พบผลลัพธ์ทั้งหมด 240 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1166/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาสามารถขอเฉลี่ยทรัพย์ได้ หากทรัพย์ที่ยึดไว้ไม่เพียงพอชำระหนี้ และลูกหนี้ไม่มีทรัพย์สินอื่น
เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาอื่นแม้จะได้ยึดทรัพย์อื่นของลูกหนี้ตามคำพิพากษาไว้แล้ว แต่ถ้าเจ้าหนี้นั้นแสดงได้ว่าทรัพย์ที่ยึดไว้นั้นไม่เพียงพอที่จะชำระหนี้ของตนได้สิ้นเชิง และลูกหนี้ไม่มีทรัพย์สินอื่นพอชำระหนี้ ก็ย่อมร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ได้(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 897/2510)
เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดทรัพย์ของจำเลยวันใด กำหนดระยะเวลายื่นคำร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ต้องเริ่มนับหนึ่งในวันรุ่งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 158 เมื่อครบกำหนดสิบสี่วันในวันหยุดราชการผู้ร้องย่อมยื่นคำร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ในวันรุ่งขึ้นซึ่งศาลเริ่มทำงานใหม่ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 161กรณีไม่ต้องด้วยข้อยกเว้นตาม มาตรา 158 ตอนท้าย เพราะเมื่อขายทอดตลาดแล้ว การขายก็เป็นอันเสร็จสิ้นไป ไม่มีลักษณะหรือสภาพเป็นงานที่ต้องทำต่อ ๆ ไปอีก อันจะเป็นเหตุให้ถือว่าได้เริ่มการตั้งแต่วันขายทอดตลาดเป็นต้นไป(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1809/2511)
เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดทรัพย์ของจำเลยวันใด กำหนดระยะเวลายื่นคำร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ต้องเริ่มนับหนึ่งในวันรุ่งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 158 เมื่อครบกำหนดสิบสี่วันในวันหยุดราชการผู้ร้องย่อมยื่นคำร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ในวันรุ่งขึ้นซึ่งศาลเริ่มทำงานใหม่ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 161กรณีไม่ต้องด้วยข้อยกเว้นตาม มาตรา 158 ตอนท้าย เพราะเมื่อขายทอดตลาดแล้ว การขายก็เป็นอันเสร็จสิ้นไป ไม่มีลักษณะหรือสภาพเป็นงานที่ต้องทำต่อ ๆ ไปอีก อันจะเป็นเหตุให้ถือว่าได้เริ่มการตั้งแต่วันขายทอดตลาดเป็นต้นไป(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1809/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1166/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
เจ้าหนี้ตามคำพิพากษา ยึดทรัพย์แล้วยังขอเฉลี่ยได้ หากทรัพย์ยึดไม่พอชำระหนี้และลูกหนี้ไม่มีทรัพย์สินอื่น
เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาอื่นแม้จะได้ยึดทรัพย์อื่นของลูกหนี้ตามคำพิพากษาไว้แล้ว แต่ถ้าเจ้าหนี้นั้นแสดงได้ว่าทรัพย์ที่ยึดไว้นั้นไม่เพียงพอที่จะชำระหนี้ของตนได้สิ้นเชิง และลูกหนี้ไม่มีทรัพย์สินอื่นพอชำระหนี้ ก็ย่อมร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ได้(อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 897/2510)
เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดทรัพย์ของจำเลยวันใด กำหนดระยะเวลายื่นคำร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ต้องเริ่มนับหนึ่งในวันรุ่งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158 เมื่อครบกำหนดสิบสี่วันในวันหยุดราชการ ผู้ร้องย่อมยื่นคำร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ในวันรุ่งขึ้นซึ่งศาลเริ่มทำงานใหม่ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 161 กรณีไม่ต้องด้วยข้อยกเว้นตาม มาตรา 158 ตอนท้าย เพราะเมื่อขายทอดตลาดแล้ว การขายก็เป็นอันเสร็จสิ้นไปไม่มีลักษณะหรือสภาพเป็นงานที่ต้องทำต่อ ๆ ไปอีก อันจะเป็นเหตุให้ถือว่าได้เริ่มการตั้งแต่วันขายทอดตลาดเป็นต้นไป (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1809/2511)
เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาดทรัพย์ของจำเลยวันใด กำหนดระยะเวลายื่นคำร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ต้องเริ่มนับหนึ่งในวันรุ่งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158 เมื่อครบกำหนดสิบสี่วันในวันหยุดราชการ ผู้ร้องย่อมยื่นคำร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ในวันรุ่งขึ้นซึ่งศาลเริ่มทำงานใหม่ได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 161 กรณีไม่ต้องด้วยข้อยกเว้นตาม มาตรา 158 ตอนท้าย เพราะเมื่อขายทอดตลาดแล้ว การขายก็เป็นอันเสร็จสิ้นไปไม่มีลักษณะหรือสภาพเป็นงานที่ต้องทำต่อ ๆ ไปอีก อันจะเป็นเหตุให้ถือว่าได้เริ่มการตั้งแต่วันขายทอดตลาดเป็นต้นไป (อ้างคำพิพากษาฎีกาที่ 1809/2511)
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2217/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สมาชิกภาพ ส.ส.ท. เริ่มเมื่อประกาศผลเลือกตั้ง เงินค่าป่วยการเริ่มเมื่อเข้ารับหน้าที่ (ปฏิญาณตน)
สมาชิกภาพของสมาชิกสภาเทศบาลผู้ได้รับเลือกตั้งนั้นเริ่มแต่วันที่เทศบาลประกาศผลของการเลือกตั้ง มิใช่เริ่มแต่วันปฏิญาณตนเข้ารับหน้าที่
เงินค่าป่วยการซึ่งจะจ่ายให้แก่สมาชิกสภาเทศบาลตามข้อบังคับกระทรวงมหาดไทยฯ นั้น มีลักษณะเป็นเงินตอบแทนการปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกสภาเทศบาล มีสิทธิที่จะได้รับเงินค่าป่วยการจึงเริ่มแต่วันเข้ารับหน้าที่เป็นต้นไป มิใช่วันเริ่มสมาชิกภาพ
ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 17 สมาชิกสภาเทศบาลต้องปฏิญาณตนในที่ประชุมสภาเทศบาลก่อนเข้ารับหน้าที่ จึงต้องถือว่าสมาชิกสภาเทศบาลเข้ารับหน้าที่ตั้งแต่วันปฏิญาณตน และมีสิทธิได้รับเงินค่าป่วยการตามส่วน นับแต่วันดังกล่าวโดยคำนวณจากเงินค่าป่วยการรายเดือน
ข้อบังคับกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจ่ายเงินค่าป่วยการฯ ที่ว่าให้สมาชิกสภาเทศบาลได้รับเงินค่าป่วยการเป็นรายเดือนนั้น เป็นเพียงกำหนดเวลาจ่ายเงินค่าป่วยการไว้ว่าให้จ่ายเป็นเดือน ๆ ไป หาได้หมายความเลยไปถึงว่า แม้ก่อนเข้ารับหน้าที่ สมาชิกสภาเทศบาลก็มีสิทธิได้รับเงินค่าป่วยการ (เต็มทั้งเดือน) ด้วยไม่
