พบผลลัพธ์ทั้งหมด 260 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 878/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สินสอด, สัญญาแปลงหนี้, และผลบังคับใช้สัญญา แม้ไม่มีการจดทะเบียนสมรส
อันสินสอดนั้นตามกฎหมายเป็นทรัพย์สินซึ่งฝ่ายชายให้แก่บิดามารดาหรือผู้ปกครองฝ่ายหญิง เพื่อตอบแทนการที่หญิงยอมสมรสและเมื่อมีข้อตกลงจะให้สินสอดแก่กันแล้ว การให้สินสอดภายหลังการสมรสย่อมทำได้เพราะไม่มีอะไรห้ามซึ่งต่างกับของหมั้นอันจะต้องให้กันในเวลาทำสัญญาหมั้นคือก่อนสมรส
บิดามารดาโจทก์จัดให้โจทก์และ ว. ทำพิธีแต่งงานกัน และโจทก์เต็มใจยอมสมรสมารดาโจทก์ได้เตือนให้โจทก์และ ว ไปจดทะเบียนสมรส แต่ทั้งสองคนละเลยไม่ดำเนินการจดทะเบียนโดยว่าจะไปจดวันหลังก็ได้ ครั้นอยู่ด้วยกัน 3 เดือนก็มีเหตุต้องเลิกร้างกันไปโดยไม่ได้จดทะเบียน ดังนี้จะถือว่าฝ่ายหญิงผิดสัญญาฝ่ายเดียวย่อมไม่ได้ ชายเรียกสินสอดคืนไม่ได้
จำเลยและ ว. บุตรชายตกลงหมั้นโจทก์และตกลงจะให้เงินจำนวนหนึ่งเป็นสินสอดแก่บิดามารดาโจทก์ในวันสมรส ถึงกำหนดจำเลยขอผัดให้เงินสินสอดภายหลัง มารดาโจทก์ยินยอมให้โจทก์แต่งงานกับ ว. เพื่อมิให้เสียพิธี แต่มิได้มีการจดทะเบียนสมรสกันหลังจากสมรสแล้วจำเลยขอทำสัญญากู้ให้มารดาโจทก์แทนเงินสินสอดที่ตกลงจะให้ มารดาโจทก์ต้องการเอาเงินนั้นให้โจทก์ จึงให้โจทก์ลงชื่อเป็นผู้ให้กู้ในสัญญากู้ ดังนี้ แม้โจทก์กับ ว. จะมิได้จดทะเบียนสมรสกันแต่เมื่อการที่มิได้จดทะเบียนสมรสนั้น จะถือว่าฝ่ายหญิงผิดสัญญาฝ่ายเดียวไม่ได้แล้ว ชายย่อมเรียกสินสอดคืนไม่ได้ สัญญากู้จึงมีมูลหนี้เนื่องมาจากเงินสินสอดอันเป็นมูลหนี้ชอบด้วยกฎหมาย เมื่อบิดามารดาโจทก์ตกลงยกให้โจทก์ และจำเลยยินยอมทำสัญญากับโจทก์เพราะมูลหนี้นี้แล้ว จำเลยย่อมต้องถูกผูกพันให้รับผิดตามสัญญากู้ที่แปลงหนี้มานี้
บิดามารดาโจทก์จัดให้โจทก์และ ว. ทำพิธีแต่งงานกัน และโจทก์เต็มใจยอมสมรสมารดาโจทก์ได้เตือนให้โจทก์และ ว ไปจดทะเบียนสมรส แต่ทั้งสองคนละเลยไม่ดำเนินการจดทะเบียนโดยว่าจะไปจดวันหลังก็ได้ ครั้นอยู่ด้วยกัน 3 เดือนก็มีเหตุต้องเลิกร้างกันไปโดยไม่ได้จดทะเบียน ดังนี้จะถือว่าฝ่ายหญิงผิดสัญญาฝ่ายเดียวย่อมไม่ได้ ชายเรียกสินสอดคืนไม่ได้
จำเลยและ ว. บุตรชายตกลงหมั้นโจทก์และตกลงจะให้เงินจำนวนหนึ่งเป็นสินสอดแก่บิดามารดาโจทก์ในวันสมรส ถึงกำหนดจำเลยขอผัดให้เงินสินสอดภายหลัง มารดาโจทก์ยินยอมให้โจทก์แต่งงานกับ ว. เพื่อมิให้เสียพิธี แต่มิได้มีการจดทะเบียนสมรสกันหลังจากสมรสแล้วจำเลยขอทำสัญญากู้ให้มารดาโจทก์แทนเงินสินสอดที่ตกลงจะให้ มารดาโจทก์ต้องการเอาเงินนั้นให้โจทก์ จึงให้โจทก์ลงชื่อเป็นผู้ให้กู้ในสัญญากู้ ดังนี้ แม้โจทก์กับ ว. จะมิได้จดทะเบียนสมรสกันแต่เมื่อการที่มิได้จดทะเบียนสมรสนั้น จะถือว่าฝ่ายหญิงผิดสัญญาฝ่ายเดียวไม่ได้แล้ว ชายย่อมเรียกสินสอดคืนไม่ได้ สัญญากู้จึงมีมูลหนี้เนื่องมาจากเงินสินสอดอันเป็นมูลหนี้ชอบด้วยกฎหมาย เมื่อบิดามารดาโจทก์ตกลงยกให้โจทก์ และจำเลยยินยอมทำสัญญากับโจทก์เพราะมูลหนี้นี้แล้ว จำเลยย่อมต้องถูกผูกพันให้รับผิดตามสัญญากู้ที่แปลงหนี้มานี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 290/2518
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนสิทธิเรียกร้อง: ผลกระทบต่อลูกหนี้ที่ไม่ได้รับแจ้งหรือยินยอม
โอนสิทธิเรียกร้องโดยไม่บอกกล่าวลูกหนี้หรือลูกหนี้มิได้ยินยอมด้วย มิใช่ว่าการโอนนั้นไม่สมบูรณ์ เป็นแต่ยกขึ้นต่อสู้ลูกหนี้มิได้เท่านั้น
จำเลยให้การว่าโจทก์รับโอนสิทธิเรียกร้องมาหรือไม่จำเลยไม่รับรอง ดังนี้ จำเลยจะฎีกาว่าหนังสือโอนหนี้ไม่ถูกต้องเพราะกรรมการลงชื่อไม่ครบตามข้อบังคับไม่ได้
จำเลยให้การว่าโจทก์รับโอนสิทธิเรียกร้องมาหรือไม่จำเลยไม่รับรอง ดังนี้ จำเลยจะฎีกาว่าหนังสือโอนหนี้ไม่ถูกต้องเพราะกรรมการลงชื่อไม่ครบตามข้อบังคับไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1504/2516 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิติดตามเอาทรัพย์คืนจากผู้ครอบครองโดยมิชอบ และการโอนสิทธิเรียกร้องส่งผลเป็นการโอนกรรมสิทธิ์
เจ้าของทรัพย์มีสิทธิติดตามเอาทรัพย์คืนจากบุคคลผู้ไม่มีสิทธิจะยึดถือไว้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1336เครื่องปรับอากาศได้ถูกนำไปติดตั้งใช้ประโยชน์ในบ้านเช่าโดยผู้เช่านำไปติดตั้งไว้ เมื่อผู้เช่าย้ายไปอยู่ที่อื่น โดยไม่ได้ขนย้ายเอาเครื่องปรับอากาศนั้นไปด้วย เครื่องปรับอากาศนั้นย่อมตกอยู่ในความครอบครองของบุคคลผู้เป็นเจ้าของบ้าน เจ้าของเครื่องปรับอากาศย่อมจะเรียกร้องเอาคืนจากเจ้าของบ้านหลังนั้นได้ เมื่อเจ้าของบ้านตายบ้านเป็นมรดกตกทอดแก่จำเลยซึ่งเป็นทายาท เจ้าของเครื่องปรับอากาศย่อมใช้สิทธิเรียกเอาคืนจากจำเลยได้ การที่ทายาทของผู้ตายได้ตกลงตั้งสำนักงานจัดผลประโยชน์ในทรัพย์มรดกขึ้นเพื่อประโยชน์ในระหว่างทายาทด้วยกันเอง หามีผลลบล้างหน้าที่ของจำเลยที่มีต่อบุคคลภายนอกในฐานะเป็นเจ้าของร่วมในทรัพย์นั้นไม่
การที่เจ้าของทรัพย์โอนสิทธิที่จะเรียกร้องเอาเครื่องปรับอากาศรายนี้แก่โจทก์มีผลเป็นการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นต่อกันโดยตรงหาใช่เป็นการโอนหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 306 ไม่โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องเรียกร้องเอาทรัพย์ดังกล่าวจากจำเลยได้โดยไม่ต้องมีการบอกกล่าวแจ้งการโอน
