พบผลลัพธ์ทั้งหมด 153 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2885/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์เรือ การซื้อขาย การจดทะเบียน และความผิดฐานฉ้อโกง
จำเลยซื้อเรือยนต์ซึ่งมีน้ำหนักเกินกว่า 6 ตัน แต่การซื้อขายยังไม่ได้จดทะเบียนการโอนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่กรรมสิทธิ์ในเรือดังกล่าวจึงยังไม่ตกมาเป็นของจำเลย ดังนั้นจำเลยซึ่งเป็นผู้ที่ไม่มีกรรมสิทธิ์ จึงไม่อาจจะโอนกรรมสิทธิ์มาให้แก่โจทก์ร่วมได้ แม้โจทก์ร่วมจะได้จดทะเบียนการโอนเรือลำนั้นจากจำเลยโดยถูกต้องตามพระราชบัญญัติเรือไทย พ.ศ.2481 แล้วก็ตาม โจทก์ร่วมก็หาได้กรรมสิทธิ์ไม่ เพราะพระราชบัญญัติเรือไทยดังกล่าวไม่ได้บัญญัติไว้เลยว่า ไม่ว่ากรณีใดๆ ผู้ที่ได้จดทะเบียนการโอนเรือตามพระราชบัญญัติฉบับนี้แล้ว จะต้องได้กรรมสิทธิ์เสมอไป
จำเลยตกลงซื้อเรือชื่อ พ. มาจาก ล. แต่ยังไม่ได้จดทะเบียนการโอนกรรมสิทธิ์กันโดยชอบด้วยกฎหมาย หลังจากนั้นจำเลยได้ไปจัดการขอทำทะเบียนเรือลำนั้นขึ้นใหม่ทั้งๆ ที่มีทะเบียนโดยชอบอยู่แล้วและเปลี่ยนชื่อเรือเสียใหม่เป็น ช. ด้วย แล้วนำใบทะเบียนเรือฉบับใหม่นั้นไปประกันการกู้ยืมเงิน ป.ต่อมาจำเลยได้จัดการขายเรือดังกล่าวให้แก่โจทก์ร่วมโดยอาศัยใบทะเบียนเรือที่จัดทำขึ้นไว้นั้นเอง พฤติการณ์เช่นนี้แสดงอยู่ว่า ความจริงจำเลยได้มีเจตนาและวางแผนการมาแต่แรกเพื่อที่จะฉ้อโกงผู้อื่น ด้วยการหลอกลวงว่าเรือดังกล่าวชื่อ ช. ซึ่งไม่เป็นความจริงโดยใช้ใบทะเบียนที่ได้ใช้อุบายจัดหามาไว้ประกอบข้ออ้างอันเป็นความเท็จโดยไม่บอกให้โจทก์ร่วมรู้ว่าเรือลำนั้นเป็นของผู้อื่น มิใช่ชื่อเรือ ช. การที่โจทก์ร่วมถูกหลอกลวงหลงเชื่อจ่ายเงินให้แก่จำเลยเป็นค่าเรือไปโดยที่จำเลยไม่สามารถและไม่มีเจตนาที่จะโอนกรรมสิทธิ์เรือดังกล่าวให้แก่โจทก์ร่วมจริงๆ เช่นนี้ การกระทำของจำเลยย่อมเป็นความผิดฐานฉ้อโกง มิใช่ฐานยักยอกเรือ เมื่อโจทก์ไม่ได้บรรยายฟ้องขอให้ลงโทษฐานฉ้อโกงมา จึงลงโทษจำเลยฐานนี้ไม่ได้
เมื่อปรากฏว่าโจทก์ร่วมไม่มีกรรมสิทธิ์ในเรือของกลางซึ่งโจทก์ฟ้องว่าจำเลยยักยอกเอาไป ศาลก็พิจารณาสั่งคืนเรือของกลางให้แก่โจทก์ร่วมไม่ได้
จำเลยตกลงซื้อเรือชื่อ พ. มาจาก ล. แต่ยังไม่ได้จดทะเบียนการโอนกรรมสิทธิ์กันโดยชอบด้วยกฎหมาย หลังจากนั้นจำเลยได้ไปจัดการขอทำทะเบียนเรือลำนั้นขึ้นใหม่ทั้งๆ ที่มีทะเบียนโดยชอบอยู่แล้วและเปลี่ยนชื่อเรือเสียใหม่เป็น ช. ด้วย แล้วนำใบทะเบียนเรือฉบับใหม่นั้นไปประกันการกู้ยืมเงิน ป.