พบผลลัพธ์ทั้งหมด 153 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1104-1105/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดการรับฟังข้อเท็จจริงจากคดีอาญาในคดีแพ่ง: จำเลยในคดีแพ่งต้องเป็นคู่ความในคดีอาญา หรือคดีอาญาต้องถึงที่สุดก่อน
ที่ว่าในการพิพากษาคดีส่วนแพ่งศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญานั้น หมายความว่าคดีส่วนอาญาได้ถึงที่สุดแล้วและจำเลยในคดีแพ่งก็ต้องเป็นจำเลยรายเดียวกันกับจำเลยในคำพิพากษาคดีส่วนอาญานั้นด้วย
ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ฟังว่านายเจริญกับพวกจำเลยฆ่านายประเวศตาย นายเจริญจำเลยกับพวกฎีกา ระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา นายเจริญจำเลยตาย คดีส่วนตัวนายเจริญจำเลยจึงเป็นอันระงับไป เมื่อมารดาและบุตรของนายประเวศผู้ตายฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนฐานนายเจริญจำเลยละเมิด เช่นนี้ ข้อเท็จจริงในคดีส่วนแพ่งยังฟังลงไปทีเดียวไม่ได้ว่านายเจริญจำเลยมีส่วนร่วมในการฆ่านายประเวศดังที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์วินิจฉัยฟังมา เพราะคดีอาญานั้นยังไม่ถึงที่สุด ศาลฎีกาอาจฟังข้อเท็จจริงเป็นอย่างอื่นก็ได้เมื่อเช่นนี้ ข้อเท็จจริงในข้อว่านายเจริญจำเลยมีส่วนร่วมในการฆ่านายประเวศอันจะถือตามที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญาก็ไม่มี ศาลจะพิพากษาคดีส่วนแพ่งให้ผู้รับมรดกความของนายเจริญจำเลยรับผิดฐานละเมิดไปเลยทีเดียวยังไม่ได้ ต้องให้คู่ความในคดีแพ่งนำสืบข้อเท็จจริงเช่นว่านี้กันไป
คำวินิจฉัยของศาลชั้นต้นในคดีอาญาว่านายบุญเราและนายมินทร์(ซึ่งไม่ได้เป็นจำเลยในคดีอาญานั้นด้วยเลย)มีส่วนร่วมในการฆ่านายประเวศ ต่อมามารดาและบุตรนายประเวศผู้ตายได้เป็นโจทก์ฟ้องนายบุญเราและนายมินทร์เป็นจำเลยในคดีแพ่งเรียกค่าสินไหมทดแทนฐานละเมิด เช่นนี้ ศาลจะรับฟังข้อวินิจฉัยส่วนอาญาดังกล่าวแล้วของศาลชั้นต้นมาเป็นข้อเท็จจริงอันจะถือตามในคดีแพ่งนี้หาได้ไม่เพราะนายบุญเราและนายมินทร์ไม่ได้เป็นคู่ความในคดีอาญาดังกล่าวนั้น
ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ฟังว่านายเจริญกับพวกจำเลยฆ่านายประเวศตาย นายเจริญจำเลยกับพวกฎีกา ระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา นายเจริญจำเลยตาย คดีส่วนตัวนายเจริญจำเลยจึงเป็นอันระงับไป เมื่อมารดาและบุตรของนายประเวศผู้ตายฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนฐานนายเจริญจำเลยละเมิด เช่นนี้ ข้อเท็จจริงในคดีส่วนแพ่งยังฟังลงไปทีเดียวไม่ได้ว่านายเจริญจำเลยมีส่วนร่วมในการฆ่านายประเวศดังที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์วินิจฉัยฟังมา เพราะคดีอาญานั้นยังไม่ถึงที่สุด ศาลฎีกาอาจฟังข้อเท็จจริงเป็นอย่างอื่นก็ได้เมื่อเช่นนี้ ข้อเท็จจริงในข้อว่านายเจริญจำเลยมีส่วนร่วมในการฆ่านายประเวศอันจะถือตามที่ปรากฏในคำพิพากษาคดีส่วนอาญาก็ไม่มี ศาลจะพิพากษาคดีส่วนแพ่งให้ผู้รับมรดกความของนายเจริญจำเลยรับผิดฐานละเมิดไปเลยทีเดียวยังไม่ได้ ต้องให้คู่ความในคดีแพ่งนำสืบข้อเท็จจริงเช่นว่านี้กันไป
