พบผลลัพธ์ทั้งหมด 240 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3083/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เช็ค: ผู้สั่งจ่ายต้องรับผิดต่อผู้ทรง แม้มีข้อโต้แย้งเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างผู้สั่งจ่ายกับผู้ทรงคนก่อน
จำเลยเป็นผู้สั่งจ่ายเช็คพิพาท ย่อมจะต้องรับผิดต่อโจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 914ประกอบกับมาตรา 989 จำเลยจะต่อสู้โจทก์ด้วยข้อต่อสู้อันอาศัยความเกี่ยวพันกันเฉพาะระหว่างตนกับผู้ทรงคนก่อนๆ นั้นหาได้ไม่เว้นแต่การโอนจะได้มีขึ้นด้วยคบคิดกันฉ้อฉล
แม้จะฟังว่าจำเลยสั่งจ่ายเช็คพิพาทให้ ช. เกี่ยวกับหนี้การพนัน แต่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงก็ไม่มีส่วนรู้เห็นเกี่ยวข้องด้วย และฟังไม่ได้ว่าโจทก์ได้รับโอนเช็คพิพาทมาโดยคบคิดกับ ช. เพื่อฉ้อฉลจำเลย ดังนี้ ย่อมไม่มีทางที่จำเลยจะปฏิเสธความรับผิดต่อโจทก์
การคำนวณนับระยะเวลาในการคิดดอกเบี้ยนั้นอยู่ในบังคับของหลักทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158 ซึ่งห้ามมิให้นับวันแรกแห่งระยะเวลารวมคำนวณเข้าด้วย ย่อมจะเริ่มนับหนึ่งในวันรุ่งขึ้น โดยไม่นับวันฟ้องรวมคำนวณเข้าด้วยอยู่แล้ว จึงใช้ว่านับแต่วันฟ้อง ไม่จำเป็นต้องใช้ถ้อยคำว่า ให้คิดดอกเบี้ยนับแต่วันถัดจากวันฟ้อง
แม้จะฟังว่าจำเลยสั่งจ่ายเช็คพิพาทให้ ช. เกี่ยวกับหนี้การพนัน แต่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงก็ไม่มีส่วนรู้เห็นเกี่ยวข้องด้วย และฟังไม่ได้ว่าโจทก์ได้รับโอนเช็คพิพาทมาโดยคบคิดกับ ช. เพื่อฉ้อฉลจำเลย ดังนี้ ย่อมไม่มีทางที่จำเลยจะปฏิเสธความรับผิดต่อโจทก์
การคำนวณนับระยะเวลาในการคิดดอกเบี้ยนั้นอยู่ในบังคับของหลักทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158 ซึ่งห้ามมิให้นับวันแรกแห่งระยะเวลารวมคำนวณเข้าด้วย ย่อมจะเริ่มนับหนึ่งในวันรุ่งขึ้น โดยไม่นับวันฟ้องรวมคำนวณเข้าด้วยอยู่แล้ว จึงใช้ว่านับแต่วันฟ้อง ไม่จำเป็นต้องใช้ถ้อยคำว่า ให้คิดดอกเบี้ยนับแต่วันถัดจากวันฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3083/2524 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เช็ค: ผู้สั่งจ่ายต้องรับผิดต่อผู้ทรง แม้มีข้อพิพาทกับผู้ทรงคนก่อน หากไม่มีเจตนาฉ้อฉล
จำเลยเป็นผู้สั่งจ่ายเช็คพิพาท ย่อมจะต้องรับผิดต่อโจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 914ประกอบกับมาตรา 989 จำเลยจะต่อสู้โจทก์ด้วยข้อต่อสู้อันอาศัยความเกี่ยวพันกันเฉพาะระหว่างตนกับผู้ทรงคนก่อนๆ นั้นหาได้ไม่เว้นแต่การโอนจะได้มีขึ้นด้วยคบคิดกันฉ้อฉล
แม้จะฟังว่าจำเลยสั่งจ่ายเช็คพิพาทให้ ช. เกี่ยวกับหนี้การพนัน แต่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงก็ไม่มีส่วนรู้เห็นเกี่ยวข้องด้วย และฟังไม่ได้ว่าโจทก์ได้รับโอนเช็คพิพาทมาโดยคบคิดกับ ช. เพื่อฉ้อฉลจำเลย ดังนี้ ย่อมไม่มีทางที่จำเลยจะปฏิเสธความรับผิดต่อโจทก์
การคำนวณนับระยะเวลาในการคิดดอกเบี้ยนั้นอยู่ในบังคับของหลักทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158 ซึ่งห้ามมิให้นับวันแรกแห่งระยะเวลารวมคำนวณเข้าด้วย ย่อมจะเริ่มนับหนึ่งในวันรุ่งขึ้น โดยไม่นับวันฟ้องรวมคำนวณเข้าด้วยอยู่แล้ว จึงใช้ว่านับแต่วันฟ้อง ไม่จำเป็นต้องใช้ถ้อยคำว่า ให้คิดดอกเบี้ยนับแต่วันถัดจากวันฟ้อง
แม้จะฟังว่าจำเลยสั่งจ่ายเช็คพิพาทให้ ช. เกี่ยวกับหนี้การพนัน แต่โจทก์ซึ่งเป็นผู้ทรงก็ไม่มีส่วนรู้เห็นเกี่ยวข้องด้วย และฟังไม่ได้ว่าโจทก์ได้รับโอนเช็คพิพาทมาโดยคบคิดกับ ช. เพื่อฉ้อฉลจำเลย ดังนี้ ย่อมไม่มีทางที่จำเลยจะปฏิเสธความรับผิดต่อโจทก์
