พบผลลัพธ์ทั้งหมด 328 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1528/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
นิติสัมพันธ์ซื้อขายที่ดิน: ตัวแทนจำเลย vs. ผู้รับซื้อจริง, ขอบเขตการขายที่ดินรวม และอายุความ
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยตกลงจะขายที่ดินให้โจทก์โดยผู้มีชื่อเป็นตัวแทนจำเลย แต่ข้อเท็จจริงกลับได้ความว่าผู้มีชื่อนั้นไม่ใช่ตัวแทนจำเลย หากแต่เป็นผู้รับซื้อที่ดินจากจำเลยแล้วมาโอนให้โจทก์ ข้อเท็จจริงตามทางพิจารณาจึงต่างกับข้อหาตามฟ้อง ทั้งเมื่อจำเลยไม่ได้ตกลงขายที่ดินให้โจทก์ โจทก์กับจำเลยย่อมไม่มีนิติสัมพันธ์ใดๆ ต่อกัน โจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยโอนที่ดินให้โจทก์ได้
ผู้ซื้อกับผู้ขายทำสัญญากันไว้ว่าจะชำระราคาและจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินกัน เมื่อโฉนดพ้นจากการอายัด สิทธิเรียกร้องในการบังคับตามสัญญาซื้อขายย่อมเริ่มนับแต่เมื่อมีการเพิกถอนการอายัดเป็นต้นไป หากนับถึงวันฟ้องยังไม่พ้นกำหนดสิบปี คดีย่อมไม่ขาดอายุความฟ้องร้อง
จำเลยตกลงจะขายที่ดินของจำเลยตามตราจองซึ่งแบ่งแยกจากตราจองฉบับเดิมซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์รวมหลายเจ้าของ เมื่อตราจองของจำเลยถูกเพิกถอนกลับคืนเป็นตราจองฉบับเดิม ก็ถือได้ว่าจำเลยตกลงขายที่ดินเฉพาะส่วนของจำเลยตามตราจองฉบับเดิมนั้น ซึ่งจำเลยมีสิทธิขายได้โดยไม่จำต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของรวมทุกคน
ผู้ซื้อกับผู้ขายทำสัญญากันไว้ว่าจะชำระราคาและจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินกัน เมื่อโฉนดพ้นจากการอายัด สิทธิเรียกร้องในการบังคับตามสัญญาซื้อขายย่อมเริ่มนับแต่เมื่อมีการเพิกถอนการอายัดเป็นต้นไป หากนับถึงวันฟ้องยังไม่พ้นกำหนดสิบปี คดีย่อมไม่ขาดอายุความฟ้องร้อง
จำเลยตกลงจะขายที่ดินของจำเลยตามตราจองซึ่งแบ่งแยกจากตราจองฉบับเดิมซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์รวมหลายเจ้าของ เมื่อตราจองของจำเลยถูกเพิกถอนกลับคืนเป็นตราจองฉบับเดิม ก็ถือได้ว่าจำเลยตกลงขายที่ดินเฉพาะส่วนของจำเลยตามตราจองฉบับเดิมนั้น ซึ่งจำเลยมีสิทธิขายได้โดยไม่จำต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของรวมทุกคน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1528/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การซื้อขายที่ดินโดยตัวแทนที่ไม่ได้รับมอบอำนาจ และขอบเขตการบังคับตามสัญญาเมื่อมีข้อพิพาทเรื่องกรรมสิทธิ์รวม
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยตกลงจะขายที่ดินให้โจทก์โดยผู้มีชื่อเป็นตัวแทนจำเลย แต่ข้อเท็จจริงกลับได้ความว่าผู้มีชื่อนั้นไม่ใช่ตัวแทนจำเลย หากแต่เป็นผู้รับซื้อที่ดินจากจำเลยแล้วมาโอนให้โจทก์ ข้อเท็จจริงตามทางพิจารณาจึงต่างกับข้อหาตามฟ้อง ทั้งเมื่อจำเลยไม่ได้ตกลงขายที่ดินให้โจทก์ โจทก์กับจำเลยย่อมไม่มีนิติสัมพันธ์ใดๆ ต่อกัน โจทก์จึงไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จำเลยโอนที่ดินให้โจทก์ได้
ผู้ซื้อกับผู้ขายทำสัญญากันไว้ว่าจะชำระราคาและจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินกัน เมื่อโฉนดพ้นจากการอายัด สิทธิเรียกร้องในการบังคับตามสัญญาซื้อขายย่อมเริ่มนับแต่เมื่อมีการเพิกถอนการอายัดเป็นต้นไป หากนับถึงวันฟ้องยังไม่พ้นกำหนดสิบปี คดีย่อมไม่ขาดอายุความฟ้องร้อง
