พบผลลัพธ์ทั้งหมด 36 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 824/2523
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ส่วนแบ่งสินสมรสก่อน-หลังใช้ประมวลกฎหมายแพ่ง: สิทธิในทรัพย์สินตามพินัยกรรม
สมรสกันก่อนประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ5 ใช้บังคับโดยฝ่ายหญิงมีสินเดิม ฝ่ายชายไม่มีสินเดิม ต่อมาผัวตายจากไปเมื่อใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 แล้วกรณีเช่นนี้ส่วนแบ่งสินสมรสได้แก่เมีย 2 ส่วน ได้แก่ผัว 1 ส่วน ตามกฎหมายลักษณะผัวเมียบทที่ 68 เมื่อผัวทำพินัยกรรมยกทรัพย์ที่เป็นสินสมรสให้บุตรสินสมรสส่วนของผัวนั้นย่อมตกได้แก่บุตรตามพินัยกรรม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 824/2523 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งสินสมรสกรณีแต่งงานก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และการตกตามพินัยกรรม
สมรสกันก่อนประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ใช้บังคับ โดยฝ่ายหญิงมีสินเดิม ฝ่ายชายไม่มีสินเดิม ต่อมาผัวตายจากไปเมื่อใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 แล้ว กรณีเช่นนี้ส่วนแบ่งสินสมรสได้แก่เมีย 2 ส่วน ได้แก่ผัว 1 ส่วนตามกฎหมายลักษณะผัวเมียบทที่ 68 เมื่อผัวทำพินัยกรรมยกทรัพย์ที่เป็นสินสมรสให้บุตร สินสมรสส่วนของผัวนั้นย่อมตกได้แก่บุตรตามพินัยกรรม
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1310/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ภรรยาน้อยไร้สินเดิม ไม่มีสิทธิแบ่งสินสมรสจากกองมรดก แม้สามีมีพินัยกรรม
โจทก์เป็นภรรยาน้อยของผู้ตายก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ฟ้องขอแบ่งสินสมรสจากกองมรดกของผู้ตาย เมื่อปรากฏว่าโจทก์ไม่มีสินเดิมติดตัวมา โจทก์จึงไม่มีสิทธิจะขอแบ่งสินสมรสตามกฎหมายลักษณะผัวเมียบทที่ 68 (อ้างฎีกาที่ 821/2463)
เมื่อปรากฏว่าฟ้องของโจทก์ตั้งประเด็นขอแบ่งสินสมรสโดยอ้างว่าทุกฝ่ายไม่มีสินเดิมด้วยกันมิได้ตั้งประเด็นเป็นเรื่องมรดกศาลฎีกาจึงไม่รับวินิจฉัยฎีกาของโจทก์ ในเรื่องขอให้แบ่งสินสมรสภาคมรดก
เมื่อปรากฏว่าฟ้องของโจทก์ตั้งประเด็นขอแบ่งสินสมรสโดยอ้างว่าทุกฝ่ายไม่มีสินเดิมด้วยกันมิได้ตั้งประเด็นเป็นเรื่องมรดกศาลฎีกาจึงไม่รับวินิจฉัยฎีกาของโจทก์ ในเรื่องขอให้แบ่งสินสมรสภาคมรดก
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1691/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแบ่งสินสมรสกรณีมีภรรยาหลายคน และทรัพย์สินคละปะปน
โจทก์และจำเลยต่างเป็นภรรยาของผู้ตายตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย โดยผู้ตายได้กับโจทก์ก่อน เมื่อผู้ตายแต่งงานกับจำเลยได้นำเงิน 6 ชั่งไปกองทุนกับจำเลย และต่อมาได้ทำมาหากินกับจำเลยจนเกิดทรัพย์พิพาทขึ้น เงิน 6 ชั่งย่อมเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์กับผู้ตาย เมื่อนำไปใช้ทำทุนจนเกิดทรัพย์พิพาทขึ้น ถือได้ว่าสินสมรสที่โจทก์มีส่วน ได้คละปะปนกับสินสมรสของจำเลย โจทก์จึงมีส่วนแบ่งในทรัพย์พิพาท
ให้แบ่งสินสมรสเป็น 3 ส่วน ผู้ตายได้ 2 ส่วน โจทก์และจำเลยได้ 1 ส่วน
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 28/2509)
ให้แบ่งสินสมรสเป็น 3 ส่วน ผู้ตายได้ 2 ส่วน โจทก์และจำเลยได้ 1 ส่วน
