พบผลลัพธ์ทั้งหมด 61 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2802/2523
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ข้อเสนอทางธุรกิจถูกปฏิเสธ: สิทธิเรียกร้องจากการประมูลเช่าไม่มีผลผูกพันเมื่อถูกปฏิเสธ
คำประกาศแจ้งความของจำเลยที่ให้มีการประมูลการเช่าสัมปทานโรงงานสุราแม่โขงบางยี่ขันเป็นเพียงคำเชื้อเชิญให้ผู้สนใจทำคำเสนอขึ้นมา หนังสือของโจทก์ที่ขอเข้าประกวดราคาด้วย จัดว่าเป็นคำเสนอ เมื่อคำเสนอดังกล่าวถูกจำเลยบอกปัดไปยังโจทก์ผู้เสนอแล้ว คำเสนอนั้นเป็นอันสิ้นความผูกพัน โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องจำเลยเพื่อขอให้ศาลพิพากษาว่าคำสั่งของจำเลยที่ให้บริษัทสุรามหาชน จำกัด เป็นผู้เช่าโรงงานสุราแม่โขงบางยี่ขันเป็นโมฆะและบังคับจำเลยรับเรื่องราวของโจทก์ไว้พิจารณา
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1352/2520
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การบอกเลิกสัญญาซื้อขายและการเสนอสัญญาใหม่: สิทธิและผลผูกพัน
โจทก์จำเลยทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ต่อมาโจทก์มีหนังสือบอกเลิกสัญญาและจำเลยได้มีหนังสือตอบรับการบอกเลิกสัญญาดังกล่าว เมื่อมีการบอกเลิกสัญญา โจทก์จำเลยก็กลับคืนสู่ฐานะเดิม ดังนั้น การกระทำใด ๆ ของโจทก์จำเลยเกี่ยวกับสัญญานี้ในเวลาต่อมา จึงเป็นเพียงคำเสนอขึ้นใหม่ เมื่อไม่มีการสนองตอบ ย่อมไม่ก่อให้เกิดผลแต่อย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1352/2520 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
บอกเลิกสัญญาซื้อขายแล้ว คำเสนอใหม่ไม่ผูกพัน สิทธิเรียกร้องระงับ
โจทก์จำเลยทำสัญญาจะซื้อขายที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ต่อมาโจทก์มีหนังสือบอกเลิกสัญญาและจำเลยได้มีหนังสือตอบรับการบอกเลิกสัญญาดังกล่าว เมื่อมีการบอกเลิกสัญญา โจทก์จำเลยก็กลับคืนสู่ฐานะเดิม ดังนั้น การกระทำใด ๆ ของโจทก์จำเลยเกี่ยวกับสัญญานี้ในเวลาต่อมา จึงเป็นเพียงคำเสนอขึ้นใหม่ เมื่อไม่มีการสนองตอบ ย่อไม่ก่อให้เกิดผลแต่อย่างใด
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2097/2519
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าซื้อที่ดินและข้อตกลงการคืนเงินเมื่อราคาขายต่ำกว่าที่ตกลง การปฏิเสธทำสัญญาใหม่ทำให้สิทธิเรียกร้องเงินคืนสิ้นสุด