คำวินิจฉัยของศาลชั้นต้นในคดีอาญาว่านายบุญเราและนายมินทร์(ซึ่งไม่ได้เป็นจำเลยในคดีอาญานั้นด้วยเลย)มีส่วนร่วมในการฆ่านายประเวศ ต่อมามารดาและบุตรนายประเวศผู้ตายได้เป็นโจทก์ฟ้องนายบุญเราและนายมินทร์เป็นจำเลยในคดีแพ่งเรียกค่าสินไหมทดแทนฐานละเมิด เช่นนี้ ศาลจะรับฟังข้อวินิจฉัยส่วนอาญาดังกล่าวแล้วของศาลชั้นต้นมาเป็นข้อเท็จจริงอันจะถือตามในคดีแพ่งนี้หาได้ไม่เพราะนายบุญเราและนายมินทร์ไม่ได้เป็นคู่ความในคดีอาญาดังกล่าวนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1104-1105/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อจำกัดการรับฟังข้อเท็จจริงจากคดีอาญาในคดีแพ่ง: จำเลยที่ตาย/ไม่ได้เป็นคู่ความ
ที่ว่าในการพิพากษาคดีส่วนแพ่งศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฎในคำพิพากษาคดีส่วนอาญานั้น หมายความว่าคดีส่วนอาญาได้ถึงที่สุดแล้วและจำเลยในคดีแพ่งก็ต้องเป็นจำเลยรายเดียวกันกับจำเลยในคำพิพากษาคดีส่วนอาญานั้นด้วย
ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ฟังว่านายเจริญกับพวกจำเลยฆ่านายประเวศตาย นายเจริญจำเลยกับพวกฎีการะหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา นายเจริญจำเลยตาย คดีส่วนตัวนายเจริญจำเลยเป็นอันระงับไป เมื่อมารดาและบุตรของนายประเวศผู้ตายฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนฐานนายเจริญจำเลยละเมิดเช่นนี้ ข้อเท็จจริงในคดีส่วนแพ่งยังฟังลงไปทีเดียวไม่ได้ว่านายเจริญจำเลยมีส่วนร่วมในการฆ่านายประเวศดังที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์วินิจฉัยฟังมา เพราะคดีอาญานั้นยังไม่ถึงที่สุด ศาลฎีกาอาจฟังข้อเท็จจริงเป็นอย่างอื่นก็ได้ เมื่อเช่นนี้ ข้อเท็จจริงในข้อว่านายเจริญจำเลยมีส่วนร่วมในการฆ่านายประเวศอันจะถือตามที่ปรากฎในคำพิพากษาคดีส่วนอาญาก็ไม่มี ศาลจะพิพากษาคดีส่วนแพ่งให้ผู้รับมรดกความของนายเจริญจำเลยรับผิดฐานละเมิดไปเลยทีเดียวยังไม่ได้ต้องให้คู่ความในคดีแพ่ง นำสืบข้อเท็จจริงเช่นว่านี้กันไป
คำวินิจฉัยของศาลชั้นต้นในคดีอาญาว่านายบุญเราและนายมินทร์(ซึ่งไม่ได้เป็นจำเลยในคดีอาญานั้นด้วยเลย) มีส่วนร่วมในการฆ่านายประเวศ ต่อมามารดาและบุตรนายประเวศผู้ตายได้เป็นโจทก์ฟ้องนายบุญเราและนายมินทร์เป็นจำเลยในคดีแพ่งเรียกค่าสินไหมทดแทนฐานละเมิดเช่นนี้ศาลจะรับฟังข้อวินิจฉัยส่วนอาญาดังกล่าวแล้วของศาลชั้นต้นมาเป็นข้อเท็จจริงอันจะถือตามในคดีแพ่งนี้หาได้ไม่ เพราะนายบุญเราและนายมินทร์ไม่ได้เป็นคู่ความในคดีอาญาดังกล่าวนั้น
ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ฟังว่านายเจริญกับพวกจำเลยฆ่านายประเวศตาย นายเจริญจำเลยกับพวกฎีการะหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา นายเจริญจำเลยตาย คดีส่วนตัวนายเจริญจำเลยเป็นอันระงับไป เมื่อมารดาและบุตรของนายประเวศผู้ตายฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนฐานนายเจริญจำเลยละเมิดเช่นนี้ ข้อเท็จจริงในคดีส่วนแพ่งยังฟังลงไปทีเดียวไม่ได้ว่านายเจริญจำเลยมีส่วนร่วมในการฆ่านายประเวศดังที่ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์วินิจฉัยฟังมา เพราะคดีอาญานั้นยังไม่ถึงที่สุด ศาลฎีกาอาจฟังข้อเท็จจริงเป็นอย่างอื่นก็ได้ เมื่อเช่นนี้ ข้อเท็จจริงในข้อว่านายเจริญจำเลยมีส่วนร่วมในการฆ่านายประเวศอันจะถือตามที่ปรากฎในคำพิพากษาคดีส่วนอาญาก็ไม่มี ศาลจะพิพากษาคดีส่วนแพ่งให้ผู้รับมรดกความของนายเจริญจำเลยรับผิดฐานละเมิดไปเลยทีเดียวยังไม่ได้ต้องให้คู่ความในคดีแพ่ง นำสืบข้อเท็จจริงเช่นว่านี้กันไป
คำวินิจฉัยของศาลชั้นต้นในคดีอาญาว่านายบุญเราและนายมินทร์(ซึ่งไม่ได้เป็นจำเลยในคดีอาญานั้นด้วยเลย) มีส่วนร่วมในการฆ่านายประเวศ ต่อมามารดาและบุตรนายประเวศผู้ตายได้เป็นโจทก์ฟ้องนายบุญเราและนายมินทร์เป็นจำเลยในคดีแพ่งเรียกค่าสินไหมทดแทนฐานละเมิดเช่นนี้ศาลจะรับฟังข้อวินิจฉัยส่วนอาญาดังกล่าวแล้วของศาลชั้นต้นมาเป็นข้อเท็จจริงอันจะถือตามในคดีแพ่งนี้หาได้ไม่ เพราะนายบุญเราและนายมินทร์ไม่ได้เป็นคู่ความในคดีอาญาดังกล่าวนั้น
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1059/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคดีแพ่งต้องอาศัยข้อเท็จจริงที่ครบถ้วน แม้มีคดีอาญาที่เกี่ยวข้อง
ในคดีอาญาศาลฎีกาพิพากษาลงโทษจำเลยฐานบุกรุกโดยจำเลยขึงลวดหนามรุกล้ำเข้าไปในบริเวณที่ดินบางส่วนของโจทก์ต่อมาโจทก์มาฟ้องขับไล่จำเลยออกจากที่ดินที่จำเลยบุกรุกและให้ออกจากที่ดินส่วนเลยขึ้นไปทางด้านหนืออีก ซึ่งในคดีอาญาเดิมนั้น ศาลฎีกายังมิได้ชี้ขาดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับที่ดินส่วนที่เลยขึ้นไปทางด้านเหนือ เช่นนี้ ศาลจะงดสืบพยานทั้งสองฝ่าย โดยถือเอาข้อเท็จจริงในสำนวนคดีอาญาและเอกสารที่คู่ความส่งอ้างในคดีแพ่งเท่านั้นมาเป็นข้อเท็จจริงในการพิพากษาคดีส่วนแพ่งหาเพียงพอไม่ เพราะในคดีอาญาศาลยังมิได้ชี้ขาดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับที่ดินพิพาทส่วนที่เลยขึ้นไปทางด้านเหนือนั้นเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1059/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาคดีแพ่งต้องพิจารณาประเด็นข้อเท็จจริงที่ยังไม่ได้ตัดสินในคดีอาญา
ในคดีอาญาศาลฎีกาพิพากษาลงโทษจำเลยฐานบุกรุกโดยจำเลยขึงลวดหนามรุกล้ำเข้าไปในบริเวณที่ดินบางส่วนของโจทก์ ต่อมาโจทก์มาฟ้องขับไล่จำเลยออกจากที่ดินที่จำเลยบุกรุกและให้ออกจากที่ดินส่วนเลยขึ้นไปทางด้านเหนืออีก ซึ่งในคดีอาญาเดิมนั้นศาลฎีกายังมิได้ชี้ขาดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับที่ดินส่วนที่เลยขึ้นไปทางด้านเหนือ เช่นนี้ ศาลจะงดสืบพยานทั้งสองฝ่าย โดยถือเอาข้อเท็จจริงในสำนวนคดีอาญาและเอกสารที่คู่ความส่งอ้างในคดีแพ่งเท่านั้นมาเป็นข้อเท็จจริงในการพิพากษาคดีส่วนแพ่งหาเพียงพอไม่ เพราะในคดีอาญาศาลยังมิได้ชี้ขาดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับที่ดินพิพาทส่วนที่เลยขึ้นไปทางด้านเหนือนั้นเลย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 278-279/2501