สิทธิเรียกร้องเอาคืนซึ่งตัวทรัพย์สินนั้น โจทก์จะเจาะจงเรียกเอาแต่ราคาของทรัพย์ โดยที่ไม่ปรากฏว่าจำเลยไม่อาจที่จะคืนทรัพย์นั้นได้ด้วยเหตุใด หาได้ไม่ แม้โจทก์จะเรียกเอาแต่ราคาทรัพย์ ก็มีผลเหมือนกับเรียกเอาทรัพย์ ศาลมีอำนาจที่จะพิพากษาให้จำเลยคืนทรัพย์เสียก่อนได้ ไม่เป็นการเกินคำขอ
การที่เจ้าของทรัพย์โอนสิทธิที่จะเรียกร้องเอาเครื่องปรับอากาศรายนี้แก่โจทก์มีผลเป็นการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นต่อกันโดยตรงหาใช่เป็นการโอนหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 306 ไม่โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องเรียกร้องเอาทรัพย์ดังกล่าวจากจำเลยได้โดยไม่ต้องมีการบอกกล่าวแจ้งการโอน
สิทธิเรียกร้องเอาคืนซึ่งตัวทรัพย์สินนั้น โจทก์จะเจาะจงเรียกเอาแต่ราคาของทรัพย์ โดยที่ไม่ปรากฏว่าจำเลยไม่อาจที่จะคืนทรัพย์นั้นได้ด้วยเหตุใด หาได้ไม่ แม้โจทก์จะเรียกเอาแต่ราคาทรัพย์ ก็มีผลเหมือนกับเรียกเอาทรัพย์ ศาลมีอำนาจที่จะพิพากษาให้จำเลยคืนทรัพย์เสียก่อนได้ ไม่เป็นการเกินคำขอ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1504/2516
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิติดตามทรัพย์คืนจากผู้ครอบครองโดยไม่ชอบ และการโอนสิทธิเรียกร้องที่ทำให้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์โอนไปด้วย
เจ้าของทรัพย์มีสิทธิติดตามเอาทรัพย์คืนจากบุคคลผู้ไม่มีสิทธิจะยึดถือไว้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1336เครื่องปรับอากาศได้ถูกนำไปติดตั้งใช้ประโยชน์ในบ้านเช่าโดยผู้เช่านำไปติดตั้งไว้ เมื่อผู้เช่าย้ายไปอยู่ที่อื่น โดยไม่ได้ขนย้ายเอาเครื่องปรับอากาศนั้นไปด้วยเครื่องปรับอากาศนั้นย่อมตกอยู่ในความครอบครองของบุคคลผู้เป็นเจ้าของบ้าน เจ้าของเครื่องปรับอากาศย่อมจะเรียกร้องเอาคืนจากเจ้าของบ้านหลังนั้นได้ เมื่อเจ้าของบ้านตายบ้านเป็นมรดกตกทอดแก่จำเลยซึ่งเป็นทายาท เจ้าของเครื่องปรับอากาศย่อมใช้สิทธิเรียกเอาคืนจากจำเลยได้ การที่ทายาทของผู้ตายได้ตกลงตั้งสำนักงานจัดผลประโยชน์ในทรัพย์มรดกขึ้นเพื่อประโยชน์ในระหว่างทายาทด้วยกันเอง หามีผลลบล้างหน้าที่ของจำเลยที่มีต่อบุคคลภายนอกในฐานะเป็นเจ้าของร่วมในทรัพย์นั้นไม่
การที่เจ้าของทรัพย์โอนสิทธิที่จะเรียกร้องเอาเครื่องปรับอากาศรายนี้แก่โจทก์มีผลเป็นการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นต่อกันโดยตรง หาใช่เป็นการโอนหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 306 ไม่ โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องเรียกร้องเอาทรัพย์ดังกล่าวจากจำเลยได้โดยไม่ต้องมีการบอกกล่าวแจ้งการโอน