การคำนวณนับระยะเวลาในการคิดดอกเบี้ยนั้นอยู่ในบังคับของหลักทั่วไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158 ซึ่งห้ามมิให้นับวันแรกแห่งระยะเวลารวมคำนวณเข้าด้วย ย่อมจะเริ่มนับหนึ่งในวันรุ่งขึ้น โดยไม่นับวันฟ้องรวมคำนวณเข้าด้วยอยู่แล้ว จึงใช้ว่านับแต่วันฟ้อง ไม่จำเป็นต้องใช้ถ้อยคำว่า ให้คิดดอกเบี้ยนับแต่วันถัดจากวันฟ้อง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2499/2524
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความละเมิด, ความรับผิดทางละเมิดของนายจ้างและลูกจ้าง, การกระทำในทางการจ้าง
จำเลยกระทำละเมิดต่อโจทก์เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2518การนับอายุความประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158 มิให้นับวันที่ 20 พฤษภาคม 2518 ซึ่งเป็นวันแรกรวมคำนวณไปด้วย เพราะมิได้มีการเริ่มอะไรในวันนั้น ต้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 21 พฤษภาคม 2518 โจทก์ฟ้องคดีเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2519 ซึ่งเป็นวันสุดท้ายที่จะครบ 1 ปี คดีของโจทก์ไม่ขาดอายุความ
จำเลยที่ 3 เข้าหุ้นกับจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคลดำเนินกิจการเหมืองแร่จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างจำเลยที่ 2 ทำหน้าที่เป็นยามรักษาทรัพย์สินของเหมืองแร่ จึงถือได้ว่าจำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างของจำเลยที่ 3 ด้วย การที่จำเลยที่ 3 มอบอาวุธปืนให้จำเลยที่ 1 ไปใช้ในการอยู่ยามและจำเลยที่ 1 ใช้ปืนยิงโจทก์ในขณะปฏิบัติหน้าที่ยามเพื่อรักษาทรัพย์สินของจำเลยที่ 2 และที่ 3 ที่อยู่ในเหมือง ถือว่าเป็นการกระทำในทางการที่จ้างจำเลยที่ 2 ที่ 3 จึงต้องร่วมกับจำเลยที่ 1 รับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 425
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438 ให้อำนาจศาลกำหนดค่าสินไหมทดแทนตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิดจึงเป็นเรื่องที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บัญญัติไว้ในโดยเฉพาะแล้ว จะนำกฎหมายแรงงานที่เกี่ยวกับความรับผิดระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างในกรณีที่ลูกจ้างประสบอุบัติเหตุขณะ ปฏิบัติหน้าที่มาใช้บังคับไม่ได้
จำเลยที่ 3 เข้าหุ้นกับจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคลดำเนินกิจการเหมืองแร่จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างจำเลยที่ 2 ทำหน้าที่เป็นยามรักษาทรัพย์สินของเหมืองแร่ จึงถือได้ว่าจำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างของจำเลยที่ 3 ด้วย การที่จำเลยที่ 3 มอบอาวุธปืนให้จำเลยที่ 1 ไปใช้ในการอยู่ยามและจำเลยที่ 1 ใช้ปืนยิงโจทก์ในขณะปฏิบัติหน้าที่ยามเพื่อรักษาทรัพย์สินของจำเลยที่ 2 และที่ 3 ที่อยู่ในเหมือง ถือว่าเป็นการกระทำในทางการที่จ้างจำเลยที่ 2 ที่ 3 จึงต้องร่วมกับจำเลยที่ 1 รับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 425
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438 ให้อำนาจศาลกำหนดค่าสินไหมทดแทนตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิดจึงเป็นเรื่องที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บัญญัติไว้ในโดยเฉพาะแล้ว จะนำกฎหมายแรงงานที่เกี่ยวกับความรับผิดระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างในกรณีที่ลูกจ้างประสบอุบัติเหตุขณะ ปฏิบัติหน้าที่มาใช้บังคับไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2499/2524 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความละเมิด, ความรับผิดทางละเมิดของนายจ้างและลูกจ้าง, การนับอายุความ