เงินค่าป่วยการซึ่งจะจ่ายให้แก่สมาชิกสภาเทศบาลตามข้อบังคับกระทรวงมหาดไทยฯ นั้น มีลักษณะเป็นเงินตอบแทนการปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกสภาเทศบาล มีสิทธิที่จะได้รับเงินค่าป่วยการจึงเริ่มแต่วันเข้ารับหน้าที่เป็นต้นไป มิใช่วันเริ่มสมาชิกภาพ
ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 17 สมาชิกสภาเทศบาลต้องปฏิญาณตนในที่ประชุมสภาเทศบาลก่อนเข้ารับหน้าที่ จึงต้องถือว่าสมาชิกสภาเทศบาลเข้ารับหน้าที่ตั้งแต่วันปฏิญาณตน และมีสิทธิได้รับเงินค่าป่วยการตามส่วน นับแต่วันดังกล่าวโดยคำนวณจากเงินค่าป่วยการรายเดือน
ข้อบังคับกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจ่ายเงินค่าป่วยการฯ ที่ว่าให้สมาชิกสภาเทศบาลได้รับเงินค่าป่วยการเป็นรายเดือนนั้น เป็นเพียงกำหนดเวลาจ่ายเงินค่าป่วยการไว้ว่าให้จ่ายเป็นเดือน ๆ ไป หาได้หมายความเลยไปถึงว่า แม้ก่อนเข้ารับหน้าที่ สมาชิกสภาเทศบาลก็มีสิทธิได้รับเงินค่าป่วยการ (เต็มทั้งเดือน) ด้วยไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2217/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สมาชิกภาพ ส.ส.ท. เริ่มเมื่อประกาศผลเลือกตั้ง เงินค่าป่วยการเริ่มเมื่อเข้ารับหน้าที่ (ปฏิญาณตน)
สมาชิกภาพของสมาชิกสภาเทศบาลผู้ได้รับเลือกตั้งนั้นเริ่มแต่วันที่เทศบาลประกาศผลของการเลือกตั้ง มิใช่เริ่มแต่วันปฏิญาณตนเข้ารับหน้าที่
เงินค่าป่วยการซึ่งจะจ่ายให้แก่สมาชิกสภาเทศบาลตามข้อบังคับกระทรวงมหาดไทยฯ นั้น มีลักษณะเป็นเงินตอบแทนการปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกสภาเทศบาล มีสิทธิที่จะได้รับเงินค่าป่วยการจึงเริ่มแต่วันเข้ารับหน้าที่เป็นต้นไป มิใช่วันเริ่มสมาชิกภาพ
ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 17 สมาชิกสภาเทศบาลต้องปฏิญาณตนในที่ประชุมสภาเทศบาลก่อนเข้ารับหน้าที่ จึงต้องถือว่าสมาชิกสภาเทศบาลเข้ารับหน้าที่ตั้งแต่วันปฏิญาณตน และมีสิทธิได้รับเงินค่าป่วยการตามส่วน นับแต่วันดังกล่าวโดยคำนวณจากเงินค่าป่วยการรายเดือน
ข้อบังคับกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจ่ายเงินค่าป่วยการฯ ที่ว่าให้สมาชิกสภาเทศบาลได้รับเงินค่าป่วยการเป็นรายเดือนนั้น เป็นเพียงกำหนดเวลาจ่ายเงินค่าป่วยการไว้ว่าให้จ่ายเป็นเดือน ๆ ไป หาได้หมายความเลยไปถึงว่า แม้ก่อนเข้ารับหน้าที่ สมาชิกสภาเทศบาลก็มีสิทธิได้รับเงินค่าป่วยการ (เต็มทั้งเดือน) ด้วยไม่
เงินค่าป่วยการซึ่งจะจ่ายให้แก่สมาชิกสภาเทศบาลตามข้อบังคับกระทรวงมหาดไทยฯ นั้น มีลักษณะเป็นเงินตอบแทนการปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกสภาเทศบาล มีสิทธิที่จะได้รับเงินค่าป่วยการจึงเริ่มแต่วันเข้ารับหน้าที่เป็นต้นไป มิใช่วันเริ่มสมาชิกภาพ
ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 17 สมาชิกสภาเทศบาลต้องปฏิญาณตนในที่ประชุมสภาเทศบาลก่อนเข้ารับหน้าที่ จึงต้องถือว่าสมาชิกสภาเทศบาลเข้ารับหน้าที่ตั้งแต่วันปฏิญาณตน และมีสิทธิได้รับเงินค่าป่วยการตามส่วน นับแต่วันดังกล่าวโดยคำนวณจากเงินค่าป่วยการรายเดือน
ข้อบังคับกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจ่ายเงินค่าป่วยการฯ ที่ว่าให้สมาชิกสภาเทศบาลได้รับเงินค่าป่วยการเป็นรายเดือนนั้น เป็นเพียงกำหนดเวลาจ่ายเงินค่าป่วยการไว้ว่าให้จ่ายเป็นเดือน ๆ ไป หาได้หมายความเลยไปถึงว่า แม้ก่อนเข้ารับหน้าที่ สมาชิกสภาเทศบาลก็มีสิทธิได้รับเงินค่าป่วยการ (เต็มทั้งเดือน) ด้วยไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1146/2513 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากอุบัติเหตุทางรถยนต์: สถานะทางกฎหมายของโจทก์ (ภริยาและบุตร) และอายุความฎีกา
ศาลอ่านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์วันที่ 20 พฤษภาคม 2511 การนับอายุความฎีกาจึงต้องเริ่มนับแต่วันที่ 21 พฤษภาคม 2511 กำหนดหนึ่งเดือนจึงสิ้นสุดในวันที่ 20 มิถุนายน 2511 ซึ่งเป็นวันก่อนหน้าจะถึงวัดแห่งเดือนสุดท้ายอันเป็นวันตรงกับวันเริ่มระยะเวลานั้น แต่ในวันดังกล่าวนี้เป็นวันหยุดราชการ จึงต้องนับถึงวันที่ 21 มิถุนายน 2511 ซึงเป็นวันที่เริ่มทำงานใหม่เข้าในอายุความฎีกาด้วย
ปัญหาที่ว่า โจทก์ที่ 1 มิใช่ภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย และโจทก์ที่ 2 มิใช่บุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย เป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
โจทก์ที่ 2 มิใช่บุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย โจทก์เป็นเพียงบุตรนอกสมรสของผู้ตายกับโจทก์ที่ 1 ซึ่งผู้ตายได้แจ้งทะเบียนคนเกิดว่าเป็นบุตรของตน และอุปการะเลี้ยงดูโดยเปิดเผยตลอดมาเท่านั้น การที่ผู้ตายแจ้งทะเบียนคนเกิดว่าโจทก์ที่ 2 เป็นบุตรของตนก็ดี หรือได้ทำการอุปการะเลี้ยงดูโจทก์ที่ 2 ฉันบุตรตลอดมาก็ดี ก็หาทำให้โจทก์ที่ 2 เป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตายขึ้นมาไม่ เพราะบุตรนอกสมรสจะกลายเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายได้ ก็ต้องเป็นไปตามวิธีการที่บัญญัติไว้ในมาตรา 1526 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โจทก์ที่ 2 คงมีฐานะเป็นเพียงบุตรที่ผู้ตายรับรองแล้วตามมาตรา 1627 และมีเพียงสิทธิที่จะได้รับมรดกในฐานะเป็นผู้สืบสันดานของผู้ตายตามมาตรา 1629 (1) จึงไม่มีสิทธิได้ค่าอุปการะเลี้ยงดูหรือฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูจากผู้ที่ทำให้บิดาตนถึงแก่ความตายได้ (อ้างฎีกาที่ 1259/2506)
เมื่อโจทก์ที่ 1 มิใช่ภริยาโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย ก็มิใช่ผู้เสียหายที่มีสิทธิฟ้องเรียกค่าทำศพผู้ตายจากจำเลยได้