ต่อมาจำเลยได้จัดการขายเรือดังกล่าวให้แก่โจทก์ร่วมโดยอาศัยใบทะเบียนเรือที่จัดทำขึ้นไว้นั้นเอง พฤติการณ์เช่นนี้แสดงอยู่ว่า ความจริงจำเลยได้มีเจตนาและวางแผนการมาแต่แรกเพื่อที่จะฉ้อโกงผู้อื่น ด้วยการหลอกลวงว่าเรือดังกล่าวชื่อ ช. ซึ่งไม่เป็นความจริงโดยใช้ใบทะเบียนที่ได้ใช้อุบายจัดหามาไว้ประกอบข้ออ้างอันเป็นความเท็จโดยไม่บอกให้โจทก์ร่วมรู้ว่าเรือลำนั้นเป็นของผู้อื่น มิใช่ชื่อเรือ ช. การที่โจทก์ร่วมถูกหลอกลวงหลงเชื่อจ่ายเงินให้แก่จำเลยเป็นค่าเรือไปโดยที่จำเลยไม่สามารถและไม่มีเจตนาที่จะโอนกรรมสิทธิ์เรือดังกล่าวให้แก่โจทก์ร่วมจริงๆ เช่นนี้ การกระทำของจำเลยย่อมเป็นความผิดฐานฉ้อโกง มิใช่ฐานยักยอกเรือ เมื่อโจทก์ไม่ได้บรรยายฟ้องขอให้ลงโทษฐานฉ้อโกงมา จึงลงโทษจำเลยฐานนี้ไม่ได้
เมื่อปรากฏว่าโจทก์ร่วมไม่มีกรรมสิทธิ์ในเรือของกลางซึ่งโจทก์ฟ้องว่าจำเลยยักยอกเอาไป ศาลก็พิจารณาสั่งคืนเรือของกลางให้แก่โจทก์ร่วมไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2885/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กรรมสิทธิ์เรือ การซื้อขาย การจดทะเบียน และความผิดฐานฉ้อโกง
จำเลยซื้อเรือยนต์ซึ่งมีน้ำหนักเกินกว่า 6 ตัน แต่การซื้อขายยังไม่ได้จดทะเบียนการโอนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่กรรมสิทธิ์ในเรือดังกล่าวจึงยังไม่ตกมาเป็นของจำเลย ดังนั้นจำเลยซึ่งเป็นผู้ที่ไม่มีกรรมสิทธิ์ จึงไม่อาจจะโอนกรรมสิทธิ์มาให้แก่โจทก์ร่วมได้ แม้โจทก์ร่วมจะได้จดทะเบียนการโอนเรือลำนั้นจากจำเลยโดยถูกต้องตามพระราชบัญญัติเรือไทย พ.ศ. 2481 แล้วก็ตาม โจทก์ร่วมก็หาได้กรรมสิทธิ์ไม่ เพราะพระราชบัญญัติเรือไทยดังกล่าวไม่ได้บัญญัติไว้เลยว่า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ผู้ที่ได้จดทะเบียนการโอนเรือตามพระราชบัญญัติฉบับนี้แล้ว จะต้องได้กรรมสิทธิ์เสมอไป
จำเลยตกลงซื้อเรือชื่อ พ. มาจาก ล. แต่ยังไม่ได้จดทะเบียนการโอนกรรมสิทธิ์กันโดยชอบด้วยกฎหมาย หลังจากนั้นจำเลยได้ไปจัดการขอทำทะเบียนเรือลำนั้นขึ้นใหม่ทั้ง ๆ ที่มีทะเบียนโดยชอบอยู่แล้วและเปลี่ยนชื่อเรือเสียใหม่เป็น ช. ด้วยแล้วนำใบทะเบียนเรือฉบับใหม่นั้นไปประกันการกู้ยืมเงิน ป.ต่อมาจำเลยได้จัดการขายเรือดังกล่าวให้แก่โจทก์ร่วมโดยอาศัยใบทะเบียนเรือที่จัดทำขึ้นไว้นั้นเอง พฤติการณ์เช่นนี้แสดงอยู่ว่าความจริงจำเลยได้มีเจตนาและวางแผนการมาแต่แรกเพื่อที่จะฉ้อโกงผู้อื่น ด้วยการหลอกลวงว่าเรือดังกล่าวชื่อ ช. ซึ่งไม่เป็นความจริงโดยใช้ใบทะเบียนที่ได้ใช้อุบายจัดหามาไว้ประกอบข้ออ้างอันเป็นความเท็จโดยไม่บอกให้โจทก์ร่วมรู้ว่าเรือลำนั้นเป็นของผู้อื่น มิใช่ชื่อเรือ ช. การที่โจทก์ร่วมถูกหลอกลวงหลงเชื่อจ่ายเงินให้แก่จำเลยเป็นค่าเรือไปโดยที่จำเลยไม่สามารถและไม่มีเจตนาที่จะโอนกรรมสิทธิ์เรือดังกล่าวให้แก่โจทก์ร่วมจริง ๆ เช่นนี้ การกระทำของจำเลยย่อมเป็นความผิดฐานฉ้อโกง มิใช่ฐานยักยอกเรือ เมื่อโจทก์ไม่ได้บรรยายฟ้องขอให้ลงโทษฐานฉ้อโกงมา จึงลงโทษจำเลยฐานนี้ไม่ได้
เมื่อปรากฏว่าโจทก์ร่วมไม่มีกรรมสิทธิ์ในเรือของกลางซึ่งโจทก์ฟ้องว่าจำเลยยักยอกเอาไป ศาลก็พิจารณาสั่งคืนเรือของกลางให้แก่โจทก์ร่วมไม่ได้