จำเลยกระทำละเมิดต่อโจทก์เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2518 การนับอายุความประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158 มิให้นับวันที่ 20 พฤษภาคม 2518 ซึ่งเป็นวันแรกรวมคำนวณไปด้วย เพราะมิได้มีการเริ่มอะไรในวันนั้น ต้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 21 พฤษภาคม 2518 โจทก์ฟ้องคดีเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2519 ซึ่งเป็นวันสุดท้ายที่จะครบ 1 ปี คดีของโจทก์ไม่ขาดอายุความ
จำเลยที่ 3 เข้าหุ้นกับจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคลดำเนินกิจการเหมืองแร่จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างจำเลยที่ 2 ทำหน้าที่เป็นยามรักษาทรัพย์สินของเหมืองแร่ จึงถือได้ว่าจำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างของจำเลยที่ 3 ด้วย การที่จำเลยที่ 3 มอบอาวุธปืนให้จำเลยที่ 1 ไปใช้ในการอยู่ยามและจำเลยที่ 1 ใช้ปืนยิงโจทก์ในขณะปฏิบัติหน้าที่ยามเพื่อรักษาทรัพย์สินของจำเลยที่ 2 และที่ 3 ที่อยู่ในเหมือง ถือว่าเป็นการกระทำในทางการที่จ้างจำเลยที่ 2 ที่ 3 จึงต้องร่วมกับจำเลยที่ 1 รับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 425
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438 ให้อำนาจศาลกำหนดค่าสินไหมทดแทนตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิดจึงเป็นเรื่องที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บัญญัติไว้ในโดยเฉพาะแล้ว จะนำกฎหมายแรงงานที่เกี่ยวกับความรับผิดระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างในกรณีที่ลูกจ้างประสบอุบัติเหตุขณะ ปฏิบัติหน้าที่มาใช้บังคับไม่ได้
จำเลยที่ 3 เข้าหุ้นกับจำเลยที่ 2 ซึ่งเป็นนิติบุคคลดำเนินกิจการเหมืองแร่จำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างจำเลยที่ 2 ทำหน้าที่เป็นยามรักษาทรัพย์สินของเหมืองแร่ จึงถือได้ว่าจำเลยที่ 1 เป็นลูกจ้างของจำเลยที่ 3 ด้วย การที่จำเลยที่ 3 มอบอาวุธปืนให้จำเลยที่ 1 ไปใช้ในการอยู่ยามและจำเลยที่ 1 ใช้ปืนยิงโจทก์ในขณะปฏิบัติหน้าที่ยามเพื่อรักษาทรัพย์สินของจำเลยที่ 2 และที่ 3 ที่อยู่ในเหมือง ถือว่าเป็นการกระทำในทางการที่จ้างจำเลยที่ 2 ที่ 3 จึงต้องร่วมกับจำเลยที่ 1 รับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 425
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438 ให้อำนาจศาลกำหนดค่าสินไหมทดแทนตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิดจึงเป็นเรื่องที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บัญญัติไว้ในโดยเฉพาะแล้ว จะนำกฎหมายแรงงานที่เกี่ยวกับความรับผิดระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างในกรณีที่ลูกจ้างประสบอุบัติเหตุขณะ ปฏิบัติหน้าที่มาใช้บังคับไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2448/2523 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจนายจ้างวางข้อบังคับห้ามเล่นแชร์ การเลิกจ้าง และการคำนวณระยะเวลาทำงาน
จำเลยผู้เป็นนายจ้างมีอำนาจวางข้อบังคับห้ามมิให้ลูกจ้างเล่นแชร์ได้ แต่การเล่นแชร์เป็นสัญญาอย่างหนึ่งซึ่งใช้บังคับได้ ไม่มีกฎหมายห้ามการเล่นแชร์ การเล่นแชร์ฝ่าฝืนข้อบังคับจึงไม่เป็นกรณีร้ายแรง