สิทธิเรียกร้องเอาคืนซึ่งตัวทรัพย์สินนั้น โจทก์จะเจาะจงเรียกเอาแต่ราคาของทรัพย์ โดยที่ไม่ปรากฏว่าจำเลยไม่อาจที่จะคืนทรัพย์นั้นได้ด้วยเหตุใด หาได้ไม่ แม้โจทก์จะเรียกเอาแต่ราคาทรัพย์ ก็มีผลเหมือนกับเรียกเอาทรัพย์ ศาลมีอำนาจที่จะพิพากษาให้จำเลยคืนทรัพย์เสียก่อนได้ ไม่เป็นการเกินคำขอ
การที่เจ้าของทรัพย์โอนสิทธิที่จะเรียกร้องเอาเครื่องปรับอากาศรายนี้แก่โจทก์มีผลเป็นการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นต่อกันโดยตรง หาใช่เป็นการโอนหนี้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 306 ไม่ โจทก์จึงมีสิทธิฟ้องเรียกร้องเอาทรัพย์ดังกล่าวจากจำเลยได้โดยไม่ต้องมีการบอกกล่าวแจ้งการโอน
สิทธิเรียกร้องเอาคืนซึ่งตัวทรัพย์สินนั้น โจทก์จะเจาะจงเรียกเอาแต่ราคาของทรัพย์ โดยที่ไม่ปรากฏว่าจำเลยไม่อาจที่จะคืนทรัพย์นั้นได้ด้วยเหตุใด หาได้ไม่ แม้โจทก์จะเรียกเอาแต่ราคาทรัพย์ ก็มีผลเหมือนกับเรียกเอาทรัพย์ ศาลมีอำนาจที่จะพิพากษาให้จำเลยคืนทรัพย์เสียก่อนได้ ไม่เป็นการเกินคำขอ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 653/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การมอบอำนาจรับเงินแทนกับการโอนสิทธิเรียกร้อง: เจตนาของคู่กรณีสำคัญกว่าข้อความในสัญญา
บันทึกข้อตกลงแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาจ้างเหมาก่อสร้างที่ผู้ว่าจ้างกับผู้รับจ้างทำขึ้นเป็นหนังสือ แม้จะมีข้อความว่าผู้รับจ้างได้ตกลงยินยอมและมอบให้ธนาคาร... แต่ผู้เดียวเป็นผู้รับเงินเกี่ยวกับค่าจ้างเหมาทั้งสิ้น และผู้ว่าจ้างตกลงจะจ่ายเงินจำนวนนี้ให้แก่ธนาคาร... โดยธนาคารผู้รับมอบลงชื่อไว้ร่วมกับผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างในบันทึกเป็นหนังสือนี้ก็ตาม เมื่อเจตนาของคู่กรณีที่ประพฤติปฏิบัติต่อกันมาเห็นได้ว่า เป็นการชำระเงินโดยผ่านธนาคารเพื่อที่ธนาคารเอาไปหักกับหนี้สินที่ผู้รับจ้างมีอยู่ต่อธนาคารก่อน ส่วนที่เหลือยังเป็นของจำเลยอยู่เช่นนี้ ก็แปลไม่ได้ว่าบันทึกนี้เป็นหนังสือโอนสิทธิเรียกร้อง คงเป็นเพียงหนังสือมอบให้รับเงินแทน
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 5/2514)
(ประชุมใหญ่ครั้งที่ 5/2514)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 653/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนสิทธิเรียกร้อง vs. การมอบอำนาจรับเงินแทน: การพิจารณาเจตนาของคู่สัญญาเป็นสำคัญ