จำเลยตกลงซื้อเรือชื่อ พ. มาจาก ล. แต่ยังไม่ได้จดทะเบียนการโอนกรรมสิทธิ์กันโดยชอบด้วยกฎหมาย หลังจากนั้นจำเลยได้ไปจัดการขอทำทะเบียนเรือลำนั้นขึ้นใหม่ทั้ง ๆ ที่มีทะเบียนโดยชอบอยู่แล้วและเปลี่ยนชื่อเรือเสียใหม่เป็น ช. ด้วยแล้วนำใบทะเบียนเรือฉบับใหม่นั้นไปประกันการกู้ยืมเงิน ป.ต่อมาจำเลยได้จัดการขายเรือดังกล่าวให้แก่โจทก์ร่วมโดยอาศัยใบทะเบียนเรือที่จัดทำขึ้นไว้นั้นเอง พฤติการณ์เช่นนี้แสดงอยู่ว่าความจริงจำเลยได้มีเจตนาและวางแผนการมาแต่แรกเพื่อที่จะฉ้อโกงผู้อื่น ด้วยการหลอกลวงว่าเรือดังกล่าวชื่อ ช. ซึ่งไม่เป็นความจริงโดยใช้ใบทะเบียนที่ได้ใช้อุบายจัดหามาไว้ประกอบข้ออ้างอันเป็นความเท็จโดยไม่บอกให้โจทก์ร่วมรู้ว่าเรือลำนั้นเป็นของผู้อื่น มิใช่ชื่อเรือ ช. การที่โจทก์ร่วมถูกหลอกลวงหลงเชื่อจ่ายเงินให้แก่จำเลยเป็นค่าเรือไปโดยที่จำเลยไม่สามารถและไม่มีเจตนาที่จะโอนกรรมสิทธิ์เรือดังกล่าวให้แก่โจทก์ร่วมจริง ๆ เช่นนี้ การกระทำของจำเลยย่อมเป็นความผิดฐานฉ้อโกง มิใช่ฐานยักยอกเรือ เมื่อโจทก์ไม่ได้บรรยายฟ้องขอให้ลงโทษฐานฉ้อโกงมา จึงลงโทษจำเลยฐานนี้ไม่ได้
เมื่อปรากฏว่าโจทก์ร่วมไม่มีกรรมสิทธิ์ในเรือของกลางซึ่งโจทก์ฟ้องว่าจำเลยยักยอกเอาไป ศาลก็พิจารณาสั่งคืนเรือของกลางให้แก่โจทก์ร่วมไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2737/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ความสมบูรณ์ของฟ้องอาญาคดียักยอกทรัพย์: การระบุรายละเอียดการกระทำผิดและผลกระทบต่อการต่อสู้คดี
ฟ้องว่า จำเลยมีหน้าที่ควบคุมดูแลจัดการเก็บรักษาการบัญชีรับจ่ายและรักษาเงินขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ระหว่างวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2513 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2514 เป็นเวลาถึง 1 ปี 7 เดือน จำเลยได้บังอาจยักยอกเบียดบังเอาเงินจำนวน 11,726.39 บาท ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ไป ปรากฏจากข้อนำสืบของโจทก์ว่า งบประมาณขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์มี 5งบ คือ งบทั่วไป งบเร่งรัดพัฒนาชนบท งบส่วนการศึกษางบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และงบอุดหนุนสภาตำบล เงินที่หายไปนี้เป็นเงินที่อยู่ในงบเร่งรัดพัฒนาชนบทและเกิดจากการที่จำเลยยักยอกเงินตามบัญชีเงินสดเกินหรือขาดไปรวม 22 รายการ แต่ฟ้องโจทก์มิได้บรรยายรายละเอียดที่เป็นสารสำคัญว่า เป็นเงินงบใด และยักยอกแต่ละครั้ง เป็นจำนวนเท่าใดและเมื่อใด เมื่อบรรยายรวมๆกันมาเช่นนี้ จำเลยจะเข้าใจข้อหาเกี่ยวกับเงินที่จำเลยต้องหาว่ายักยอกเบียดบังมิได้เลย ย่อมเสียเปรียบในการต่อสู้คดี ฟ้องของโจทก์จึงไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 158(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 894/2508)
