ้องนั่นเอง เมื่อโจทก์นำสืบว่าได้เดินผ่านที่จำเลยมา 18 ปี ตั้งแต่เข้าอยู่ในที่ที่ซื้อนายปัด จำเลยก็ย่อมนำสืบคัดค้านได้ว่าโจทก์ซื้อและเข้าอยู่ในที่นายปัดเมื่อ 6 ปีมานี้เอง เป็นการสืบหักล้างพยานโจทก์
โจทก์ฟ้องขอให้เปิดทางภารจำยอม จำเลยต่อสู้ว่าไม่มีทางในที่ของจำเลย โจทก์ไม่เคยเดินในที่จำเลยเช่นนี้ก็คือจำเลยปฏิเสธว่าไม่มีทางภารจำยอมตามฟ้องนั่นเอง เมื่อโจทก์นำสืบว่าได้เดินผ่านที่จำเลยมา 18 ปี ตั้งแต่เข้าอยู่ในที่ที่ซื้อนายปัด จำเลยก็ย่อมนำสืบคัดค้านได้ว่าโจทก์ซื้อและเข้าอยู่ในที่นายปัดเมื่อ 6 ปีมานี้เอง เป็นการสืบหักล้างพยานโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1285/2498 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุการใช้ทางและการเกิดสิทธิภาระจำยอม: การใช้ทางเพียง 6 ปีไม่เพียงพอต่อการเกิดสิทธิภาระจำยอม
การที่โจทก์ใช้ทางพิพาทเดินมาเพียง 6 ปี เท่านั้น (ไม่ถึง 10 ปี) ยังหาทำให้เกิดสิทธิเป็นทางภาระจำยอมไม่
โจทก์ฟ้องขอให้เปิดทางภาระจำยอม จำเลยต่อสู้ว่าไม่มีทางในที่ของจำเลย โจทก์ไม่เคยเดินในที่จำเลย เช่นนี้ก็คือจำเลยปฏิเสธว่าไม่มีทางภาระจำยอมตามฟ้องนั่นเอง เมื่อโจทก์มาสืบว่าได้เดินผ่านที่จำเลยมา 18 ปี ตั้งแต่เข้าอยู่ในที่ที่ซื้อนายปัด จำเลยก็ย่อมนำสืบคัดค้านได้ว่าโจทก์ซื้อและเข้าอยู่ในที่นายปัดเมื่อ 6 ปีมานี้เอง เป็นการสืบหักล้างพยานโจทก์
โจทก์ฟ้องขอให้เปิดทางภาระจำยอม จำเลยต่อสู้ว่าไม่มีทางในที่ของจำเลย โจทก์ไม่เคยเดินในที่จำเลย เช่นนี้ก็คือจำเลยปฏิเสธว่าไม่มีทางภาระจำยอมตามฟ้องนั่นเอง เมื่อโจทก์มาสืบว่าได้เดินผ่านที่จำเลยมา 18 ปี ตั้งแต่เข้าอยู่ในที่ที่ซื้อนายปัด จำเลยก็ย่อมนำสืบคัดค้านได้ว่าโจทก์ซื้อและเข้าอยู่ในที่นายปัดเมื่อ 6 ปีมานี้เอง เป็นการสืบหักล้างพยานโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1285/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุการใช้ทางภารจำยอม การครอบครองปรปักษ์ และการหักล้างพยาน
การที่โจทก์ใช้ทางพิพาทเดินมาเพียง 6 ปี เท่านั้น(ไม่ถึง 10 ปี)ยังหาทำให้เกิดสิทธิเป็นทางภารจำยอมไม่
โจทก์ฟ้องขอให้เปิดทางภารจำยอม จำเลยต่อสู้ว่าไม่มีทางในที่ของจำเลย โจทก์ไม่เคยเดินในที่จำเลยเช่นนี้ก็คือจำเลยปฏิเสธว่าไม่มีทางภารจำยอมตามฟ้องนั่นเอง เมื่อโจทก์นำสืบว่าได้เดินผ่านที่จำเลยมา 18 ปี ตั้งแต่เข้าอยู่ในที่ที่ซื้อนายปัด จำเลยก็ย่อมนำสืบคัดค้านได้ว่าโจทก์ซื้อและเข้าอยู่ในที่นายปัดเมื่อ 6 ปีมานี้เอง เป็นการสืบหักล้างพยานโจทก์
โจทก์ฟ้องขอให้เปิดทางภารจำยอม จำเลยต่อสู้ว่าไม่มีทางในที่ของจำเลย โจทก์ไม่เคยเดินในที่จำเลยเช่นนี้ก็คือจำเลยปฏิเสธว่าไม่มีทางภารจำยอมตามฟ้องนั่นเอง เมื่อโจทก์นำสืบว่าได้เดินผ่านที่จำเลยมา 18 ปี ตั้งแต่เข้าอยู่ในที่ที่ซื้อนายปัด จำเลยก็ย่อมนำสืบคัดค้านได้ว่าโจทก์ซื้อและเข้าอยู่ในที่นายปัดเมื่อ 6 ปีมานี้เอง เป็นการสืบหักล้างพยานโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2108/2497