บันทึกข้อตกลงแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาจ้างเหมาก่อสร้างที่ผู้ว่าจ้างกับผู้รับจ้างทำขึ้นเป็นหนังสือ แม้จะมีข้อความว่าผู้รับจ้างได้ตกลงยินยอมและมอบให้ธนาคาร... แต่ผู้เดียวเป็นผู้รับเงินเกี่ยวกับค่าจ้างเหมาทั้งสิ้น และผู้ว่าจ้างตกลงจะจ่ายเงินจำนวนนี้ให้แก่ธนาคาร... โดยธนาคารผู้รับมอบลงชื่อไว้ร่วมกับผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างในบันทึกเป็นหนังสือนี้ก็ตาม เมื่อเจตนาของคู่กรณีที่ประพฤติปฏิบัติต่อกันมาเห็นได้ว่า เป็นการชำระเงินโดยผ่านธนาคารเพื่อที่ธนาคารเอาไปหักกับหนี้สินที่ผู้รับจ้างมีอยู่ต่อธนาคารก่อน ส่วนที่เหลือยังเป็นของจำเลยอยู่เช่นนี้ ก็แปลไม่ได้ว่าบันทึกนี้เป็นหนังสือโอนสิทธิเรียกร้อง คงเป็นเพียงหนังสือมอบให้รับเงินแทน (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 5/2514)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1893/2512 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนสิทธิเรียกร้อง: สมบูรณ์ด้วยหนังสือลงลายมือชื่อผู้โอน, มีค่าตอบแทน, และไม่ขัดต่อกฎหมาย
การโอนสิทธิเรียกร้องนั้น เพียงทำเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้โอนฝ่ายเดียวก็สมบูรณ์ หาจำต้องลงลายมือชื่อผู้รับโอนด้วยไม่ แต่การโอนนั้นจะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกได้แต่เมื่อได้บอกกล่าวการโอนไปยังลูกหนี้หรือลูกหนี้ยินยอมด้วยในการโอน โดยได้ทำคำบอกกล่าวหรือความยินยอมเป็นหนังสือ
การโอนสิทธิเรียกร้องซึ่งมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลานั้น ย่อมโอนกันได้ หาต้องห้ามตามกฎหมายไม่ เพราะสิทธิที่โอนมีอยู่อย่างไรเท่าใด ผู้รับโอนก็รับโอนไปเพียงนั้นเท่านั้น
จำเลยโอนสิทธิที่จะได้รับค่าระวางเรือส่วนลดจากบริษัทเรือให้แก่ธนาคารผู้ร้อง เพื่อที่จำเลยจะได้เบิกเงินเกินบัญชีจากผู้ร้องต่อไปอีกตามข้อตกลงระหว่างผู้ร้องกับจำเลยที่ได้กระทำขึ้นหลังจากที่ผู้ร้องได้แสดงเจตนาจะปิดบัญชีไม่ยอมให้จำเลยเบิก เพราะจำเลยยังเป็นหนี้เบิกเงินเกินบัญชีอยู่ถึงหนึ่งล้านบาทเศษ และเกินยอดสูงสุดที่ได้ตกลงกันไว้ก่อน ดังนี้ ย่อมถือได้ว่าเป็นการโอนโดยสุจริตและมีค่าตอบแทน
การโอนสิทธิเรียกร้องซึ่งมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลานั้น ย่อมโอนกันได้ หาต้องห้ามตามกฎหมายไม่ เพราะสิทธิที่โอนมีอยู่อย่างไรเท่าใด ผู้รับโอนก็รับโอนไปเพียงนั้นเท่านั้น
จำเลยโอนสิทธิที่จะได้รับค่าระวางเรือส่วนลดจากบริษัทเรือให้แก่ธนาคารผู้ร้อง เพื่อที่จำเลยจะได้เบิกเงินเกินบัญชีจากผู้ร้องต่อไปอีกตามข้อตกลงระหว่างผู้ร้องกับจำเลยที่ได้กระทำขึ้นหลังจากที่ผู้ร้องได้แสดงเจตนาจะปิดบัญชีไม่ยอมให้จำเลยเบิก เพราะจำเลยยังเป็นหนี้เบิกเงินเกินบัญชีอยู่ถึงหนึ่งล้านบาทเศษ และเกินยอดสูงสุดที่ได้ตกลงกันไว้ก่อน ดังนี้ ย่อมถือได้ว่าเป็นการโอนโดยสุจริตและมีค่าตอบแทน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1893/2512 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนสิทธิเรียกร้อง: สมบูรณ์แม้มีผู้รับโอนเพียงฝ่ายเดียว, มีค่าตอบแทน, และไม่ขัดต่อกฎหมาย