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 และมีคำขอให้จำเลยคืนเงินที่จำเลยยักยอกนั้นแก่ผู้เสียหายด้วยนั้น เป็นคำขอส่วนแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาที่โจทก์ฟ้อง แม้ศาลจะไม่ลงโทษจำเลย เพราะคำฟ้องของโจทก์ในส่วนอาญาไม่สมบูรณ์ แต่เมื่อจำเลยรับว่าได้ยักยอกเบียดบังเอาเงินของผู้เสียหายไปจริง อำนาจของพนักงานอัยการที่จะว่ากล่าวเกี่ยวกับคำขอส่วนแพ่งคงมีต่อไป ศาลมีอำนาจสั่งให้จำเลยคืนเงินจำนวนนั้นแก่ผู้เสียหายได้
โจทก์ฟ้องหาว่าจำเลยกระทำผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา147 โดยบรรยายฟ้องเป็นใจความว่า จำเลยได้กระทำผิดในวันเวลาใดไม่ปรากฏชัดในระหว่างที่จำเลยดำรงตำแหน่งพนักงานบัญชีและรักษาการในตำแหน่งหัวหน้าหมวดการเงินและการบัญชีส่วนการคลังอีกตำแหน่งหนึ่ง และต่อมาดำรงตำแหน่งหัวหน้าหมวดดังกล่าวติดต่อกันมา คือ ระหว่างวันที่ 19สิงหาคม 2512 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2515 และเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2514 เวลากลางวัน จำเลยได้รับเงินอุดหนุนขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 101,910 บาท จากนายเสถียรศรีพนา จำเลยได้จ่ายเงินดังกล่าวโดยหักเงินสะสมไว้ 4,056 บาท แล้วยักยอกเบียดบังเอาเงินจำนวน 4,056 บาทไป จึงเป็นฟ้องที่กล่าวหาว่าจำเลยยักยอกเบียดบังเอาเงินไปในระหว่างวันที่ 29 มกราคม 2514 ซึ่งเป็นวันที่จำเลยรับเงิน ถึงวันที่ 30 กันยายน 2515 ฟ้องข้อนี้จึงชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 158 (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1330/2506)
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 147 และมีคำขอให้จำเลยคืนเงินที่จำเลยยักยอกนั้นแก่ผู้เสียหายด้วยนั้น เป็นคำขอส่วนแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาที่โจทก์ฟ้อง แม้ศาลจะไม่ลงโทษจำเลย เพราะคำฟ้องของโจทก์ในส่วนอาญาไม่สมบูรณ์ แต่เมื่อจำเลยรับว่าได้ยักยอกเบียดบังเอาเงินของผู้เสียหายไปจริง อำนาจของพนักงานอัยการที่จะว่ากล่าวเกี่ยวกับคำขอส่วนแพ่งคงมีต่อไป ศาลมีอำนาจสั่งให้จำเลยคืนเงินจำนวนนั้นแก่ผู้เสียหายได้
โจทก์ฟ้องหาว่าจำเลยกระทำผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา147 โดยบรรยายฟ้องเป็นใจความว่า จำเลยได้กระทำผิดในวันเวลาใดไม่ปรากฏชัดในระหว่างที่จำเลยดำรงตำแหน่งพนักงานบัญชีและรักษาการในตำแหน่งหัวหน้าหมวดการเงินและการบัญชีส่วนการคลังอีกตำแหน่งหนึ่ง และต่อมาดำรงตำแหน่งหัวหน้าหมวดดังกล่าวติดต่อกันมา คือ ระหว่างวันที่ 19สิงหาคม 2512 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2515 และเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2514 เวลากลางวัน จำเลยได้รับเงินอุดหนุนขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 101,910 บาท จากนายเสถียรศรีพนา