จำเลยตกลงจะขายที่ดินของจำเลยตามตราจองซึ่งแบ่งแยกจากตราจองฉบับเดิมซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์รวมหลายเจ้าของ เมื่อตราจองของจำเลยถูกเพิกถอนกลับคืนเป็นตราจองฉบับเดิมก็ถือได้ว่าจำเลยตกลงขายที่ดินเฉพาะส่วนของจำเลยตามตราจองฉบับเดิมนั้น ซึ่งจำเลยมีสิทธิขายได้โดยไม่จำต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของรวมทุกคน
ผู้ซื้อกับผู้ขายทำสัญญากันไว้ว่าจะชำระราคาและจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินกัน เมื่อโฉนดพ้นจากการอายัด สิทธิเรียกร้องในการบังคับตามสัญญาซื้อขายย่อมเริ่มนับแต่เมื่อมีการเพิกถอนการอายัดเป็นต้นไป หากนับถึงวันฟ้องยังไม่พ้นกำหนดสิบปี คดีย่อมไม่ขาดอายุความฟ้องร้อง
จำเลยตกลงจะขายที่ดินของจำเลยตามตราจองซึ่งแบ่งแยกจากตราจองฉบับเดิมซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์รวมหลายเจ้าของ เมื่อตราจองของจำเลยถูกเพิกถอนกลับคืนเป็นตราจองฉบับเดิมก็ถือได้ว่าจำเลยตกลงขายที่ดินเฉพาะส่วนของจำเลยตามตราจองฉบับเดิมนั้น ซึ่งจำเลยมีสิทธิขายได้โดยไม่จำต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของรวมทุกคน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 474/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องบังคับตามสัญญาซื้อขายที่ดิน เริ่มนับจากวันที่จำเลยโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครอง
จำเลยที่ 1 จดทะเบียนโอนขายกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดที่ 2257 เนื้อที่ 6 ไร่ 45 วา ซึ่งแบ่งแยกจากที่ดินโฉนดที่ 13 ให้แก่บิดาโจทก์โดยใส่ชื่อโจทก์ เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2491 ต่อมาโจทก์ทราบว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองเป็นที่ดินโฉนดที่ 13 ที่เหลือมีเนื้อที่ 5 ไร่ 78 วา ไม่ใช่ที่ดินโฉนดที่ 2257 ส่วนที่ดินโฉนดที่ 2257 จำเลยที่ 1 เป็นผู้ครอบครองแล้วโอนขายให้แก่จำเลยที่ 2 ไป ดังนี้ แม้ที่ดินที่โจทก์เป็นเรื่องครอบครองที่ดินสับแปลงกัน ซึ่งโจทก์มีสิทธิฟ้องขอบังคับจำเลยก็ดี แต่โจทก์จะต้องจัดการฟ้องร้องบังคับจำเลยที่ 1 ให้ปฏิบัติตามสัญญาภายใน 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
จำเลยจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2491 ฉะนั้น อายุความฟ้องร้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2491 เป็นต้นไป เพราะโจทก์อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้แล้ว ไม่ใช่นับแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2506 ซึ่งเป็นวันที่โจทก์รู้ว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257 แต่โจทก์เพิ่งมาฟ้องขอให้บังคับจำเลยเมื่อวัน ที่ 27 พฤศจิกายน 2506 เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปี แล้วคดีโจทก์ขาดอายุความตามมาตรา 163
จำเลยจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2491 ฉะนั้น อายุความฟ้องร้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2491 เป็นต้นไป เพราะโจทก์อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้แล้ว ไม่ใช่นับแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2506 ซึ่งเป็นวันที่โจทก์รู้ว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257 แต่โจทก์เพิ่งมาฟ้องขอให้บังคับจำเลยเมื่อวัน ที่ 27 พฤศจิกายน 2506 เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปี แล้วคดีโจทก์ขาดอายุความตามมาตรา 163
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 474/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องร้องกรณีครอบครองที่ดินสับแปลง: เริ่มนับจากวันที่บังคับสิทธิได้ ไม่ใช่วันที่รู้ข้อผิดพลาด