โจทก์เช่าที่ดินของ น. เพื่อปลูกสร้างอาคารเก็บผลประโยชน์ โดยได้ชำระค่าตอบแทนให้ 180,000 บาท ต่อมาโจทก์และ น. ตกลงกันใหม่ให้ น. ขายที่ดินนั้นได้ โดยมีข้อสัญญาว่า ถ้า น. ขายที่ดินได้ตารางวาละ 5,000 บาท หรือกว่านั้น น. จะคืนเงินให้โจทก์ 150,000 บาท แต่ถ้าขายได้ต่ำกว่าตารางวาละ 5,000 บาท โจทก์กับ น. จะมาตกลงกันใหม่ ปรากฏว่า น. ขายที่ดินได้ต่ำกว่าตารางวาละ 5,000 บาท ครั้นโจทก์ไปพบ น. น. ปฏิเสธที่จะทำความตกลงใหม่กับโจทก์และท้าให้โจทก์ฟ้อง ดังนี้ถือว่า น. ไม่ยอมทำความตกลงกับโจทก์ใหม่และไม่ยอมคืนเงินให้โจทก์แล้ว โจทก์จึงไม่มีสิทธิ์ที่จะเรียกเงินคืน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2110/2517 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงสัญญาจะซื้อขายที่ดิน: การเสนอและสนองที่นำไปสู่การซื้อขายเนื้อที่น้อยลง
การที่ศาลชั้นต้นกำหนดชั้นชี้สองสถานว่าจำเลยตกลงขายที่ดินให้โจทก์กี่ไร่เป็นเงินเท่าใด มีความหมายเพียงไร นั้นเป็นปัญหาข้อกฎหมาย
ฟ้องกล่าวว่า จำเลยตกลงขายที่ดินมีโฉนดให้โจทก์ทั้งแปลงเนื้อที่ 4 ไร่ จำเลยผิดสัญญาจะแบ่งขายให้เพียง 3 ไร่ จำเลยให้การว่า ไม่ได้ตกลงขายที่ดินทั้งแปลงเพราะโจทก์จำเลยตกลงกันใหม่เปลี่ยนแปลงเป็นว่า ตกลงซื้อขายกัน 3 ไร่ ดังนี้ การที่ศาลชั้นต้นกำหนดประเด็นว่าจำเลยตกลงขายที่ดินให้โจทก์กี่ไร่ ย่อมครอบคลุมไปถึงข้อต่อสู้ของจำเลยอยู่แล้ว ไม่จำเป็นต้องแยกแยะประเด็นออกไปอีกว่า ตกลงกันใหม่จริงหรือไม่ ข้อตกลงใหม่นั้นถ้าเกิดเป็นปัญหาดังเช่นที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา361 บัญญัติไว้ คำเสนอและคำสนองเช่นนั้น ย่อมมีผลเปลี่ยนแปลงสัญญาจะซื้อขายที่ดินเดิม จำเลยย่อมมีสิทธินำสืบได้ตามข้อต่อสู้ เพราะเป็นการนำสืบตรงตามประเด็นแล้ว
จำเลยมีจดหมายถึงโจทก์ 2 ฉบับ มีข้อความสำคัญว่าจะขายที่ดินให้โจทก์เพียง 3 ไร่ จะเอาเหลือไว้ 1 ไร่ฯลฯ ดังนี้ ถือได้ว่าเป็นคำเสนอของจำเลยเพื่อเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ที่ตกลงซื้อขายกันตามสัญญาจะซื้อขายที่ดินทั้งแปลงซึ่งมีเนื้อที่ 4 ไร่ ในราคา400,000 บาทอีกหนึ่งปีเศษต่อมา โจทก์มีจดหมายตอบจำเลยมีใจความสำคัญว่า ได้รับจดหมายของจำเลยแล้ว เรื่องการแบ่งที่โจทก์ก็อยากจะให้เสร็จและกล่าวถึงการขอโฉนดไปทำเรื่องโอนใหม่ขอให้เห็นความจำเป็นของโจทก์ และว่าค่าที่ดินโจทก์ยังค้างอยู่อีก1,000 บาทจึงจะครบ 300,000 บาท