เมื่อศาลแรงงานกลางฟังข้อเท็จจริงว่า โจทก์เริ่มทำงานในวันแรก ดังนั้น การนับระยะเวลาทำงานของโจทก์จึงต้องนับวันแรกแห่งระยะเวลาอันเป็นวันเริ่มทำการงานรวมคำนวณเข้าด้วยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158
แม้จะมีประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงานฯ ข้อ 42 บัญญัติถึงเรื่องการจ่ายค่าชดเชยในกรณีเลิกจ้าง ก็มิได้ซ้ำหรือขัดแย้งกับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และ 582 ซึ่งบัญญัติถึงการบอกกล่าวล่วงหน้าในการเลิกสัญญาจ้าง มาตราดังกล่าวจึงยังใช้บังคับในกรณีที่นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยอยู่แล้วด้วย
เมื่อศาลแรงงานกลางฟังข้อเท็จจริงว่า โจทก์เริ่มทำงานในวันแรก ดังนั้น การนับระยะเวลาทำงานของโจทก์จึงต้องนับวันแรกแห่งระยะเวลาอันเป็นวันเริ่มทำการงานรวมคำนวณเข้าด้วยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158
แม้จะมีประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงานฯ ข้อ 42 บัญญัติถึงเรื่องการจ่ายค่าชดเชยในกรณีเลิกจ้าง ก็มิได้ซ้ำหรือขัดแย้งกับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และ 582 ซึ่งบัญญัติถึงการบอกกล่าวล่วงหน้าในการเลิกสัญญาจ้าง มาตราดังกล่าวจึงยังใช้บังคับในกรณีที่นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยอยู่แล้วด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2448/2523
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจวางข้อบังคับห้ามเล่นแชร์ของนายจ้าง และการคำนวณระยะเวลาทำงานเพื่อค่าชดเชย
จำเลยผู้เป็นนายจ้างมีอำนาจวางข้อบังคับห้ามมิให้ลูกจ้างเล่นแชร์ได้ แต่การเล่นแชร์เป็นสัญญาอย่างหนึ่งซึ่งใช้บังคับได้ ไม่มีกฎหมายห้ามการเล่นแชร์ การเล่นแชร์ฝ่าฝืนข้อบังคับจึงไม่เป็นกรณีร้ายแรง
เมื่อศาลแรงงานกลางฟังข้อเท็จจริงว่า โจทก์เริ่มทำงานในวันแรก ดังนั้นการนับระยะเวลาทำงานของโจทก์จึงต้องนับวันแรกแห่งระยะเวลาอันเป็นวันเริ่มทำการงานรวมคำนวณเข้าด้วยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158
แม้จะมีประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงานฯข้อ 46 บัญญัติถึงเรื่องการจ่ายค่าชดเชยในกรณีเลิกจ้างก็มิได้ซ้ำหรือขัดแย้งกับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา582 ซึ่งบัญญัติถึงการบอกกล่าวล่วงหน้าในการเลิกสัญญาจ้าง มาตราดังกล่าวจึงยังใช้บังคับในกรณีที่นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยอยู่แล้วด้วย
เมื่อศาลแรงงานกลางฟังข้อเท็จจริงว่า โจทก์เริ่มทำงานในวันแรก ดังนั้นการนับระยะเวลาทำงานของโจทก์จึงต้องนับวันแรกแห่งระยะเวลาอันเป็นวันเริ่มทำการงานรวมคำนวณเข้าด้วยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158
แม้จะมีประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคุ้มครองแรงงานฯข้อ 46 บัญญัติถึงเรื่องการจ่ายค่าชดเชยในกรณีเลิกจ้างก็มิได้ซ้ำหรือขัดแย้งกับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา582 ซึ่งบัญญัติถึงการบอกกล่าวล่วงหน้าในการเลิกสัญญาจ้าง มาตราดังกล่าวจึงยังใช้บังคับในกรณีที่นายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยอยู่แล้วด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 151/2523
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การแจ้งนำส่งบัญชีและเอกสารหลักฐาน: ระยะเวลาการบอกกล่าวและการออกหมายเรียก