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฉ้อโกง, ปลอมหนังสือ, การรวมกระทงโทษ และการบังคับคดีนอกฟ้อง: ข้อพิพาทเรื่องการหลอกลวงทางการค้าและการกำหนดโทษ
การรวมกระทงลงโทษ เมื่อรวมโทษทุกกระทงเข้าด้วยกันแล้วจะลงโทษเกินกว่าอัตราขั้นสูงได้
การที่จำเลยเขียนชื่อและประทับตราชื่อห้างร้านที่ไม่มีตัวจริงแต่เป็นห้างร้านที่สมมุตขึ้นและใช้ชื่อและประทับตราที่สมมุตขึ้นในการออกเช็คสั่งจ่ายหรือสลักหลังเช็คที่ไม่มีห้างร้านตัวจริง เป็นผิดฐานปลอมหนังสือทั้งฉบับ
เช็คเป็นใบสั่งให้จ่ายเงินตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา225(4)และ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา266(4) โดยอยู่ในลักษณะ 21ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
คำร้องขอแก้ฟ้องที่ศาลไม่ได้สอบถามคู่ความและมีคำสั่งอย่างไรนั้น ไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของคำฟ้องแม้ศาลจะได้ส่งสำเนาให้คู่ความอีกฝ่ายก็ตาม และศาลย่อมชี้ขาดคดีนอกฟ้องตามคำร้องที่ไม่ได้สอบถามและมีคำสั่งประการใดนี้ ไม่ได้
การที่จำเลยเขียนชื่อและประทับตราชื่อห้างร้านที่ไม่มีตัวจริงแต่เป็นห้างร้านที่สมมุตขึ้นและใช้ชื่อและประทับตราที่สมมุตขึ้นในการออกเช็คสั่งจ่ายหรือสลักหลังเช็คที่ไม่มีห้างร้านตัวจริง เป็นผิดฐานปลอมหนังสือทั้งฉบับ
เช็คเป็นใบสั่งให้จ่ายเงินตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา225(4)และ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา266(4) โดยอยู่ในลักษณะ 21ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
คำร้องขอแก้ฟ้องที่ศาลไม่ได้สอบถามคู่ความและมีคำสั่งอย่างไรนั้น ไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของคำฟ้องแม้ศาลจะได้ส่งสำเนาให้คู่ความอีกฝ่ายก็ตาม และศาลย่อมชี้ขาดคดีนอกฟ้องตามคำร้องที่ไม่ได้สอบถามและมีคำสั่งประการใดนี้ ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 278-279/2501 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฉ้อโกงและปลอมแปลงเอกสารทางการค้า: การรวมกระทงลงโทษและการคำนวณค่าเสียหาย
การรวมกระทงลงโทษ เมื่อรวมโทษทุกกระทงเข้าด้วยกันแล้ว จะลงโทษเกินกว่าอัตราขั้นได้
การที่จำเลยเขียนชื่อและประทับตราชื่อห้างร้านที่ไม่มีตัวจริงแต่เป็นห้างร้านที่สมมุตขึ้นและใช้ชื่อและประทับตราที่สมมติขึ้นในการออกเช็คสั่งจ่ายหรือสลักหลังเช็คที่ไม่มีห้างร้านตัวจริง เป็นผิดฐานปลอมหนังสือทั้งฉบับ
เช็คเป็นใบสั่งให้จ่ายเงินตาม ก.ม.อาญา ม.225(4) และ ป.ม.อาญา ม.266(4) โดยอยู่ในลักษณะ 21 ป.พ.พ.