ปัญหาที่ว่า โจทก์ที่ 1 มิใช่ภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย และโจทก์ที่ 2 มิใช่บุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย เป็นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
โจทก์ที่ 2 มิใช่บุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย โจทก์เป็นเพียงบุตรนอกสมรสของผู้ตายกับโจทก์ที่ 1 ซึ่งผู้ตายได้แจ้งทะเบียนคนเกิดว่าเป็นบุตรของตน และอุปการะเลี้ยงดูโดยเปิดเผยตลอดมาเท่านั้น การที่ผู้ตายแจ้งทะเบียนคนเกิดว่าโจทก์ที่ 2 เป็นบุตรของตนก็ดี หรือได้ทำการอุปการะเลี้ยงดูโจทก์ที่ 2 ฉันบุตรตลอดมาก็ดี ก็หาทำให้โจทก์ที่ 2 เป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตายขึ้นมาไม่ เพราะบุตรนอกสมรสจะกลายเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายได้ ก็ต้องเป็นไปตามวิธีการที่บัญญัติไว้ในมาตรา 1526 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โจทก์ที่ 2 คงมีฐานะเป็นเพียงบุตรที่ผู้ตายรับรองแล้วตามมาตรา 1627 และมีเพียงสิทธิที่จะได้รับมรดกในฐานะเป็นผู้สืบสันดานของผู้ตายตามมาตรา 1629 (1) จึงไม่มีสิทธิได้ค่าอุปการะเลี้ยงดูหรือฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูจากผู้ที่ทำให้บิดาตนถึงแก่ความตายได้ (อ้างฎีกาที่ 1259/2506)
เมื่อโจทก์ที่ 1 มิใช่ภริยาโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย ก็มิใช่ผู้เสียหายที่มีสิทธิฟ้องเรียกค่าทำศพผู้ตายจากจำเลยได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1809/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนับระยะเวลาในสัญญาประกวดราคา: เริ่มนับวันรุ่งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158
เงื่อนไขในการประกวดราคาซึ่งกำหนดให้ราคาสินค้าที่เสนอขายยืนราคาอยู่ 45 วันนับแต่วันยื่นซองประกวดราคานั้นถือไม่ได้ว่ามีนิติกรรมกำหนดการนับระยะเวลาไว้เป็นประการอื่น ดังนั้น จึงไม่นับวันแรกแห่งระยะเวลารวมคำนวณเข้าด้วย
การประกวดราคาซื้อน้ำมันมิใช่เป็นเรื่องการทำงาน เพราะไม่มีลักษณะหรือสภาพเป็นงานที่ต้องทำต่อๆ ไปอีก เมื่อยื่นซองประกวดราคาเสร็จก็เป็นอันเสร็จกันไป ไม่มีการกระทำอะไรในการประกวดราคานั้นอีก กรณีจึงปรับเข้ากับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158 ตอนท้ายมิได้
การประกวดราคาซื้อน้ำมันมิใช่เป็นเรื่องการทำงาน เพราะไม่มีลักษณะหรือสภาพเป็นงานที่ต้องทำต่อๆ ไปอีก เมื่อยื่นซองประกวดราคาเสร็จก็เป็นอันเสร็จกันไป ไม่มีการกระทำอะไรในการประกวดราคานั้นอีก กรณีจึงปรับเข้ากับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158 ตอนท้ายมิได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1809/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนับระยะเวลาในสัญญาประกวดราคา: เริ่มนับวันรุ่งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158
เงื่อนไขในการประกวดราคาซึ่งกำหนดให้ราคาสินค้าที่เสนอขายยืนราคาอยู่ 45 วันนับแต่วันยื่นซองประกวดราคานั้น ถือไม่ได้ว่ามีนิติกรรมกำหนดการนับระยะเวลาไว้เป็นประการอื่น ดังนั้น จึงไม่นับวันแรกแห่งระยะเวลารวมคำนวณเข้าด้วย