ระยะเวลานับแต่วันรุ่งขึ้น เจ้าพนักงานประเมินจำเลยส่งหมายให้โจทก์วันที่ 16 กันยายนให้นำบัญชีเอกสารหลักฐานมาแสดงในวันที่ 23 กันยายนต้องเริ่มนับระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 17 กันยายน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158 บอกล่วงหน้าไม่ครบ 7 วันตามประมวลรัษฎากร มาตรา 19, 23 แต่จำเลยเตือนโจทก์และโจทก์ขอเลื่อนเวลาออกไปเกินกำหนดถือว่าให้เวลาเกิน 7 วันแล้วได้
กำหนดเวลา 150 วันตาม ประมวลรัษฎากร มาตรา 71 หมายถึงออกหมายเรียกหลังจาก 150 วัน จากวันครบรอบระยะเวลาบัญชีโดยโจทก์ยื่นรายการแล้วหรือไม่ยื่นรายการ ไม่ทำบัญชีหรือทำไม่ครบในกำหนดนั้นมิใช่ต้องออกหมายเรียกภายใน 150 วันนับแต่ครบรอบระยะเวลาบัญชี
กำหนดเวลา 150 วันตาม ประมวลรัษฎากร มาตรา 71 หมายถึงออกหมายเรียกหลังจาก 150 วัน จากวันครบรอบระยะเวลาบัญชีโดยโจทก์ยื่นรายการแล้วหรือไม่ยื่นรายการ ไม่ทำบัญชีหรือทำไม่ครบในกำหนดนั้นมิใช่ต้องออกหมายเรียกภายใน 150 วันนับแต่ครบรอบระยะเวลาบัญชี
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1947/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีละเมิด: วันหยุดราชการขยายเวลาฟ้องได้
โจทก์กล่าวในฟ้องว่า จำเลยกระทำละเมิดต่อโจทก์เมื่อวันที่ 2 มีนาคม2516 ฉะนั้นอายุความเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแก่มูลละเมิดซึ่งมี 1 ปีนับแต่วันที่โจทก์รู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์นั้น จึงครบกำหนดในวันที่ 2 มีนาคม2517 แต่ปรากฏว่าวันที่ 2 และวันที่ 3 มีนาคม 2517 ตรงกับวันเสาร์และวันอาทิตย์ซึ่งเป็นวันหยุดราชการ โจทก์มีสิทธิฟ้องคดีในวันที่ 4 มีนาคม 2517 ซึ่งเป็นวันเริ่มทำงานใหม่ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 161 และข้อเท็จจริงที่ว่าวันที่ 2 และวันที่ 3 มีนาคม 2517 เป็นวันเสาร์และวันอาทิตย์ซึ่งเป็นวันหยุดราชการนั้นเป็นข้อเท็จจริงที่รู้กันทั่วไป ศาลรู้ได้เองและหยิบยกขึ้นวินิจฉัยได้ คู่ความไม่จำเป็นต้องนำสืบ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1947/2520 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องคดีละเมิด: วันหยุดราชการมีผลต่อการนับอายุความ
โจทก์กล่าวในฟ้องว่า จำเลยกระทำละเมิดต่อโจทก์เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2516 ฉะนั้นอายุความเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแก่มูลละเมิดซึ่งมี 1 ปี นับแต่วันที่โจทก์รู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์นั้น จึงครบกำหนดในวันที่ 2 มีนาคม 2517 แต่ปรากฎว่าวันที่ 2 และวันที่ 3 มีนาคม 2517 ตรงกับวันเสาร์และวันอาทิตย์ซึ่งเป็นวันหยุดราชการ โจทก์มีสิทธิฟ้องคดีในวันที่ 4 มีนาคม 2517 ซึ่งเป็นวันเริ่มทำงานใหม่ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 161 และข้อเท็จจริงที่ว่าวันที่ 2 และวันที่ 3 มีนาคม 2517 เป็นวันเสาร์และวันอาทิตย์ซึ่งเป็นวันหยุดราชการนั้นเป็นข้อเท็จจริงที่รู้กันทั่วไป ศาลรู้ได้เองและหยิบยกขึ้นวินิจฉัยได้คู่ความไม่จำเป็นต้องนำสืบ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1733/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องเรียกหนี้เช็ค: ระยะเวลา 1 ปีนับจากวันที่ลงในเช็ค
จำเลยออกเช็คผู้ถือชำระหนี้แก่โจทก์ โจทก์โอนต่อไปแล้วธนาคารไม่จ่ายเงิน โจทก์ชำระเงินแก่ผู้ทรงที่ไม่ได้รับเงินจากธนาคารปัญหาเรื่องอายุความตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1002 กำหนด 1 ปี นับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ลงในเช็คตามมาตรา 158 เช็คลงวันที่ 30 ตุลาคม 2517 ฟ้องวันที่ 30 ตุลาคม 2518 เป็นวันสุดท้ายของ 1 ปี ไม่ขาดอายุความ