คำร้องขอแก้ฟ้องที่ศาลไม่ได้สอบถามคู่ความและมีคำสั่งอย่างไรนั้น ไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของคำฟ้อง แม้ศาลจะได้ส่งสำเนาให้คู่ความอีกฝ่ายก็ตาม และศาลย่อมชี้ขาดคดีนอกฟ้องตามคำร้องที่ไม่ได้สอบถามและมีคำสั่งประการใดนี้ ไม่ได้
การที่จำเลยเขียนชื่อและประทับตราชื่อห้างร้านที่ไม่มีตัวจริงแต่เป็นห้างร้านที่สมมุตขึ้นและใช้ชื่อและประทับตราที่สมมติขึ้นในการออกเช็คสั่งจ่ายหรือสลักหลังเช็คที่ไม่มีห้างร้านตัวจริง เป็นผิดฐานปลอมหนังสือทั้งฉบับ
เช็คเป็นใบสั่งให้จ่ายเงินตาม ก.ม.อาญา ม.225(4) และ ป.ม.อาญา ม.266(4) โดยอยู่ในลักษณะ 21 ป.พ.พ.
คำร้องขอแก้ฟ้องที่ศาลไม่ได้สอบถามคู่ความและมีคำสั่งอย่างไรนั้น ไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของคำฟ้อง แม้ศาลจะได้ส่งสำเนาให้คู่ความอีกฝ่ายก็ตาม และศาลย่อมชี้ขาดคดีนอกฟ้องตามคำร้องที่ไม่ได้สอบถามและมีคำสั่งประการใดนี้ ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1570/2500
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในที่ดินพิพาท: อายุความสละที่ดิน 9/10 ปีใช้บังคับก่อน พ.ร.บ.ออกโฉนดฯ และข้อจำกัดการนำข้อเท็จจริงจากคดีอาญามาใช้ในคดีแพ่ง
ที่พิพาทแม้โจทก์จะได้เคยฟ้องจำเลยเป็นคดีอาญาว่าจำเลยบุกรุกมาแล้ว และในคดีอาญานั้นแม้ศาลจะได้พิพากษายกฟ้องโจทก์เพราะเห็นว่าการกระทำของจำเลยไม่เป็นผิดทางอาญาโดยมิได้กล่าวถึงสิทธิในทางแพ่งแต่อย่างใด ต่อมาโจทก์จึงฟ้องคดีแพ่งขอให้ศาลบังคับจำเลยและบริวารออกจากที่พิพาท ดังนี้การที่จะวินิจฉัยว่าที่พิพาทเป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์หรือจำเลยต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายอันว่าด้วยความรับผิดของบุคคลในทางแพ่งตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 47
เมื่อที่พิพาทเป็นที่บ้านที่สวนมาก่อนประกาศใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 4 และ พระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน(ฉบับที่ 6) พ.ศ.2479 แล้ว ดังนี้แม้ที่พิพาทจะเป็นที่มือเปล่าก็ตาม ก็ต้องนำกฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จบทที่42 มาใช้บังคับคดี โดยถืออายุความสละที่ดิน 9 ปี10 ปี ไม่ใช่อายุความ 1 ปี ตามนัยฎีกาที่ 759/2494 (ฎีกาที่ 759/2494)
เมื่อที่พิพาทเป็นที่บ้านที่สวนมาก่อนประกาศใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 4 และ พระราชบัญญัติออกโฉนดที่ดิน(ฉบับที่ 6) พ.ศ.2479 แล้ว ดังนี้แม้ที่พิพาทจะเป็นที่มือเปล่าก็ตาม ก็ต้องนำกฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จบทที่42 มาใช้บังคับคดี โดยถืออายุความสละที่ดิน 9 ปี10 ปี ไม่ใช่อายุความ 1 ปี ตามนัยฎีกาที่ 759/2494 (ฎีกาที่ 759/2494)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1570/2500 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิในที่ดิน: การพิจารณาอายุความตามกฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จและกฎหมายปัจจุบันเมื่อที่ดินมีประวัติครอบครองก่อนมีการออกกฎหมาย