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภารจำยอมโดยอายุความ: การฟ้องรอนสิทธิและการพิสูจน์ความสุจริตของผู้รับโอน
เมื่อโจทก์ใช้สิทธิทางเดินผ่านที่ดินของจำเลยมากว่า30 ปี โจทก์ย่อมได้ทรัพยสิทธิอย่างหนึ่งเรียกว่า"ภาระจำยอม" บนที่ดินของจำเลยโดยทางอายุความ เมื่อยังไม่จดทะเบียนจึงเข้าข่ายบังคับของ มาตรา 1299 วรรคสองเมื่อโจทก์บรรยายฟ้องว่าโจทก์ทรงทรัพยสิทธิภาระจำยอมและถูกจำเลยรอนสิทธิ เพียงเท่านี้ก็เป็นฟ้องที่ครบบริบูรณ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา172แล้ว ข้อจำเลยได้รับโอนมาโดยสุจริตหรือไม่ไม่จำเป็นต้องกล่าวเพราะเป็นประเด็นอีกข้อหนึ่งเพิ่มเติมจากข้อเท็จจริงที่โจทก์กล่าว ต่อเมื่อจำเลยกล่าวอ้างขึ้นก็เป็นประเด็นที่จะต้องนำสืบกันต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2108/2497 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาระจำยอมโดยอายุความ: การฟ้องรอนสิทธิ & ประเด็นสุจริตของผู้ซื้อ
เมื่อโจทก์ใช้สิทธิทางเดินผ่านที่ดินของจำเลยมากว่า 10 ปีโจทก์ย่อมได้ทรัพย์สินอย่างหนึ่งเรียกว่า "ภาระจำยอม" บนที่ดินของจำเลยโดยทางอายุความ เมื่อยังไม่จดทะเบียนจึงเข้าข่ายบังคับของ ม.1294 วรรค 2 เมื่อโจทก์บรรยายฟ้องว่าโจทก์ทรงทรัพย์สิทธิภาระจำยอมและถูกจำเลยรอบสิทธิเพียงเท่านี้ก็เป็นฟ้องที่ครบบริบูรณ์ตาม ป. วิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 172 แล้ว ข้อจำเลยได้รับโอนมาโดยสุจริตหรือไม่ ๆ จำเป็นต้องกล่าวเพราะเป็นประเด็นอีกข้อหนึ่งเพิ่มเติมจากข้อเท็จจริงที่โจทก์กล่าว ต่อเมื่อจำเลยกล่าวอ้างขึ้นก็เป็นประเด็นที่จะต้องนำสืบกันต่อไป
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1056/2496
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาระจำยอมทางเกวียน การใช้ทางต่อเนื่องเกิน 10 ปีทำให้เกิดสิทธิ
ทางเกวียนที่แยกจากทางหลวงแผ่นดิน ติดต่อเข้าไปในนาจำเลยไปยังนาโจทก์ ซึ่งเจ้าของนาเดิมของโจทก์ตลอดจนโจทก์ได้ใช้ทางเกวียนนี้ต่อเนื่องกันมาเกิน 10 ปีแล้วทางเกวียนดังกล่าวย่อมตกเป็นภาระจำยอมตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1401 ประกอบด้วยมาตรา1382 จำเลยจะปิดเสียไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1044/2496
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาระจำยอมสิ้นสุดเมื่อเจ้าของที่ดินรวมเป็นคนเดียวกัน แม้เคยมีมาก่อน ย่อมไม่เกิดภาระจำยอมโดยอายุความ