การประกวดราคาซื้อน้ำมันมิใช่เป็นเรื่องการทำงาน เพราะไม่มีลักษณะหรือสภาพเป็นงานที่ต้องทำต่อๆ ไปอีก เมื่อยื่นซองประกวดราคาเสร็จก็เป็นอันเสร็จกันไป ไม่มีการกระทำอะไรในการประกวดราคานั้นอีก กรณีจึงปรับเข้ากับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158 ตอนท้ายมิได้
การประกวดราคาซื้อน้ำมันมิใช่เป็นเรื่องการทำงาน เพราะไม่มีลักษณะหรือสภาพเป็นงานที่ต้องทำต่อๆ ไปอีก เมื่อยื่นซองประกวดราคาเสร็จก็เป็นอันเสร็จกันไป ไม่มีการกระทำอะไรในการประกวดราคานั้นอีก กรณีจึงปรับเข้ากับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158 ตอนท้ายมิได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1809/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การนับระยะเวลาในสัญญาประกวดราคา: เริ่มนับในวันรุ่งขึ้นตามมาตรา 158 และการไม่ถือว่าเป็นการทำงานต่อเนื่อง
เงื่อนไขในการประกวดราคาซึ่งกำหนดให้ราคาสินค้าที่เสนอขายยืนราคาอยู่ 45 วันนับแต่วันยื่นซองประกวดราคานั้น.ถือไม่ได้ว่ามีนิติกรรมกำหนดการนับระยะเวลาไว้เป็นประการอื่น. ดังนั้น จึงไม่นับวันแรกแห่งระยะเวลารวมคำนวณเข้าด้วย.
การประกวดราคาซื้อน้ำมันมิใช่เป็นเรื่องการทำงาน. เพราะไม่มีลักษณะหรือสภาพเป็นงานที่ต้องทำต่อๆ ไปอีก. เมื่อยื่นซองประกวดราคาเสร็จก็เป็นอันเสร็จกันไป. ไม่มีการกระทำอะไรในการประกวดราคานั้นอีก. กรณีจึงปรับเข้ากับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158 ตอนท้ายมิได้.
การประกวดราคาซื้อน้ำมันมิใช่เป็นเรื่องการทำงาน. เพราะไม่มีลักษณะหรือสภาพเป็นงานที่ต้องทำต่อๆ ไปอีก. เมื่อยื่นซองประกวดราคาเสร็จก็เป็นอันเสร็จกันไป. ไม่มีการกระทำอะไรในการประกวดราคานั้นอีก. กรณีจึงปรับเข้ากับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 158 ตอนท้ายมิได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 582/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยื่นฎีกาพ้นกำหนดและไม่อนุญาตอ้างสำนวนคดีอาญาเป็นพยานเพิ่มเติมในชั้นฎีกาเนื่องจากประเด็นยุติแล้ว
ศาลชั้นต้นอ่านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ให้คู่ความฟังเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2507 กำหนดระยะเวลา 1 เดือนสำหรับการยื่นฎีกา เริ่มนับหนึ่งในวันที่ 29 ตุลาคม 2507 ครบ 1 เดือนในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2507 แต่วันที่ 28, 29 พฤศจิกายน 2507 ตรงกับวันหยุดราชการ โจทก์จึงยื่นฎีกาในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2507 ซึ่งเป็นวันที่เริ่มทำงานใหม่ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 161