จดหมายของโจทก์ฉบับนี้พออนุมานได้ว่าเป็นคำสนองของโจทก์ตอบรับคำเสนอไปถึงจำเลยทำให้เกิดเป็นสัญญาขึ้นแล้วโดยยอมให้จำเลยกันเนื้อที่ในโฉนดเอาไว้ 1 ไร่ คงตกลงซื้อขายกันเพียง 3 ไร่ อันมีผลเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ตามสัญญาจะซื้อขายที่ดินเดิม จากจำนวน 4 ไร่ เป็นการตกลงซื้อขายที่ดินเพียง 3 ไร่ จำเลยจึงมีสิทธิโอนขายที่น้อยกว่าที่ตกลงทำสัญญากันครั้งแรก โจทก์จะขอบังคับให้จำเลยโอนขายที่ดินทั้งแปลงหาได้ไม่
ฟ้องกล่าวว่า จำเลยตกลงขายที่ดินมีโฉนดให้โจทก์ทั้งแปลงเนื้อที่ 4 ไร่ จำเลยผิดสัญญาจะแบ่งขายให้เพียง 3 ไร่ จำเลยให้การว่า ไม่ได้ตกลงขายที่ดินทั้งแปลงเพราะโจทก์จำเลยตกลงกันใหม่เปลี่ยนแปลงเป็นว่า ตกลงซื้อขายกัน 3 ไร่ ดังนี้ การที่ศาลชั้นต้นกำหนดประเด็นว่าจำเลยตกลงขายที่ดินให้โจทก์กี่ไร่ ย่อมครอบคลุมไปถึงข้อต่อสู้ของจำเลยอยู่แล้ว ไม่จำเป็นต้องแยกแยะประเด็นออกไปอีกว่า ตกลงกันใหม่จริงหรือไม่ ข้อตกลงใหม่นั้นถ้าเกิดเป็นปัญหาดังเช่นที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา361 บัญญัติไว้ คำเสนอและคำสนองเช่นนั้น ย่อมมีผลเปลี่ยนแปลงสัญญาจะซื้อขายที่ดินเดิม จำเลยย่อมมีสิทธินำสืบได้ตามข้อต่อสู้ เพราะเป็นการนำสืบตรงตามประเด็นแล้ว
จำเลยมีจดหมายถึงโจทก์ 2 ฉบับ มีข้อความสำคัญว่าจะขายที่ดินให้โจทก์เพียง 3 ไร่ จะเอาเหลือไว้ 1 ไร่ฯลฯ ดังนี้ ถือได้ว่าเป็นคำเสนอของจำเลยเพื่อเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ที่ตกลงซื้อขายกันตามสัญญาจะซื้อขายที่ดินทั้งแปลงซึ่งมีเนื้อที่ 4 ไร่ ในราคา400,000 บาทอีกหนึ่งปีเศษต่อมา โจทก์มีจดหมายตอบจำเลยมีใจความสำคัญว่า ได้รับจดหมายของจำเลยแล้ว เรื่องการแบ่งที่โจทก์ก็อยากจะให้เสร็จและกล่าวถึงการขอโฉนดไปทำเรื่องโอนใหม่ขอให้เห็นความจำเป็นของโจทก์ และว่าค่าที่ดินโจทก์ยังค้างอยู่อีก1,000 บาทจึงจะครบ 300,000 บาท จดหมายของโจทก์ฉบับนี้พออนุมานได้ว่าเป็นคำสนองของโจทก์ตอบรับคำเสนอไปถึงจำเลยทำให้เกิดเป็นสัญญาขึ้นแล้วโดยยอมให้จำเลยกันเนื้อที่ในโฉนดเอาไว้ 1 ไร่ คงตกลงซื้อขายกันเพียง 3 ไร่ อันมีผลเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ตามสัญญาจะซื้อขายที่ดินเดิม จากจำนวน 4 ไร่ เป็นการตกลงซื้อขายที่ดินเพียง 3 ไร่ จำเลยจึงมีสิทธิโอนขายที่น้อยกว่าที่ตกลงทำสัญญากันครั้งแรก โจทก์จะขอบังคับให้จำเลยโอนขายที่ดินทั้งแปลงหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2110/2517