จำเลยได้จ่ายเงินดังกล่าวโดยหักเงินสะสมไว้ 4,056 บาท แล้วยักยอกเบียดบังเอาเงินจำนวน 4,056 บาทไป จึงเป็นฟ้องที่กล่าวหาว่าจำเลยยักยอกเบียดบังเอาเงินไปในระหว่างวันที่ 29 มกราคม 2514 ซึ่งเป็นวันที่จำเลยรับเงิน ถึงวันที่ 30 กันยายน 2515 ฟ้องข้อนี้จึงชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 158 (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1330/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2737/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ฟ้องอาญาฐานยักยอกทรัพย์ต้องระบุรายละเอียดการกระทำ ความเสียหาย และช่วงเวลาที่ชัดเจน หากไม่ชัดเจนฟ้องไม่สมบูรณ์
ฟ้องว่า จำเลยมีหน้าที่ควบคุมดูแลจัดการเก็บรักษาการบัญชีรับจ่ายและรักษาเงินขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ระหว่างวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2513 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2514เป็นเวลาถึง 1 ปี 7 เดือน จำเลยได้บังอาจยักยอกเบียดบังเอาเงินจำนวน 11,726.39 บาท ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ไปปรากฏจากข้อนำสืบของโจทก์ว่า งบประมาณขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์มี 5งบ คือ งบทั่วไปงบเร่งรัดพัฒนาชนบท งบส่วนการศึกษา งบภาคตะวันออกเฉียงเหนือและงบอุดหนุนสภาตำบล เงินที่หายไปนี้เป็นเงินที่อยู่ในงบเร่งรัดพัฒนาชนบทและเกิดจากการที่จำเลยยักยอกเงินตามบัญชีเงินสดเกินหรือขาดไปรวม 22 รายการ แต่ฟ้องโจทก์มิได้บรรยายรายละเอียดที่เป็นสารสำคัญว่า เป็นเงินงบใด และยักยอกแต่ละครั้ง เป็นจำนวนเท่าใดและเมื่อใด เมื่อบรรยายรวมๆกันมาเช่นนี้ จำเลยจะเข้าใจข้อหาเกี่ยวกับเงินที่จำเลยต้องหาว่ายักยอกเบียดบังมิได้เลย ย่อมเสียเปรียบในการต่อสู้คดีฟ้องของโจทก์จึงไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 158 (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 894/2508)
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 147 และมีคำขอให้จำเลยคืนเงินที่จำเลยยักยอกนั้นแก่ผู้เสียหายด้วยนั้น เป็นคำขอส่วนแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาที่โจทก์ฟ้อง แม้ศาลจะไม่ลงโทษจำเลย เพราะคำฟ้องของโจทก์ในส่วนอาญาไม่สมบูรณ์ แต่เมื่อจำเลยรับว่าได้ยักยอกเบียดบังเอาเงินของผู้เสียหายไปจริง อำนาจของพนักงานอัยการที่จะว่ากล่าวเกี่ยวกับคำขอส่วนแพ่งคงมีต่อไป ศาลมีอำนาจสั่งให้จำเลยคืนเงินจำนวนนั้นแก่ผู้เสียหายได้