ที่ดิน 2 แปลง เมื่อตกได้แก่เจ้าของเดียวกันแล้วแม้หากจะเคยมีภาระจำยอมมาก่อน ภาระจำยอมนั้นก็ย่อมหมดไป และแม้เจ้าของจะใช้ทางผ่านในที่ดินนั้น ก็เป็นเรื่องใช้อำนาจกรรมสิทธิ์ ไม่ใช่ภาระจำยอม ฉะนั้นเมื่อขายที่ดินแปลงหนึ่งให้บุคคลอื่นไปยังไม่ถึง 10 ปีจึงยังไม่มีทางก่อเกิดภาระจำยอมโดยทางอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1401 ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1276/2494 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาระจำยอมทางอายุความและการลดทอนประโยชน์ของภาระจำยอม การฟ้องคดีซ้ำตาม ป.วิ.แพ่ง ม.144, 148
ป.วิ.แพ่ง ม.144 ห้ามศาลมิให้ดำเนินคดีเรื่องเดิมนั้นต่อไปอีกทั้งคดีหรือเฉพาะประเด็นบางข้อ ซึ่งศาลได้วินิจฉัยชี้ขาดแล้ว ส่วน ม.148 เป็นเรื่องโจทก์ฟ้องคดีเรื่องใด ศาลตัดสินครั้งหนึ่แล้ว มาฟ้องใหม่ซ้ำอีกไม่ได้
กรณีที่โจทก์ฟ้องแล้วครั้งหนึ่ง ศาล 144,148 ตัดสินแล้ว โจทก์มาฟ้องคดีนี้อีก ไม่ใช่เรื่องศาลดำเนินคดีเดิม กรณีไม่เข้า ม.144 คงเป็นปัญหาตาม ม.148 เท่านั้น
โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 แล้ว ศาลชั้นต้นยกฟ้องโดยอ้างว่าภาระจำยอมที่โจทก์อ้างปราศจากรากฐานตาม ก.ม.บังคับจำเลยไม่ได้ ศาลอุทธรณ์ยืนในข้อที่ยกฟ้องโดยเหตุว่าโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ไม่ได้ เพราะจำเลยที่ 1 ไม่ใช่เจ้าของที่ดินอันเป็นภาระ+ทรัพย์ จึงไม่จำต้องวินิจฉัยประเด็นที่ว่าจำเลยกั้นทางรายนี้ให้แคบลงได้หรือไม่ ดังนี้ ต้องถือตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ซึ่งเป็นคำพิพากษาอันถึงที่สุด โจทก์ฟ้องคดีใหม่นี้โดยฟ้องจำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินด้วยได้ ไม่ต้องห้ามตาม ม.148
โจทก์ได้ภาระจำยอมโดยอายุความตาม ป.พ.พ.ม.1401 อันอาจใช้ล้อหรือเกวียนและรถยนต์เข้าออกตามทางผ่านที่ดินของจำเลยแล้ว จำเลยกั้นทางให้แคบลงจนใช้ล้อหรือเกวียนและรถยนต์ไม่ได้ย่อมเป็นการทำให้ประโยชน์แห่งภาระจำยอมเสื่อมไป ขัดต่อ ม.1390 แม้โจทก์จะยังใช้รถจักรยาน 3 ล้อเข้าออกได้หรือโจทก์ไม่ได้เอาเกวียนเข้าเก็บในที่ดินของโจทก์ก็ไม่เป็นข้อแก้ตัว
โจทก์มีทางเอาเกวียนและรถเจ้าออกทางอื่นได้ แต่ทางนั้นไม่ใช่ทางสาธารณะและโจทก์ยังไม่มีสิทธิเหนือทางนั้น อาจถูกสั่งปิดเสียเมื่อใดก็ได้ ไม่เรียกว่าทางพิพาทหมดประโยชน์แก่โจทก์อันจะทำให้ภาระจำยอมหมดไปตาม ม.1400
กรณีที่โจทก์ฟ้องแล้วครั้งหนึ่ง ศาล 144,148 ตัดสินแล้ว โจทก์มาฟ้องคดีนี้อีก ไม่ใช่เรื่องศาลดำเนินคดีเดิม กรณีไม่เข้า ม.144 คงเป็นปัญหาตาม ม.148 เท่านั้น
โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 แล้ว ศาลชั้นต้นยกฟ้องโดยอ้างว่าภาระจำยอมที่โจทก์อ้างปราศจากรากฐานตาม ก.ม.บังคับจำเลยไม่ได้ ศาลอุทธรณ์ยืนในข้อที่ยกฟ้องโดยเหตุว่าโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ไม่ได้ เพราะจำเลยที่ 1 ไม่ใช่เจ้าของที่ดินอันเป็นภาระ+ทรัพย์ จึงไม่จำต้องวินิจฉัยประเด็นที่ว่าจำเลยกั้นทางรายนี้ให้แคบลงได้หรือไม่ ดังนี้ ต้องถือตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ซึ่งเป็นคำพิพากษาอันถึงที่สุด โจทก์ฟ้องคดีใหม่นี้โดยฟ้องจำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินด้วยได้ ไม่ต้องห้ามตาม ม.148
โจทก์ได้ภาระจำยอมโดยอายุความตาม ป.พ.พ.ม.1401 อันอาจใช้ล้อหรือเกวียนและรถยนต์เข้าออกตามทางผ่านที่ดินของจำเลยแล้ว จำเลยกั้นทางให้แคบลงจนใช้ล้อหรือเกวียนและรถยนต์ไม่ได้ย่อมเป็นการทำให้ประโยชน์แห่งภาระจำยอมเสื่อมไป ขัดต่อ ม.1390 แม้โจทก์จะยังใช้รถจักรยาน 3 ล้อเข้าออกได้หรือโจทก์ไม่ได้เอาเกวียนเข้าเก็บในที่ดินของโจทก์ก็ไม่เป็นข้อแก้ตัว
โจทก์มีทางเอาเกวียนและรถเจ้าออกทางอื่นได้ แต่ทางนั้นไม่ใช่ทางสาธารณะและโจทก์ยังไม่มีสิทธิเหนือทางนั้น อาจถูกสั่งปิดเสียเมื่อใดก็ได้ ไม่เรียกว่าทางพิพาทหมดประโยชน์แก่โจทก์อันจะทำให้ภาระจำยอมหมดไปตาม ม.1400
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1276/2494
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภาระจำยอมเสื่อมประโยชน์ – การกั้นทางทำให้ใช้สิทธิไม่ได้ – การฟ้องคดีซ้ำ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 144 ห้ามศาลมิให้ดำเนินคดีเรื่องเดิมนั้นต่อไปอีกทั้งคดีหรือเฉพาะประเด็นบางข้อซึ่งศาลได้วินิจฉัยชี้ขาดแล้ว ส่วน มาตรา 148 เป็นเรื่องโจทก์ฟ้องคดีเรื่องใด ศาลตัดสินครั้งหนึ่งแล้ว มาฟ้องใหม่ซ้ำอีกไม่ได้
กรณีที่โจทก์ฟ้องแล้วครั้งหนึ่ง ศาลตัดสินแล้ว โจทก์มาฟ้องคดีนี้อีก ไม่ใช่เรื่องศาลดำเนินคดีเดิม กรณีไม่เข้า มาตรา 144 คงเป็นปัญหาตาม มาตรา 148 เท่านั้น
โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 แล้ว ศาลชั้นต้นยกฟ้องโดยอ้างว่าภาระจำยอมที่โจทก์อ้างปราศจากรากฐานตามกฎหมายบังคับจำเลยไม่ได้ ศาลอุทธรณ์ยืนในข้อที่ยกฟ้องโดยเหตุว่าโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ไม่ได้เพราะจำเลยที่ 1 ไม่ใช่เจ้าของที่ดินอันเป็นภารยะทรัพย์ จึงไม่จำต้องวินิจฉัยประเด็นที่ว่าจำเลยกั้นทางรายนี้ให้แคบลงได้หรือไม่ ดังนี้ ต้องถือตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ซึ่งเป็นคำพิพากษาอันถึงที่สุด โจทก์ฟ้องคดีใหม่นี้โดยฟ้องจำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินด้วยได้ ไม่ต้องห้ามตาม มาตรา 148
โจทก์ได้ภาระจำยอมโดยอายุความตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ม 1401 อันอาจใช้ล้อหรือเกวียนและรถยนต์เข้าออกตามทางผ่านที่ดินของจำเลยแล้ว จำเลยกั้นทางให้แคบลงจนใช้ล้อหรือเกวียนและรถยนต์ไม่ได้ ย่อมเป็นการทำให้ประโยชน์แห่งภาระจำยอมเสื่อมไปขัดต่อ มาตรา 1390 แม้โจทก์จะยังใช้รถจักรยาน 3 ล้อเข้าออกได้หรือโจทก์ไม่ได้เอาเกวียนเข้าเก็บในที่ดินของโจทก์ก็ไม่เป็นข้อแก้ตัว