ที่พิพาทแม้โจทก์จะได้เคยฟ้องจำเลยเป็นคดีอาญาว่าจำเลยบุกรุกมาแล้ว และในดคีอาญานั้นแม้ศาลจะได้พิจารณายกฟ้องโจทก์เพราะเห็นว่าการกระทำของจำเลยไม่เป็นผิดทางอาญาโดยมิได้กล่าวถึงสิทธิในทางแพ่งแต่อย่างใด ต่อมาโจทก์จึงฟ้องคดีแพ่งขอให้ศาลบังคับจำเลยและบริวารออกจากที่พิพาท ดังนี้การที่จะวินิจฉัยว่าที่พิพาทเป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์หรือจำเลยต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายอันว่าด้วยความรับผิดของบุคคลในทางแพ่งตาม ป.วิ.อาญา มาตรา 47
เมื่อที่พิพาทเป็นที่บ้านที่สวนมาก่อนประกาศใช้ ป.พ.พ.บรรพ 4 และ พ.ร.บ. ออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2479 แล้ว ดังนี้แม้ที่พิพาทจะเป็นที่มือเปล่าก็ตาม ก็ต้องนำกฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จบทที่ 42 มาใช้บังคับคดีโดยถืออายุความสละที่ดิน 9 ปี 10 ปีไม่ใช่อายุความ 1 ปี ตามนัยฎีกาที่ 759/2494.
(ฎีกาที่ 759/2494)
เมื่อที่พิพาทเป็นที่บ้านที่สวนมาก่อนประกาศใช้ ป.พ.พ.บรรพ 4 และ พ.ร.บ. ออกโฉนดที่ดิน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2479 แล้ว ดังนี้แม้ที่พิพาทจะเป็นที่มือเปล่าก็ตาม ก็ต้องนำกฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จบทที่ 42 มาใช้บังคับคดีโดยถืออายุความสละที่ดิน 9 ปี 10 ปีไม่ใช่อายุความ 1 ปี ตามนัยฎีกาที่ 759/2494.
(ฎีกาที่ 759/2494)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1225/2498 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลฎีกาในการวินิจฉัยข้อเท็จจริงในคดีแพ่งที่เกี่ยวข้องกับคดีอาญาที่ศาลอุทธรณ์ยังไม่ได้วินิจฉัยชี้ขาด
ความผิดฐานลักทรัพย์เมื่อศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิพากษายกฟ้องโดยข้อเท็จจริงโจทก์จะฎีกาข้อเท็จจริงหาได้ไม่ ต้องห้ามตาม ป.วิ.อาญา ม. 219
แต่ในกรณีที่ศาลฎีกาจะพิพากษาในคดีส่วนแพ่งคือจะสั่งให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาไม้รายพิพาทได้หรือไม่นั้น เมื่อศาลชั้นต้นฟังว่าไม้รายพิพาทเป็นของโจทก์ และศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยชี้ข้อเท็จจริงให้แน่นอนลงไปว่า ไม้เป็นของโจทก์หรือผู้ใดแล้วเช่นนี้ศาลฎีกาก็ย่อมมีอำนาจที่จะวินิจฉัยข้อเท็จจริงได้ว่าไม้รายพิพาทเป็นของฝ่ายใด และจำเลยจำต้องรับผิดชดใช้ให้เพียงใดหรือไม่
ในเรื่องคดีอาญาปนแพ่งนั้น การพิพากษาคดีส่วนแพ่งศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฎในคดีอาญา (ป.วิ.อาญา ม. 46) แต่ต้องถือตามบทบัญญัติแห่ง ก.ม. ว่าด้วยความรับผิดของบุคคลในทางแพ่งด้วย (ป.วิ.อาญา ม. 47)
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 18/2498)