โจทก์ขออ้างสำนวนคดีอาญาเป็นพยานหลักฐานเพิ่มเติมในชั้นฎีกาเพื่อแสดงว่าผู้ร้องกับจำเลยเป็นสามีภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายโดยได้จดทะเบียนสมรส นั้น เห็นว่าข้อเท็จจริงดังกล่าวได้ยุติมาแต่ศาลชั้นต้น โดยโจทก์ไม่ติดใจอุทธรณ์ในข้อนี้ และยอมรับในอุทธรณ์ว่า ผู้ร้องกับจำเลยมิใช่สามีภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมาย เพราะมิได้จดทะเบียนสมรส คงอุทธรณ์เฉพาะประเด็นที่ว่า เรือนพิพาทเป็นทรัพย์ที่ผู้ร้องกับจำเลยต่างมีกรรมสิทธิ์คนละครึ่งข้อเดียวเท่านั้น ศาลฎีกาจึงไม่อนุญาตให้อ้าง
โจทก์ขออ้างสำนวนคดีอาญาเป็นพยานหลักฐานเพิ่มเติมในชั้นฎีกาเพื่อแสดงว่าผู้ร้องกับจำเลยเป็นสามีภริยาที่ชอบด้วยกฎหมายโดยได้จดทะเบียนสมรส นั้น เห็นว่าข้อเท็จจริงดังกล่าวได้ยุติมาแต่ศาลชั้นต้น โดยโจทก์ไม่ติดใจอุทธรณ์ในข้อนี้ และยอมรับในอุทธรณ์ว่า ผู้ร้องกับจำเลยมิใช่สามีภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมาย เพราะมิได้จดทะเบียนสมรส คงอุทธรณ์เฉพาะประเด็นที่ว่า เรือนพิพาทเป็นทรัพย์ที่ผู้ร้องกับจำเลยต่างมีกรรมสิทธิ์คนละครึ่งข้อเดียวเท่านั้น ศาลฎีกาจึงไม่อนุญาตให้อ้าง
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 582/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
กำหนดเวลาฎีกา-การอ้างพยานหลักฐานเพิ่มเติม-กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน: ศาลฎีกายืนตามศาลล่างเรื่องกำหนดเวลาและกรรมสิทธิ์
ศาลชั้นต้นอ่านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ให้คู่ความฟังเมื่อวันที่28 ตุลาคม 2507 กำหนดระยะเวลา 1 เดือนสำหรับการยื่นฎีกา เริ่มนับหนึ่งในวันที่ 29 ตุลาคม 2507 ครบ 1 เดือนในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2507 แต่วันที่ 28, 29 พฤศจิกายน 2507 ตรงกับวันหยุดราชการ โจทก์จึงยื่นฎีกาในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2507 ซึ่งเป็นวันที่เริ่มทำงานใหม่ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 161
โจทก์ขออ้างสำนวนคดีอาญาเป็นพยานหลักฐานเพิ่มเติมในชั้นฎีกาเพื่อแสดงว่าผู้ร้องกับจำเลยเป็นสามีภริยาที่ชอบด้วยกฎหมาย โดยได้จดทะเบียนสมรสนั้นเห็นว่าข้อเท็จจริงดังกล่าวได้ยุติมาแต่ศาลชั้นต้น โดยโจทก์ไม่ติดใจอุทธรณ์ในข้อนี้และยอมรับในอุทธรณ์ว่า ผู้ร้องกับจำเลยมิใช่สามีภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมาย เพราะมิได้จดทะเบียนสมรส คงอุทธรณ์เฉพาะประเด็นที่ว่า เรือนพิพาทเป็นทรัพย์ที่ผู้ร้องกับจำเลยต่างมีกรรมสิทธิ์คนละครึ่งข้อเดียวเท่านั้น ศาลฎีกาจึงไม่อนุญาตให้อ้าง
โจทก์ขออ้างสำนวนคดีอาญาเป็นพยานหลักฐานเพิ่มเติมในชั้นฎีกาเพื่อแสดงว่าผู้ร้องกับจำเลยเป็นสามีภริยาที่ชอบด้วยกฎหมาย โดยได้จดทะเบียนสมรสนั้นเห็นว่าข้อเท็จจริงดังกล่าวได้ยุติมาแต่ศาลชั้นต้น โดยโจทก์ไม่ติดใจอุทธรณ์ในข้อนี้และยอมรับในอุทธรณ์ว่า ผู้ร้องกับจำเลยมิใช่สามีภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมาย เพราะมิได้จดทะเบียนสมรส คงอุทธรณ์เฉพาะประเด็นที่ว่า เรือนพิพาทเป็นทรัพย์ที่ผู้ร้องกับจำเลยต่างมีกรรมสิทธิ์คนละครึ่งข้อเดียวเท่านั้น ศาลฎีกาจึงไม่อนุญาตให้อ้าง