จำเลยที่ 1 จดทะเบียนโอนขายกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดที่ 2257 เนื้อที่ 6 ไร่ 45 วา ซึ่งแบ่งแยกจากที่ดินโฉนดที่13 ให้แก่บิดาโจทก์โดยใส่ชื่อโจทก์ เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2491 ต่อมาโจทก์ทราบว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองเป็นที่ดินโฉนดที่ 13 ที่เหลือมีเนื้อที่ 5 ไร่ 78วา ไม่ใช่ที่ดินโฉนดที่ 2257 ส่วนที่ดินโฉนดที่2257 จำเลยที่ 1 เป็นผู้ครอบครองแล้วโอนขายให้แก่จำเลยที่ 2 ไป ดังนี้ แม้ที่ดินที่โจทก์ครอบครองเป็นที่ดินโฉนดเลขที่ 13ซึ่งไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257 ที่จำเลยจดทะเบียนโอนใส่ชื่อโจทก์เป็นเรื่องครอบครองที่ดินสับแปลงกันซึ่งโจทก์มีสิทธิฟ้องขอบังคับจำเลยก็ดีแต่โจทก์จะต้องจัดการฟ้องร้องบังคับจำเลยที่ 1 ให้ปฏิบัติตามสัญญาภายใน 10 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
จำเลยจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2491 ฉะนั้น อายุความฟ้องร้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2491 เป็นต้นไป เพราะโจทก์อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้แล้วไม่ใช่นับแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2506 ซึ่งเป็นวันที่โจทก์รู้ว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257 แต่โจทก์เพิ่งมาฟ้องขอให้บังคับจำเลยเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2506 เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปี แล้วคดีโจทก์ขาดอายุความตามมาตรา 163
จำเลยจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2491 ฉะนั้น อายุความฟ้องร้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2491 เป็นต้นไป เพราะโจทก์อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้แล้วไม่ใช่นับแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2506 ซึ่งเป็นวันที่โจทก์รู้ว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257 แต่โจทก์เพิ่งมาฟ้องขอให้บังคับจำเลยเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2506 เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปี แล้วคดีโจทก์ขาดอายุความตามมาตรา 163
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 474/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความฟ้องร้องกรณีครอบครองที่ดินสับแปลง เริ่มนับแต่วันที่อาจบังคับสิทธิได้ ไม่ใช่วันที่รู้ข้อผิดพลาด
จำเลยที่ 1 จดทะเบียนโอนขายกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดที่ 2257เนื้อที่ 6 ไร่ 45 วา. ซึ่งแบ่งแยกจากที่ดินโฉนดที่13 ให้แก่บิดาโจทก์โดยใส่ชื่อโจทก์ เมื่อวันที่ 16มีนาคม 2491. ต่อมาโจทก์ทราบว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองเป็นที่ดินโฉนดที่ 13 ที่เหลือมีเนื้อที่ 5 ไร่ 78วา. ไม่ใช่ที่ดินโฉนดที่ 2257. ส่วนที่ดินโฉนดที่2257 จำเลยที่ 1 เป็นผู้ครอบครองแล้วโอนขายให้แก่จำเลยที่ 2 ไป. ดังนี้ แม้ที่ดินที่โจทก์ครอบครองเป็นที่ดินโฉนดเลขที่ 13 ซึ่งไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257. ที่จำเลยจดทะเบียนโอนใส่ชื่อโจทก์เป็นเรื่องครอบครองที่ดินสับแปลงกัน. ซึ่งโจทก์มีสิทธิฟ้องขอบังคับจำเลยก็ดี. แต่โจทก์จะต้องจัดการฟ้องร้องบังคับจำเลยที่ 1 ให้ปฏิบัติตามสัญญาภายใน 10 ปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164.
จำเลยจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2491. ฉะนั้น อายุความฟ้องร้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2491 เป็นต้นไป เพราะโจทก์อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้แล้ว. ไม่ใช่นับแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2506. ซึ่งเป็นวันที่โจทก์รู้ว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257. แต่โจทก์เพิ่งมาฟ้องขอให้บังคับจำเลยเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน2506 เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปี แล้ว. คดีโจทก์ขาดอายุความตามมาตรา 163.
จำเลยจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และมอบที่ดินให้โจทก์ครอบครองตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2491. ฉะนั้น อายุความฟ้องร้องเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2491 เป็นต้นไป เพราะโจทก์อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้แล้ว. ไม่ใช่นับแต่วันที่ 14 ตุลาคม 2506. ซึ่งเป็นวันที่โจทก์รู้ว่าที่ดินที่โจทก์ครอบครองไม่ใช่ที่ดินโฉนดเลขที่ 2257. แต่โจทก์เพิ่งมาฟ้องขอให้บังคับจำเลยเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน2506 เป็นเวลาเกินกว่า 10 ปี แล้ว. คดีโจทก์ขาดอายุความตามมาตรา 163.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 367/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค้ำประกัน, ความรับผิดของผู้ค้ำประกันร่วม, การปลดหนี้เฉพาะส่วนไม่กระทบความรับผิดของผู้อื่น
ค้ำประกัน ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ว่ามีกำหนดอายุความเท่าใด จึงมีกำหนดอายุความสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่ 1 อีกอัตราหนึ่ง ดังนี้ หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้ แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้น ก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่ เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิง การปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้ หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่ มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่ 1 อีกอัตราหนึ่ง ดังนี้ หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้ แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้น ก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่ เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิง การปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้ หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่ มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 367/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค้ำประกัน, ความรับผิดของผู้ค้ำประกันร่วม, การปลดหนี้เฉพาะส่วนไม่กระทบความรับผิดของผู้ค้ำประกันอื่น
ค้ำประกัน ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ว่ามีกำหนดอายุความเท่าใด. จึงมีกำหนดอายุความสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164.
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม.
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง. ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่1 อีกอัตราหนึ่ง. ดังนี้ หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่.
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน. จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้. แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้น. ก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่.เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิง. การปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น.
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้. หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่. มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน.
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม.
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมีจำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง. ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่1 อีกอัตราหนึ่ง. ดังนี้ หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่.