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงสัญญาจะซื้อขายที่ดิน: ผลของการเสนอและสนองที่แตกต่างจากสัญญาเดิม
การที่ศาลชั้นต้นกำหนดชั้นชี้สองสถานว่าจำเลยตกลงขายที่ดินให้โจทก์กี่ไร่เป็นเงินเท่าใด มีความหมายเพียงไร นั้นเป็นปัญหาข้อกฎหมาย
ฟ้องกล่าวว่า จำเลยตกลงขายที่ดินมีโฉนดให้โจทก์ทั้งแปลง เนื้อที่ 4 ไร่ จำเลยผิดสัญญาจะแบ่งขายให้เพียง3 ไร่ จำเลยให้การว่า ไม่ได้ตกลงขายที่ดินทั้งแปลงเพราะโจทก์จำเลยตกลงกันใหม่ เปลี่ยนแปลงเป็นว่า ตกลงซื้อขายกัน 3 ไร่ ดังนี้ การที่ศาลชั้นต้นกำหนดประเด็นว่าจำเลยตกลงขายที่ดินให้โจทก์กี่ไร่ ย่อมครอบคลุมไปถึงข้อต่อสู้ของจำเลยอยู่แล้ว. ไม่จำเป็นต้องแยกแยะประเด็นออกไปอีกว่า ตกลงกันใหม่จริงหรือไม่. ข้อตกลงใหม่นั้นถ้าเกิดเป็นปัญหาดังเช่นที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา361 บัญญัติไว้ คำเสนอและคำสนองเช่นนั้น ย่อมมีผลเปลี่ยนแปลงสัญญาจะซื้อขายที่ดินเดิม จำเลยย่อมมีสิทธินำสืบได้ตามข้อต่อสู้ เพราะเป็นการนำสืบตรงตามประเด็นแล้ว
จำเลยมีจดหมายถึงโจทก์ 2 ฉบับ มีข้อความสำคัญว่า จะขายที่ดินให้โจทก์เพียง 3 ไร่ จะเอาเหลือไว้ 1 ไร่ฯลฯ ดังนี้ ถือได้ว่าเป็นคำเสนอของจำเลยเพื่อเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ที่ตกลงซื้อขายกันตามสัญญาจะซื้อขายที่ดินทั้งแปลงซึ่งมีเนื้อที่ 4 ไร่ ในราคา 400,000 บาทอีกหนึ่งปีเศษต่อมา โจทก์มีจดหมายตอบจำเลยมีใจความสำคัญว่า ได้รับจดหมายของจำเลยแล้ว เรื่องการแบ่งที่โจทก์ก็อยากจะให้เสร็จและกล่าวถึงการขอโฉนดไปทำเรื่องโอนใหม่ขอให้เห็นความจำเป็นของโจทก์ และว่าค่าที่ดินโจทก์ยังค้างอยู่อีก 1,000 บาทจึงจะครบ 300,000 บาท จดหมายของโจทก์ฉบับนี้พออนุมานได้ว่าเป็นคำสนองของโจทก์ตอบรับคำเสนอไปถึงจำเลย ทำให้เกิดเป็นสัญญาขึ้นแล้วโดยยอมให้จำเลยกันเนื้อที่ในโฉนดเอาไว้ 1 ไร่ คงตกลงซื้อขายกันเพียง 3 ไร่ อันมีผลเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ตามสัญญาจะซื้อขายที่ดินเดิม จากจำนวน 4 ไร่ เป็นการตกลงซื้อขายที่ดินเพียง 3 ไร่ จำเลยจึงมีสิทธิโอนขายที่น้อยกว่าที่ตกลงทำสัญญากันครั้งแรก โจทก์จะขอบังคับให้จำเลยโอนขายที่ดินทั้งแปลงหาได้ไม่