โจทก์ฟ้องหาว่าจำเลยกระทำผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา147 โดยบรรยายฟ้องเป็นใจความว่า จำเลยได้กระทำผิดในวันเวลาใดไม่ปรากฏชัดในระหว่างที่จำเลยดำรงตำแหน่งพนักงานบัญชีและรักษาการในตำแหน่งหัวหน้าหมวดการเงินและการบัญชีส่วนการคลังอีกตำแหน่งหนึ่ง และต่อมาดำรงตำแหน่งหัวหน้าหมวดดังกล่าวติดต่อกันมาคือ ระหว่างวันที่ 19สิงหาคม 2512 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2515 และเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2514 เวลากลางวัน จำเลยได้รับเงินอุดหนุนขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 101,910 บาทจากนายเสถียร ศรีพนา จำเลยได้จ่ายเงินดังกล่าวโดยหักเงินสะสมไว้ 4,056 บาท แล้วยักยอกเบียดบังเอาเงินจำนวน 4,056 บาทไปจึงเป็นฟ้องที่กล่าวหาว่าจำเลยยักยอกเบียดบังเอาเงินไปในระหว่างวันที่ 29 มกราคม 2514 ซึ่งเป็นวันที่จำเลยรับเงิน ถึงวันที่ 30 กันยายน2515 ฟ้องข้อนี้จึงชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 158 (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1330/2506)
โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 147 และมีคำขอให้จำเลยคืนเงินที่จำเลยยักยอกนั้นแก่ผู้เสียหายด้วยนั้น เป็นคำขอส่วนแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาที่โจทก์ฟ้อง แม้ศาลจะไม่ลงโทษจำเลย เพราะคำฟ้องของโจทก์ในส่วนอาญาไม่สมบูรณ์ แต่เมื่อจำเลยรับว่าได้ยักยอกเบียดบังเอาเงินของผู้เสียหายไปจริง อำนาจของพนักงานอัยการที่จะว่ากล่าวเกี่ยวกับคำขอส่วนแพ่งคงมีต่อไป ศาลมีอำนาจสั่งให้จำเลยคืนเงินจำนวนนั้นแก่ผู้เสียหายได้
โจทก์ฟ้องหาว่าจำเลยกระทำผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา147 โดยบรรยายฟ้องเป็นใจความว่า จำเลยได้กระทำผิดในวันเวลาใดไม่ปรากฏชัดในระหว่างที่จำเลยดำรงตำแหน่งพนักงานบัญชีและรักษาการในตำแหน่งหัวหน้าหมวดการเงินและการบัญชีส่วนการคลังอีกตำแหน่งหนึ่ง และต่อมาดำรงตำแหน่งหัวหน้าหมวดดังกล่าวติดต่อกันมาคือ ระหว่างวันที่ 19สิงหาคม 2512 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2515 และเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2514 เวลากลางวัน จำเลยได้รับเงินอุดหนุนขององค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 101,910 บาทจากนายเสถียร ศรีพนา จำเลยได้จ่ายเงินดังกล่าวโดยหักเงินสะสมไว้ 4,056 บาท แล้วยักยอกเบียดบังเอาเงินจำนวน 4,056 บาทไปจึงเป็นฟ้องที่กล่าวหาว่าจำเลยยักยอกเบียดบังเอาเงินไปในระหว่างวันที่ 29 มกราคม 2514 ซึ่งเป็นวันที่จำเลยรับเงิน ถึงวันที่ 30 กันยายน2515 ฟ้องข้อนี้จึงชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 158 (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1330/2506)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2414/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคืนเงินของกลางในคดีปล้นทรัพย์: เงินของกลางไม่ใช่ค่าสินไหมทดแทนของผู้เสียหาย