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน. จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้. แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้น. ก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่.เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิง. การปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น.
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้. หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่. มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 367/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความค้ำประกัน - ความรับผิดของผู้ค้ำประกันร่วม - การปลดหนี้เฉพาะบางส่วนไม่กระทบความรับผิดของผู้อื่น
ค้ำประกัน ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ว่ามีกำหนดอายุความเท่าใดจึงมีกำหนดอายุความสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 164
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมี
จำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่1 อีกอัตราหนึ่งดังนี้หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้ แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้นก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิงการปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
การบรรยายฟ้องที่ไม่เคลือบคลุม
จำเลยที่ 1 ทำสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารโจทก์โดยมี
จำเลยที่ 2 เป็นผู้ค้ำประกันหนี้อัตราหนึ่ง ต่อมาจำเลยที่ 3 ได้เข้าค้ำประกันการเบิกเงินเกินบัญชีของจำเลยที่1 อีกอัตราหนึ่งดังนี้หาทำให้จำเลยที่ 2 พ้นความรับผิดต่อโจทก์ไม่
จำเลยที่ 2 ที่ 3 มีความรับผิดต่อโจทก์ในฐานะผู้ค้ำประกันการที่จำเลยที่ 1 เบิกเงินเกินบัญชีอันเป็นบัญชีเดียวกัน จำเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดอยู่ตามจำนวนที่จำเลยที่ 1 เป็นลูกหนี้ภายในจำนวนที่จำเลยที่ 2 และที่ 3 ค้ำประกันไว้ แม้โจทก์ยอมรับการชำระหนี้จากจำเลยที่ 3 จำนวนหนึ่งและปลดหนี้ให้โดยการถอนฟ้องเฉพาะจำเลยที่ 3 เสียนั้นก็หาใช่เป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 จนถึงกับให้จำเลยที่ 2 หลุดพ้นความรับผิดไปด้วยไม่เพราะหนี้รายนี้ยังมิได้ชำระโดยสิ้นเชิงการปลดหนี้ดังกล่าวคงเป็นประโยชน์เพียงเท่าส่วนที่ได้ปลดไปเท่านั้น
ปัญหาว่าบริษัทจำเลยไม่มีวัตถุประสงค์ค้ำประกันหนี้หากไปประกันหนี้จะต้องรับผิดหรือไม่มิใช่ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1283/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความสิทธิเรียกร้องค่าจ้างทนาย และการเลิกสัญญาว่าจ้าง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (16) ที่ว่า "สิทธิเรียกร้องของบุคคลผู้เป็นคู่ความเรียกเอาเงินที่ได้จ่ายล่วงหน้าให้แก่ทนายความของตน มีกำหนดอายุความสองปี" นั้น มิได้หมายความเฉพาะคู่ความและทนายความในคดีที่ฟ้องร้องกันในศาลแล้วเท่านั้นแต่ทนายความรวมถึงคู่ความและทนายความที่มอบและรับเงินกันในฐานะคู่ความและทนายความก่อนฟ้องคดีในศาลด้วย
สิทธิเรียกร้องเงินที่คู่ความได้จ่ายให้ทนายความล่วงหน้าคืน จะมีขึ้นก็ต่อเมื่อมีการเลิกสัญญา กลับคืนฐานะเดิม การที่ทนายความมิได้จัดการฟ้องลูกหนี้ตามหน้าที่เป็นเวลา 3 ปีเศษ ยังไม่เป็นเหตุที่จะถือว่าได้มีการเลิกสัญญากันแล้ว
สิทธิเรียกร้องเงินที่คู่ความได้จ่ายให้ทนายความล่วงหน้าคืน จะมีขึ้นก็ต่อเมื่อมีการเลิกสัญญา กลับคืนฐานะเดิม การที่ทนายความมิได้จัดการฟ้องลูกหนี้ตามหน้าที่เป็นเวลา 3 ปีเศษ ยังไม่เป็นเหตุที่จะถือว่าได้มีการเลิกสัญญากันแล้ว
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1283/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความสิทธิเรียกร้องค่าจ้างทนาย และการเลิกสัญญาว่าจ้าง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165(16) ที่ว่า 'สิทธิเรียกร้องของบุคคลผู้เป็นคู่ความเรียกเอาเงินที่ได้จ่ายล่วงหน้าให้แก่ทนายความของตน มีกำหนดอายุความสองปี' นั้น มิได้หมายความเฉพาะคู่ความและทนายความในคดีที่ฟ้องร้องกันในศาลแล้วเท่านั้นแต่หมายความรวมถึงคู่ความและทนายความที่มอบและรับเงินกันในฐานะคู่ความและทนายความก่อนฟ้องคดีในศาลด้วย
สิทธิเรียกร้องเงินที่คู่ความได้จ่ายให้ทนายความล่วงหน้าคืน จะมีขึ้นก็ต่อเมื่อมีการเลิกสัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม การที่ทนายความมิได้จัดการฟ้องลูกหนี้ตามหน้าที่เป็นเวลา 3 ปีเศษ ยังไม่เป็นเหตุที่จะถือว่าได้มีการเลิกสัญญากันแล้ว
สิทธิเรียกร้องเงินที่คู่ความได้จ่ายให้ทนายความล่วงหน้าคืน จะมีขึ้นก็ต่อเมื่อมีการเลิกสัญญากลับคืนสู่ฐานะเดิม การที่ทนายความมิได้จัดการฟ้องลูกหนี้ตามหน้าที่เป็นเวลา 3 ปีเศษ ยังไม่เป็นเหตุที่จะถือว่าได้มีการเลิกสัญญากันแล้ว