ฟ้องกล่าวว่า จำเลยตกลงขายที่ดินมีโฉนดให้โจทก์ทั้งแปลง เนื้อที่ 4 ไร่ จำเลยผิดสัญญาจะแบ่งขายให้เพียง3 ไร่ จำเลยให้การว่า ไม่ได้ตกลงขายที่ดินทั้งแปลงเพราะโจทก์จำเลยตกลงกันใหม่ เปลี่ยนแปลงเป็นว่า ตกลงซื้อขายกัน 3 ไร่ ดังนี้ การที่ศาลชั้นต้นกำหนดประเด็นว่าจำเลยตกลงขายที่ดินให้โจทก์กี่ไร่ ย่อมครอบคลุมไปถึงข้อต่อสู้ของจำเลยอยู่แล้ว. ไม่จำเป็นต้องแยกแยะประเด็นออกไปอีกว่า ตกลงกันใหม่จริงหรือไม่. ข้อตกลงใหม่นั้นถ้าเกิดเป็นปัญหาดังเช่นที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา361 บัญญัติไว้ คำเสนอและคำสนองเช่นนั้น ย่อมมีผลเปลี่ยนแปลงสัญญาจะซื้อขายที่ดินเดิม จำเลยย่อมมีสิทธินำสืบได้ตามข้อต่อสู้ เพราะเป็นการนำสืบตรงตามประเด็นแล้ว
จำเลยมีจดหมายถึงโจทก์ 2 ฉบับ มีข้อความสำคัญว่า จะขายที่ดินให้โจทก์เพียง 3 ไร่ จะเอาเหลือไว้ 1 ไร่ฯลฯ ดังนี้ ถือได้ว่าเป็นคำเสนอของจำเลยเพื่อเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ที่ตกลงซื้อขายกันตามสัญญาจะซื้อขายที่ดินทั้งแปลงซึ่งมีเนื้อที่ 4 ไร่ ในราคา 400,000 บาทอีกหนึ่งปีเศษต่อมา โจทก์มีจดหมายตอบจำเลยมีใจความสำคัญว่า ได้รับจดหมายของจำเลยแล้ว เรื่องการแบ่งที่โจทก์ก็อยากจะให้เสร็จและกล่าวถึงการขอโฉนดไปทำเรื่องโอนใหม่ขอให้เห็นความจำเป็นของโจทก์ และว่าค่าที่ดินโจทก์ยังค้างอยู่อีก 1,000 บาทจึงจะครบ 300,000 บาท จดหมายของโจทก์ฉบับนี้พออนุมานได้ว่าเป็นคำสนองของโจทก์ตอบรับคำเสนอไปถึงจำเลย ทำให้เกิดเป็นสัญญาขึ้นแล้วโดยยอมให้จำเลยกันเนื้อที่ในโฉนดเอาไว้ 1 ไร่ คงตกลงซื้อขายกันเพียง 3 ไร่ อันมีผลเปลี่ยนแปลงเนื้อที่ตามสัญญาจะซื้อขายที่ดินเดิม จากจำนวน 4 ไร่ เป็นการตกลงซื้อขายที่ดินเพียง 3 ไร่ จำเลยจึงมีสิทธิโอนขายที่น้อยกว่าที่ตกลงทำสัญญากันครั้งแรก โจทก์จะขอบังคับให้จำเลยโอนขายที่ดินทั้งแปลงหาได้ไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2639/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายยังไม่เกิดขึ้นเมื่อเงื่อนไขไม่ตกลงกัน และผู้เสนอขายเพิ่มราคา
โจทก์เสนอขายและติดตั้งเครื่องปรับอากาศแก่จำเลยจำเลยมีหนังสือถึงโจทก์แสดงความประสงค์จะทำสัญญากับโจทก์แต่โจทก์จะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ โดยโจทก์จะต้องยื่นแบบรูปเครื่องปรับอากาศและการติดตั้งพร้อมด้วยร่างสัญญาเพื่อให้จำเลยพิจารณาเห็นชอบเสียก่อน ถ้าโจทก์ปฏิบัติตามเงื่อนไขดังกล่าวได้จึงให้โจทก์ส่งคำสั่งไปยังตัวการผู้ขายเครื่องปรับอากาศ คำสนองของจำเลยดังกล่าว เป็นคำสนองอันมีข้อจำกัด ถือว่าเป็นคำบอกปัดไม่รับทั้งเป็นคำเสนอขึ้นใหม่ด้วยในตัว ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 359 วรรคสอง แต่โจทก์มิได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขของจำเลยแม้จำเลยเพียงฝ่ายเดียวได้แสดงไว้ว่า เงื่อนไขในสัญญาเป็นสารสำคัญอันจะต้องตกลงกันหมดทุกข้อ เมื่อโจทก์จำเลยยังไม่ตกลงกันหมดทุกข้อ จึงถือว่าโจทก์จำเลยยังมิได้มีสัญญาต่อกัน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 366
โจทก์ส่งแบบแปลนให้จำเลยเพื่อเพิ่มเติมคำเสนอของโจทก์ให้สมบูรณ์ เพื่อจำเลยจะได้พิจารณาสนองรับหรือไม่ แต่โจทก์กลับเสนอราคาเพิ่มสูงขึ้นจากที่จำเลยกำหนด และไม่ยอมลดให้จำเลยย่อมมีสิทธิไม่ซื้อ หรือไม่สนองรับได้
โจทก์ส่งแบบแปลนให้จำเลยเพื่อเพิ่มเติมคำเสนอของโจทก์ให้สมบูรณ์ เพื่อจำเลยจะได้พิจารณาสนองรับหรือไม่ แต่โจทก์กลับเสนอราคาเพิ่มสูงขึ้นจากที่จำเลยกำหนด และไม่ยอมลดให้จำเลยย่อมมีสิทธิไม่ซื้อ หรือไม่สนองรับได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2639/2515
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาซื้อขายเครื่องปรับอากาศไม่สมบูรณ์ - เงื่อนไขสารสำคัญ - การเสนอราคาใหม่
โจทก์เสนอขายและติดตั้งเครื่องปรับอากาศแก่จำเลย จำเลยมีหนังสือถึงโจทก์แสดงความประสงค์จะทำสัญญากับโจทก์ แต่โจทก์จะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ โดยโจทก์จะต้องยื่นแบบรูปเครื่องปรับอากาศและการติดตั้งพร้อมด้วยร่างสัญญาเพื่อให้จำเลยพิจารณาเห็นชอบเสียก่อน ถ้าโจทก์ปฏิบัติตามเงื่อนไขดังกล่าวได้ จึงให้โจทก์ส่งคำสั่งไปยังตัวการผู้ขายเครื่องปรับอากาศ คำสนองของจำเลยดังกล่าวเป็นคำสนองอันมีข้อจำกัด ถือว่าเป็นคำบอกปัดไม่รับทั้งเป็นคำเสนอขึ้นใหม่ด้วยในตัว ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 359 วรรคสอง แต่โจทก์มิได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขของจำเลย แม้จำเลยเพียงฝ่ายเดียวได้แสดงไว้ว่า เงื่อนไขในสัญญาเป็นสารสำคัญอันจะต้องตกลงกันหมดทุกข้อ เมื่อโจทก์จำเลยยังไม่ตกลงกันหมดทุกข้อ จึงถือว่าโจทก์จำเลยยังมิได้มีสัญญาต่อกัน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 366
โจทก์ส่งแบบแปลนให้จำเลยเพื่อเพิ่มเติมคำเสนอของโจทก์ให้สมบูรณ์ เพื่อจำเลยจะได้พิจารณาสนองรับหรือไม่ แต่โจทก์กลับเสนอราคาเพิ่มสูงขึ้นจากที่จำเลยกำหนด และไม่ยอมลดให้จำเลยย่อมมีสิทธิไม่ซื้อ หรือไม่สนองรับได้