การโอนสิทธิเรียกร้องนั้น เพียงทำเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้โอนฝ่ายเดียวก็สมบูรณ์หาจำต้องลงลายมือชื่อผู้รับโอนด้วยไม่ แต่การโอนนั้นจะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกได้ แต่เมื่อได้บอกกล่าวการโอนไปยังลูกหนี้หรือลูกหนี้ยินยอมด้วยในการโอน โดยได้ทำคำบอกกล่าวหรือความยินยอมเป็นหนังสือ
การโอนสิทธิเรียกร้องซึ่งมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลานั้น ย่อมโอนกันได้ หาต้องห้ามตามกฎหมายไม่ เพราะสิทธิที่โอนมีอยู่อย่างไรเท่าใด ผู้รับโอนก็รับโอนไปเพียงนั้นเท่านั้น
จำเลยโอนสิทธิที่จะได้รับค่าระวางเรือส่วนลดจากบริษัทเรือให้แก่ธนาคารผู้ร้อง เพื่อที่จำเลยจะได้เบิกเงินเกินบัญชีจากผู้ร้องต่อไปอีกตามข้อตกลงระหว่างผู้ร้องกับจำเลยที่ได้กระทำขึ้นหลังจากที่ผู้ร้องได้แสดงเจตนาจะปิดบัญชีไม่ยอมให้จำเลยเบิก เพราะจำเลยยังเป็นหนี้เบิกเงินเกินบัญชีอยู่ถึงหนึ่งล้านบาทเศษ และเกินยอดสูงสุดที่ได้ตกลงกันไว้ก่อน ดังนี้ ย่อมถือได้ว่าเป็นการโอนโดยสุจริตและมีค่าตอบแทน
การโอนสิทธิเรียกร้องซึ่งมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลานั้น ย่อมโอนกันได้ หาต้องห้ามตามกฎหมายไม่ เพราะสิทธิที่โอนมีอยู่อย่างไรเท่าใด ผู้รับโอนก็รับโอนไปเพียงนั้นเท่านั้น
จำเลยโอนสิทธิที่จะได้รับค่าระวางเรือส่วนลดจากบริษัทเรือให้แก่ธนาคารผู้ร้อง เพื่อที่จำเลยจะได้เบิกเงินเกินบัญชีจากผู้ร้องต่อไปอีกตามข้อตกลงระหว่างผู้ร้องกับจำเลยที่ได้กระทำขึ้นหลังจากที่ผู้ร้องได้แสดงเจตนาจะปิดบัญชีไม่ยอมให้จำเลยเบิก เพราะจำเลยยังเป็นหนี้เบิกเงินเกินบัญชีอยู่ถึงหนึ่งล้านบาทเศษ และเกินยอดสูงสุดที่ได้ตกลงกันไว้ก่อน ดังนี้ ย่อมถือได้ว่าเป็นการโอนโดยสุจริตและมีค่าตอบแทน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1893/2512
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนสิทธิเรียกร้อง: สมบูรณ์แม้มีผู้โอนลงลายมือชื่อเดียว, มีเงื่อนไขก็โอนได้, สุจริตมีค่าตอบแทน
การโอนสิทธิเรียกร้องนั้น เพียงทำเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้โอนฝ่ายเดียวก็สมบูรณ์.หาจำต้องลงลายมือชื่อผู้รับโอนด้วยไม่. แต่การโอนนั้นจะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกได้แต่เมื่อได้บอกกล่าวการโอนไปยังลูกหนี้หรือลูกหนี้ยินยอมด้วยในการโอน โดยได้ทำคำบอกกล่าวหรือความยินยอมเป็นหนังสือ.