โจทก์มีทางเอาเกวียนและรถเข้าออกทางอื่นได้ แต่ทางนั้นไม่ใช่ทางสาธารณะและโจทก์ยังไม่มีสิทธิเหนือทางนั้นอาจถูกสั่งปิดเสียเมื่อใดก็ได้ ไม่เรียกว่าทางพิพาทหมดประโยชน์แก่โจทก์อันจะทำให้ภาระจำยอมหมดไปตาม มาตรา 1400
กรณีที่โจทก์ฟ้องแล้วครั้งหนึ่ง ศาลตัดสินแล้ว โจทก์มาฟ้องคดีนี้อีก ไม่ใช่เรื่องศาลดำเนินคดีเดิม กรณีไม่เข้า มาตรา 144 คงเป็นปัญหาตาม มาตรา 148 เท่านั้น
โจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 แล้ว ศาลชั้นต้นยกฟ้องโดยอ้างว่าภาระจำยอมที่โจทก์อ้างปราศจากรากฐานตามกฎหมายบังคับจำเลยไม่ได้ ศาลอุทธรณ์ยืนในข้อที่ยกฟ้องโดยเหตุว่าโจทก์ฟ้องจำเลยที่ 1 ไม่ได้เพราะจำเลยที่ 1 ไม่ใช่เจ้าของที่ดินอันเป็นภารยะทรัพย์ จึงไม่จำต้องวินิจฉัยประเด็นที่ว่าจำเลยกั้นทางรายนี้ให้แคบลงได้หรือไม่ ดังนี้ ต้องถือตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ซึ่งเป็นคำพิพากษาอันถึงที่สุด โจทก์ฟ้องคดีใหม่นี้โดยฟ้องจำเลยที่ 1 และจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินด้วยได้ ไม่ต้องห้ามตาม มาตรา 148
โจทก์ได้ภาระจำยอมโดยอายุความตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ม 1401 อันอาจใช้ล้อหรือเกวียนและรถยนต์เข้าออกตามทางผ่านที่ดินของจำเลยแล้ว จำเลยกั้นทางให้แคบลงจนใช้ล้อหรือเกวียนและรถยนต์ไม่ได้ ย่อมเป็นการทำให้ประโยชน์แห่งภาระจำยอมเสื่อมไปขัดต่อ มาตรา 1390 แม้โจทก์จะยังใช้รถจักรยาน 3 ล้อเข้าออกได้หรือโจทก์ไม่ได้เอาเกวียนเข้าเก็บในที่ดินของโจทก์ก็ไม่เป็นข้อแก้ตัว
โจทก์มีทางเอาเกวียนและรถเข้าออกทางอื่นได้ แต่ทางนั้นไม่ใช่ทางสาธารณะและโจทก์ยังไม่มีสิทธิเหนือทางนั้นอาจถูกสั่งปิดเสียเมื่อใดก็ได้ ไม่เรียกว่าทางพิพาทหมดประโยชน์แก่โจทก์อันจะทำให้ภาระจำยอมหมดไปตาม มาตรา 1400
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 219/2494
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ทางภาระจำยอมเกิดขึ้นจากการใช้ทางต่อเนื่องแม้เจ้าของที่ดินจะก่อสร้างกีดขวาง
ผู้ขายที่ดินทำทางในที่ของตนให้บรรดาผู้ซื้อที่ดินของตนใช้เข้าออกสู่ทางสาธารณะเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้วนั้น ย่อมถือว่าเป็นทางภาระจำยอมเมื่อผู้ขายไปปลูกเรือนลงในทางนี้เสียครึ่งหนึ่ง ทำให้ใช้ทางไม่สะดวกเหมือนเช่นเดิมอันเป็นเหตุให้ประโยชน์แห่งภาระจำยอมลดไปหรือเสื่อมความสะดวกซึ่งต้องด้วยข้อห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1390 เจ้าของที่ดินจึงต้องรับผิด
คำว่า 'อาศัยใช้'ทางเดินไม่หมายความว่าเป็นการอาศัยสิทธิเสมอไปอาจเป็นภาระจำยอมก็ได้
คำว่า 'อาศัยใช้'ทางเดินไม่หมายความว่าเป็นการอาศัยสิทธิเสมอไปอาจเป็นภาระจำยอมก็ได้