(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 28/2509)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1052/2509 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในสินสมรสก่อน-หลังใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์: กรณีโจทก์ไม่มีสินเดิม
โจทก์และจำเลยที่ 1 เป็นสามีภริยากันก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 สิทธิในสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยที่ 1 ต้องบังคับตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย ซึ่งใช้อยู่ก่อนวันประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 เมื่อโจทก์ได้จำเลยที่ 1 เป็นสามีโจทก์ไม่มีสินเดิม ตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย โจทก์ไม่มีสิทธิจะได้ส่วนแบ่งในสินสมรส
(อ้างฎีกาที่ 326/2479)
เมื่อฟังว่านาพิพาทเป็นสินเดิมของจำเลยที่ 1 และแม้หากจะฟังว่าเรือนและครัวซึ่งปลูกอยู่บนนาพิพาทเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยที่ 1 เมื่อโจทก์ไม่มีสิทธิจะได้ส่วนแบ่งในสินสมรส จำเลยที่ 1 ก็มีอำนาจขายนาพิพาทพร้อมด้วยเรือนและครัวให้จำเลยที่ 2 ได้ โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากโจทก์
(อ้างฎีกาที่ 326/2479)
เมื่อฟังว่านาพิพาทเป็นสินเดิมของจำเลยที่ 1 และแม้หากจะฟังว่าเรือนและครัวซึ่งปลูกอยู่บนนาพิพาทเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยที่ 1 เมื่อโจทก์ไม่มีสิทธิจะได้ส่วนแบ่งในสินสมรส จำเลยที่ 1 ก็มีอำนาจขายนาพิพาทพร้อมด้วยเรือนและครัวให้จำเลยที่ 2 ได้ โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1052/2509
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในสินสมรสกรณีสามีภริยาก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งฯ และการขายสินเดิมโดยไม่ต้องยินยอม
โจทก์และจำเลยที่ 1 เป็นสามีภริยากันก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 สิทธิในสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยที่ 1 ต้องบังคับตามกฎหมายลักษณะผัวเมียซึ่งใช้อยู่ก่อนวันประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 เมื่อโจทก์ได้จำเลยที่ 1 เป็นสามีโจทก์ไม่มีสินเดิม ตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย โจทก์ไม่มีสิทธิจะได้ส่วนแบ่งในสินสมรส (อ้างฎีกาที่ 326/2479)
เมื่อฟังว่านาพิพาทเป็นสินเดิมของจำเลยที่ 1 และแม้หากจะฟังว่าเรือนและครัวซึ่งปลูกอยู่บนนาพิพาทเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยที่ 1 เมื่อโจทก์ไม่มีสิทธิจะได้ส่วนแบ่งในสินสมรส จำเลยที่ 1 ก็มีอำนาจขายนาพิพาทพร้อมด้วยเรือนและครัวให้จำเลยที่ 2 ได้ โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากโจทก์
เมื่อฟังว่านาพิพาทเป็นสินเดิมของจำเลยที่ 1 และแม้หากจะฟังว่าเรือนและครัวซึ่งปลูกอยู่บนนาพิพาทเป็นสินสมรสระหว่างโจทก์และจำเลยที่ 1 เมื่อโจทก์ไม่มีสิทธิจะได้ส่วนแบ่งในสินสมรส จำเลยที่ 1 ก็มีอำนาจขายนาพิพาทพร้อมด้วยเรือนและครัวให้จำเลยที่ 2 ได้ โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากโจทก์
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 816/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สินสมรส, พินัยกรรม, การครอบครองปรปักษ์ และข้อยกเว้นการเป็นพยานในคดี
สามีภริยาซึ่งทำการสมรสกันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ สินสมรสของภริยามีอยู่ 1 ใน 3 และของสามีมีอยู่ 2 ใน 3