การโอนสิทธิเรียกร้องซึ่งมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลานั้น ย่อมโอนกันได้ หาต้องห้ามตามกฎหมายไม่. เพราะสิทธิที่โอนมีอยู่อย่างไรเท่าใด ผู้รับโอนก็รับโอนไปเพียงนั้นเท่านั้น.
จำเลยโอนสิทธิที่จะได้รับค่าระวางเรือส่วนลดจากบริษัทเรือให้แก่ธนาคารผู้ร้อง. เพื่อที่จำเลยจะได้เบิกเงินเกินบัญชีจากผู้ร้องต่อไปอีกตามข้อตกลงระหว่างผู้ร้องกับจำเลยที่ได้กระทำขึ้นหลังจากที่ผู้ร้องได้แสดงเจตนาจะปิดบัญชีไม่ยอมให้จำเลยเบิก. เพราะจำเลยยังเป็นหนี้เบิกเงินเกินบัญชีอยู่ถึงหนึ่งล้านบาทเศษ และเกินยอดสูงสุดที่ได้ตกลงกันไว้ก่อน. ดังนี้ ย่อมถือได้ว่าเป็นการโอนโดยสุจริตและมีค่าตอบแทน.
การโอนสิทธิเรียกร้องซึ่งมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลานั้น ย่อมโอนกันได้ หาต้องห้ามตามกฎหมายไม่. เพราะสิทธิที่โอนมีอยู่อย่างไรเท่าใด ผู้รับโอนก็รับโอนไปเพียงนั้นเท่านั้น.
จำเลยโอนสิทธิที่จะได้รับค่าระวางเรือส่วนลดจากบริษัทเรือให้แก่ธนาคารผู้ร้อง. เพื่อที่จำเลยจะได้เบิกเงินเกินบัญชีจากผู้ร้องต่อไปอีกตามข้อตกลงระหว่างผู้ร้องกับจำเลยที่ได้กระทำขึ้นหลังจากที่ผู้ร้องได้แสดงเจตนาจะปิดบัญชีไม่ยอมให้จำเลยเบิก. เพราะจำเลยยังเป็นหนี้เบิกเงินเกินบัญชีอยู่ถึงหนึ่งล้านบาทเศษ และเกินยอดสูงสุดที่ได้ตกลงกันไว้ก่อน. ดังนี้ ย่อมถือได้ว่าเป็นการโอนโดยสุจริตและมีค่าตอบแทน.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 652/2508 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การโอนสิทธิเรียกร้องเงินค่าจ้างเหมา: สิทธิตกเป็นของผู้รับโอนก่อนการอายัด แม้ยังไม่ถึงกำหนดรับเงิน
จำเลยทำหนังสือสัญญาโอนสิทธิเรียกร้องของจำเลยในเงินค่าจ้างเหมาก่อสร้างอาคารให้แก่ผู้ร้องซึ่งเป็นเจ้าหนี้ โดยบอกกล่าวการโอนไปยังลูกหนี้แห่งสิทธิเรียกร้องนั้น และได้รับความยินยอมแล้ว สิทธิที่จะได้รับเงินค่าจ้างเหมาจึงตกเป็นของผู้ร้องและขาดจากการเป็นสิทธิหรือทรัพย์สินของจำเลย แม้ว่าขณะโอนสิทธิเรียกร้องจะยังไม่ถึงกำหนดงวดที่จำเลยจะได้รับเงินตามสัญญาจ้างเหมาก็ตาม และเมื่อไม่ปรากฏว่าในขณะโอนผู้ร้องได้รู้ถึงข้อความจริงอันเป็นทางให้เจ้าหนี้อื่นรวมทั้งโจทก์ต้องเสียเปรียบ โจทก์ก็ไม่มีสิทธิจะขอให้ศาลอายัดเงินจำนวนนี้ได้