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยปล้นเอาธนบัตร 4,000 บาทของเจ้าทรัพย์ไปต่อมาจับจำเลยได้และได้ธนบัตรรวม 1,780 บาทจากจำเลยที่ 2เป็นของกลาง ขอให้ลงโทษและคืนธนบัตร 1,780 บาทของกลางแก่เจ้าทรัพย์และให้จำเลยคืนหรือใช้ธนบัตรอีก 2,220 บาท ที่ยังไม่ได้คืนแก่เจ้าทรัพย์ด้วย เมื่อเงินของกลาง 1,780 บาทนี้ผู้เสียหายมิได้เป็นเจ้าของ แม้จะเป็นของคนร้ายที่ร่วมปล้นซึ่งต้องใช้คืนผู้เสียหายอยู่แล้วการที่จะพิพากษาให้คืนแก่ผู้เสียหายนั้น ย่อมไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 49, 50 และเมื่อเงินของกลางนี้ไม่อาจถือว่าเป็นค่าสินไหมทดแทนอันผู้เสียหายจะพึงได้รับด้วยการที่ศาลสั่งคืนให้แล้วก็ย่อมไม่ต้องนำไปหักออกจากจำนวนค่าเสียหายทั้งหมดที่โจทก์คิดคำนวณมาในฟ้อง จำนวนเงิน 1,780 บาทนี้จึงกลับไปรวมอยู่ในจำนวนค่าเสียหาย 4,000 บาทซึ่งโจทก์ฟ้องว่าผู้เสียหายพึงได้รับค่าสินไหมทดแทน ศาลย่อมพิพากษาให้จำเลยร่วมกันคืนหรือใช้เงิน 4,000 บาท แก่ผู้เสียหายธนบัตรของกลาง 1,780 บาทให้คืนจำเลยที่ 2
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2414/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การคืนเงินของกลางที่ผู้เสียหายมิได้เป็นเจ้าของ และการคำนวณค่าสินไหมทดแทนที่ถูกต้อง
โจทก์ฟ้องว่าจำเลยปล้นเอาธนบัตร 4,000 บาทของเจ้าทรัพย์ไป ต่อมาจับจำเลยได้และได้ธนบัตรรวม 1,780 บาทจากจำเลยที่ 2 เป็นของกลาง ขอให้ลงโทษและคืนธนบัตร 1,780 บาทของกลางแก่เจ้าทรัพย์และให้จำเลยคืนหรือใช้ธนบัตรอีก 2,220 บาท ที่ยังไม่ได้คืนแก่เจ้าทรัพย์ด้วย เมื่อเงินของกลาง 1,780 บาทนี้ผู้เสียหายมิได้เป็นเจ้าของ แม้จะเป็นของคนร้ายที่ร่วมปล้นซึ่งต้องใช้คืนผู้เสียหายอยู่แล้ว การที่จะพิพากษาให้คืนแก่ผู้เสียหายนั้น ย่อมไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 49, 50 และเมื่อเงินของกลางนี้ไม่อาจถือว่าเป็นค่าสินไหมทดแทนอันผู้เสียหายจะพึงได้รับด้วยการที่ศาลสั่งคืนให้แล้วก็ย่อมไม่ต้องนำไปหักออกจากจำนวนค่าเสียหายทั้งหมดที่โจทก์คิดคำนวณมาในฟ้อง จำนวนเงิน 1,780 บาทนี้จึงกลับไปรวมอยู่ในจำนวนค่าเสียหาย 4,000 บาทซึ่งโจทก์ฟ้องว่าผู้เสียหายพึงได้รับค่าสินไหมทดแทน ศาลย่อมพิพากษาให้จำเลยร่วมกันคืนหรือใช้เงิน 4,000 บาท แก่ผู้เสียหายธนบัตรของกลาง 1,780 บาทให้คืนจำเลยที่ 2
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1625/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีแพ่งหลังคดีอาญา ยกฟ้องในข้อหาบุกรุก ไม่ตัดสิทธิโจทก์ในการพิพาทสิทธิในที่ดิน