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1477 สามีภริยาทำพินัยกรรมยกทรัพย์อันเป็นสินบริคณห์ให้แก่ผู้อื่นได้เฉพาะแต่ที่เป็นส่วนของตนเท่านั้น
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1653 ผู้เขียนหรือพยานในพินัยกรรมจะเป็นผู้รับทรัพย์ตามพินัยกรรมไม่ได้เท่านั้น มิได้ห้ามศาลไม่ให้รับฟังคำบุคคลเหล่านี้เป็นพยาน
ผู้ที่ครอบครองมิได้มีเจตนาครอบครองที่พิพาทไม่มีทางได้กรรมสิทธิ์
เดิม โจทก์มอบอำนาจให้ไวยาวัจกรดำเนินคดี ต่อมาไวยาวัจกรตาย โจทก์จึงมอบอำนาจให้บุคคลอีกคนหนึ่งดำเนินคดีต่อไปในชั้นฎีกา ผู้รับมอบอำนาจคนหลังจึงมีสิทธิยื่นฎีกาได้
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1477 สามีภริยาทำพินัยกรรมยกทรัพย์อันเป็นสินบริคณห์ให้แก่ผู้อื่นได้เฉพาะแต่ที่เป็นส่วนของตนเท่านั้น
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1653 ผู้เขียนหรือพยานในพินัยกรรมจะเป็นผู้รับทรัพย์ตามพินัยกรรมไม่ได้เท่านั้น มิได้ห้ามศาลไม่ให้รับฟังคำบุคคลเหล่านี้เป็นพยาน
ผู้ที่ครอบครองมิได้มีเจตนาครอบครองที่พิพาทไม่มีทางได้กรรมสิทธิ์
เดิม โจทก์มอบอำนาจให้ไวยาวัจกรดำเนินคดี ต่อมาไวยาวัจกรตาย โจทก์จึงมอบอำนาจให้บุคคลอีกคนหนึ่งดำเนินคดีต่อไปในชั้นฎีกา ผู้รับมอบอำนาจคนหลังจึงมีสิทธิยื่นฎีกาได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 816/2508
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สินสมรส, พินัยกรรม, การครอบครอง และการเพิกถอนพินัยกรรม: สิทธิในทรัพย์สินหลังการสมรส
สามีภริยาซึ่งทำการสมรสกันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ สินสมรสของภริยามีอยู่ 1 ใน3 และของสามีมีอยู่ 2 ใน 3
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1477 สามีภริยาทำพินัยกรรมยกทรัพย์อันเป็นสินบริคณห์ให้แก่ผู้อื่นได้เฉพาะแต่ที่เป็นส่วนของตนเท่านั้น
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1653 ผู้เขียนหรือพยานในพินัยกรรมจะเป็นผู้รับทรัพย์ตามพินัยกรรมไม่ได้เท่านั้น มิได้ห้ามศาลไม่ให้รับฟังคำบุคคลเหล่านี้เป็นพยาน
ผู้ที่ครอบครองมิได้มีเจตนาครอบครองที่พิพาท ไม่มีทางได้กรรมสิทธิ์
เดิมโจทก์มอบอำนาจให้ไวยาวัจกรดำเนินคดี ต่อมาไวยาวัจกรตาย โจทก์จึงมอบอำนาจให้บุคคลอีกคนหนึ่งดำเนินคดีต่อไปในชั้นฎีกาผู้รับมอบอำนาจคนหลังจึงมีสิทธิยื่นฎีกาได้
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1477 สามีภริยาทำพินัยกรรมยกทรัพย์อันเป็นสินบริคณห์ให้แก่ผู้อื่นได้เฉพาะแต่ที่เป็นส่วนของตนเท่านั้น
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1653 ผู้เขียนหรือพยานในพินัยกรรมจะเป็นผู้รับทรัพย์ตามพินัยกรรมไม่ได้เท่านั้น มิได้ห้ามศาลไม่ให้รับฟังคำบุคคลเหล่านี้เป็นพยาน
ผู้ที่ครอบครองมิได้มีเจตนาครอบครองที่พิพาท ไม่มีทางได้กรรมสิทธิ์
เดิมโจทก์มอบอำนาจให้ไวยาวัจกรดำเนินคดี ต่อมาไวยาวัจกรตาย โจทก์จึงมอบอำนาจให้บุคคลอีกคนหนึ่งดำเนินคดีต่อไปในชั้นฎีกาผู้รับมอบอำนาจคนหลังจึงมีสิทธิยื่นฎีกาได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 370/2506
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในลูกสุกรเกิดหลังเจ้ามรดกเสียชีวิต: ดอกผลของทรัพย์มรดกและค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดู
ลูกสุกรเกิดจากสุกรพ่อและสุกรแม่ซึ่งเลี้ยงไว้ในระหว่างเจ้ามรดกยังมีชีวิตอยู่แต่เกิดเมื่อเจ้ามรดกตายแล้วลูกสุกรและเงินที่ขายลูกสุกรได้ก็เป็นสินสมรสระหว่างเจ้ามรดกกับภรรยาส่วนของเจ้ามรดกตกเป็นมรดก ทายาทมีส่วนแบ่งในสุกรพ่อและสุกรแม่อย่างไรก็มีส่วนแบ่งในลูกสุกรหรือเงินที่ขายได้อย่างนั้น
แม้จะขายลูกสุกรเหล่านี้ไปหลังจากเจ้ามรดกตาย 2 ปีเศษทายาทก็มีสิทธิขอแบ่งมรดกตามราคาที่ขายได้ (ไม่ใช่ตามราคาของลูกสุกรเมื่อแรกเกิด) ค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงสุกรจนกระทั่งขายไปนั้น ทายาทผู้เป็นเจ้าของรวมต้องช่วยกันออกตามส่วนของตน ในเวลาแบ่งเจ้าของรวมผู้เป็นเจ้าหนี้จะเรียกให้เอาส่วนซึ่งจะได้แก่ลูกหนี้ชำระหนี้เสียก่อนก็ได้ ทายาทที่อ้างว่าตนออกค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงสุกรคนเดียว เมื่อถูกทายาทอื่นฟ้องขอแบ่งมรดกเงินค่าขายสุกรชอบที่จะขอหักค่าใช้จ่ายนี้มาในคำให้การ
แม้จะขายลูกสุกรเหล่านี้ไปหลังจากเจ้ามรดกตาย 2 ปีเศษทายาทก็มีสิทธิขอแบ่งมรดกตามราคาที่ขายได้ (ไม่ใช่ตามราคาของลูกสุกรเมื่อแรกเกิด) ค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงสุกรจนกระทั่งขายไปนั้น ทายาทผู้เป็นเจ้าของรวมต้องช่วยกันออกตามส่วนของตน ในเวลาแบ่งเจ้าของรวมผู้เป็นเจ้าหนี้จะเรียกให้เอาส่วนซึ่งจะได้แก่ลูกหนี้ชำระหนี้เสียก่อนก็ได้ ทายาทที่อ้างว่าตนออกค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงสุกรคนเดียว เมื่อถูกทายาทอื่นฟ้องขอแบ่งมรดกเงินค่าขายสุกรชอบที่จะขอหักค่าใช้จ่ายนี้มาในคำให้การ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 370/2506 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
มรดกจากลูกสุกร: สิทธิทายาทในดอกผลของสินสมรสหลังเจ้ามรดกเสียชีวิตและการแบ่งค่าใช้จ่าย
ลูกสุกรเกิดจากสุกรพ่อและสุกรแม่ซึ่งเลี้ยงไว้ในระหว่างเจ้ามรดกยังมีชีวิตอยู่ แต่เกิดเมื่อเจ้ามรดกตายแล้ว ลูกสุกรและเงินที่ขายลูกสุกรได้ก็เป็นสินสมรสระหว่างเจ้ามรดกกับภรรยา ส่วนของเจ้ามรดกตกเป็นมรดก ทายาทมีส่วนแบ่งในสุกรพ่อและสุกรแม่อย่างไร ก็มีส่วนแบ่งในลูกสุกรหรือเงินที่ขายได้อย่างนั้น
แม้จะขายลูกสุกรเหล่านี้ไปหลังจากเจ้ามรดกตาย 2 ปีเศษ ทายาทก็มีสิทธิขอแบ่งมรดกตามราคาที่ขายได้ (ไม่ใช่ตามราคาของลูกสุกรเมื่อแรกเกิด) ค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงสุกรจนกระทั่งขายไปนั้น ทายาทผู้เป็นเข้าของรวมต้องช่วยกันออกตามส่วนของตน ในเวลาแบ่งเจ้าของรวมผู้เป็นเจ้าหนี้จะเรียกให้เอาส่วนซึ่งจะได้แก่าลูกหนี้ชำระหนี้เสียก่อนก็ได้ ทายาทที่อ้างว่าตนออกค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงสุกรคนเดียว เมื่อถูกทายาทอื่นฟ้องขอแบ่งมรดกเงินค่าขายสุกร ชอบที่จะขอหักค่าใช้จ่ายนี้มาในคำให้การ
แม้จะขายลูกสุกรเหล่านี้ไปหลังจากเจ้ามรดกตาย 2 ปีเศษ ทายาทก็มีสิทธิขอแบ่งมรดกตามราคาที่ขายได้ (ไม่ใช่ตามราคาของลูกสุกรเมื่อแรกเกิด) ค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงสุกรจนกระทั่งขายไปนั้น ทายาทผู้เป็นเข้าของรวมต้องช่วยกันออกตามส่วนของตน ในเวลาแบ่งเจ้าของรวมผู้เป็นเจ้าหนี้จะเรียกให้เอาส่วนซึ่งจะได้แก่าลูกหนี้ชำระหนี้เสียก่อนก็ได้ ทายาทที่อ้างว่าตนออกค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงสุกรคนเดียว เมื่อถูกทายาทอื่นฟ้องขอแบ่งมรดกเงินค่าขายสุกร ชอบที่จะขอหักค่าใช้จ่ายนี้มาในคำให้การ