แต่ในกรณีที่ศาลฎีกาจะพิพากษาในคดีส่วนแพ่งคือจะสั่งให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาไม้รายพิพาทได้หรือไม่นั้น เมื่อศาลชั้นต้นฟังว่าไม้รายพิพาทเป็นของโจทก์ และศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยชี้ข้อเท็จจริงให้แน่นอนลงไปว่า ไม้เป็นของโจทก์หรือผู้ใดแล้วเช่นนี้ศาลฎีกาก็ย่อมมีอำนาจที่จะวินิจฉัยข้อเท็จจริงได้ว่าไม้รายพิพาทเป็นของฝ่ายใด และจำเลยจำต้องรับผิดชดใช้ให้เพียงใดหรือไม่
ในเรื่องคดีอาญาปนแพ่งนั้น การพิพากษาคดีส่วนแพ่งศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฎในคดีอาญา (ป.วิ.อาญา ม. 46) แต่ต้องถือตามบทบัญญัติแห่ง ก.ม. ว่าด้วยความรับผิดของบุคคลในทางแพ่งด้วย (ป.วิ.อาญา ม. 47)
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 18/2498)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1225/2498 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจศาลฎีกาในคดีอาญาปนแพ่ง: วินิจฉัยสิทธิในทรัพย์สินได้แม้ศาลอุทธรณ์ยังไม่ชี้ขาด
ความผิดฐานลักทรัพย์เมื่อศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์พิพากษายกฟ้องโดยข้อเท็จจริงโจทก์จะฎีกาข้อเท็จจริงหาได้ไม่ต้องห้ามตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 219
แต่ในกรณีที่ศาลฎีกาจะพิพากษาในคดีส่วนแพ่งคือจะสั่งให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาไม้รายพิพาทได้หรือไม่นั้นเมื่อศาลชั้นต้นฟังว่าไม้รายพิพาทเป็นของโจทก์ และศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยชี้ข้อเท็จจริงให้แน่นอนลงไปว่าไม้เป็นของโจทก์หรือผู้ใดแล้วเช่นนี้ศาลฎีกาก็ย่อมมีอำนาจที่จะวินิจฉัยข้อเท็จจริงได้ว่าไม้รายพิพาทเป็นของฝ่ายใด และจำเลยจำต้องรับผิดชดใช้ให้เพียงใดหรือไม่
ในเรื่องคดีอาญาปนแพ่งนั้น การพิพากษาคดีส่วนแพ่งศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคดีอาญา(ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 46) แต่ต้องถือตามบทบัญญัติแห่ง กฎหมายว่าด้วยความรับผิดของบุคคลในทางแพ่งด้วย (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 47) (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 18/2498)
แต่ในกรณีที่ศาลฎีกาจะพิพากษาในคดีส่วนแพ่งคือจะสั่งให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาไม้รายพิพาทได้หรือไม่นั้นเมื่อศาลชั้นต้นฟังว่าไม้รายพิพาทเป็นของโจทก์ และศาลอุทธรณ์ยังมิได้วินิจฉัยชี้ข้อเท็จจริงให้แน่นอนลงไปว่าไม้เป็นของโจทก์หรือผู้ใดแล้วเช่นนี้ศาลฎีกาก็ย่อมมีอำนาจที่จะวินิจฉัยข้อเท็จจริงได้ว่าไม้รายพิพาทเป็นของฝ่ายใด และจำเลยจำต้องรับผิดชดใช้ให้เพียงใดหรือไม่
ในเรื่องคดีอาญาปนแพ่งนั้น การพิพากษาคดีส่วนแพ่งศาลจำต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคดีอาญา(ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 46) แต่ต้องถือตามบทบัญญัติแห่ง กฎหมายว่าด้วยความรับผิดของบุคคลในทางแพ่งด้วย (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 47) (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 18/2498)