โจทก์เคยฟ้องจำเลยเป็นคดีอาญา กล่าวหาว่าบุกรุกที่พิพาทศาลพิพากษายกฟ้องคดีถึงที่สุดแล้ว ในคำพิพากษาคดีอาญานั้นยังมิได้ชี้ขาดว่าที่พิพาทเป็นของใคร เป็นแต่กล่าวสรุปว่าเมื่อข้อเท็จจริงยังฟังเป็นยุติไม่ได้ว่าเป็นที่ดินของโจทก์และจำเลยอ้างว่าซื้อที่พิพาทมาจากผู้มีชื่อมูลคดีเป็นเรื่องแย่งสิทธิในที่ดินซึ่งเป็นเรื่องที่จะต้องว่ากล่าวกันในทางแพ่ง จึงยกฟ้องดังนี้โจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องคดีแพ่งอ้างว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ห้ามมิให้จำเลยเกี่ยวข้องกับที่พิพาทได้ เพราะประเด็นที่ว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์หรือไม่ คำพิพากษาในคดีอาญายังมิได้วินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1625/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจฟ้องคดีแพ่งหลังคดีอาญาบุกรุกยกฟ้อง ศาลมิได้วินิจฉัยเรื่องกรรมสิทธิ์
โจทก์เคยฟ้องจำเลยเป็นคดีอาญา กล่าวหาว่าบุกรุกที่พิพาทศาลพิพากษายกฟ้องคดีถึงที่สุดแล้ว ในคำพิพากษาคดีอาญานั้น ยังมิได้ชี้ขาดว่าที่พิพาทเป็นของใคร เป็นแต่กล่าวสรุปว่าเมื่อข้อเท็จจริงยังฟังเป็นยุติไม่ได้ว่าเป็นที่ดินของโจทก์และจำเลยอ้างว่าซื้อที่พิพาทมาจากผู้มีชื่อมูลคดีเป็นเรื่องแย่งสิทธิในที่ดินซึ่งเป็นเรื่องที่จะต้องว่ากล่าวกันในทางแพ่ง จึงยกฟ้องดังนี้ โจทก์ย่อมมีอำนาจฟ้องคดีแพ่งอ้างว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์ มิให้จำเลยเกี่ยวข้องกับที่พิพาทได้ เพราะประเด็นที่ว่าที่พิพาทเป็นของโจทก์หรือไม่ คำพิพากษาในคดีอาญายังมิได้วินิจฉัย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1039/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจสั่งให้ชดใช้ค่าเสียหายในคดีอาญา แม้ศาลยกฟ้อง
ในคดีที่พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องว่าจำเลยลักทรัพย์กับขอให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์แก่ผู้เสียหายด้วยนั้น แม้ศาลจะพิพากษายกฟ้องคดีส่วนอาญา แต่เมื่อคำขอส่วนแพ่ง เป็นคำขอที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาที่โจทก์ฟ้อง ดังนี้ อำนาจของพนักงานอัยการที่จะว่ากล่าวเกี่ยวกับคำขอส่วนแพ่งยังคงมีต่อไป ศาลจึงมีอำนาจสั่งให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์แก่ผู้เสียหายได้(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 10/2516 )
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1039/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจสั่งคืนทรัพย์ในคดีอาญา แม้ศาลยกฟ้อง คำขอส่วนแพ่งยังคงมีผล
ในคดีที่พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องว่าจำเลยลักทรัพย์กับขอให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์แก่ผู้เสียหายด้วยนั้น แม้ศาลจะพิพากษายกฟ้องคดีส่วนอาญา แต่เมื่อคำขอส่วนแพ่ง เป็นคำขอที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาที่โจทก์ฟ้อง ดังนี้อำนาจของพนักงานอัยการที่จะว่ากล่าวเกี่ยวกับคำขอส่วนแพ่งยังคงมีต่อไป ศาลจึงมีอำนาจสั่งให้จำเลยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์แก่ผู้เสียหายได้ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 10/2516)