โจทก์ส่งแบบแปลนให้จำเลยเพื่อเพิ่มเติมคำเสนอของโจทก์ให้สมบูรณ์ เพื่อจำเลยจะได้พิจารณาสนองรับหรือไม่ แต่โจทก์กลับเสนอราคาเพิ่มสูงขึ้นจากที่จำเลยกำหนด และไม่ยอมลดให้จำเลยย่อมมีสิทธิไม่ซื้อ หรือไม่สนองรับได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1051/2514 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าที่ดินและคำมั่นต่อสัญญา สัญญาต่างตอบแทนต้องมีเจตนาและผลประโยชน์ร่วมกัน
สัญญาเช่าที่ดินเพื่อปลูกสร้างห้องแถวมีกำหนดระยะเวลาสามปีและผู้ให้เช่าให้คำมั่นไว้ว่า จะยอมให้ผู้เช่าได้เช่าที่ดินนั้นต่อไปอีกครั้งละสามปีจนกว่าห้องแถวจะถูกทำลายหรือเสื่อมสภาพ หากผู้เช่าไม่แสดงความจำนงสนองรับคำมั่นโดยแจ้งขอเช่าที่ดินตามคำมั่นต่อไปเสียก่อนสัญญาเช่าสิ้นอายุ คำมั่นนั้นย่อมสิ้นผล
การที่ผู้เช่ายอมให้เงินกินเปล่าแก่ผู้ให้เช่าในการทำสัญญาเช่าที่ดินซึ่งมีกำหนดระยะเวลาสามปี ไม่ก่อให้เกิดความผูกพันต่อกันเป็นสัญญาต่างตอบแทนพิเศษนอกเหนือไปจากสัญญาเช่าธรรมดา ผู้เช่าจะอ้างว่ามีสิทธิเช่าที่ดินเกินกว่ากำหนดเวลาที่ระบุไว้ในสัญญาเช่าหาได้ไม่
การที่ผู้เช่าถมที่ดินที่เช่าเพื่อปลูกสร้างห้องแถว เป็นการถมเพื่อประโยชน์ในการค้าของผู้เช่า มิใช่เพื่อประโยชน์แก่ผู้ให้เช่า จึงไม่เป็นสัญญาต่างตอบแทน
การที่ผู้เช่ายอมให้เงินกินเปล่าแก่ผู้ให้เช่าในการทำสัญญาเช่าที่ดินซึ่งมีกำหนดระยะเวลาสามปี ไม่ก่อให้เกิดความผูกพันต่อกันเป็นสัญญาต่างตอบแทนพิเศษนอกเหนือไปจากสัญญาเช่าธรรมดา ผู้เช่าจะอ้างว่ามีสิทธิเช่าที่ดินเกินกว่ากำหนดเวลาที่ระบุไว้ในสัญญาเช่าหาได้ไม่
การที่ผู้เช่าถมที่ดินที่เช่าเพื่อปลูกสร้างห้องแถว เป็นการถมเพื่อประโยชน์ในการค้าของผู้เช่า มิใช่เพื่อประโยชน์แก่ผู้ให้เช่า จึงไม่เป็นสัญญาต่างตอบแทน
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1051/2514
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
สัญญาเช่าที่ดิน: คำมั่นต่อสัญญาและสัญญาต่างตอบแทนที่ไม่สมบูรณ์
สัญญาเช่าที่ดินเพื่อปลูกสร้างห้องแถวมีกำหนดระยะเวลาสามปีและผู้ให้เช่าให้คำมั่นไว้ว่า จะยอมให้ผู้เช่าได้เช่าที่ดินนั้นต่อไปอีกครั้งละสามปีจนกว่าห้องแถวจะถูกทำลายหรือเสื่อมสภาพ หากผู้เช่าไม่แสดงความจำนงสนองรับคำมั่นโดยแจ้งขอเช่าที่ดินตามคำมั่นต่อไปเสียก่อนสัญญาเช่าสิ้นอายุ คำมั่นนั้นย่อมสิ้นผล
การที่ผู้เช่ายอมให้เงินกินเปล่าแก่ผู้ให้เช่าในการทำสัญญาเช่าที่ดินซึ่งมีกำหนดระยะเวลาสามปี ไม่ก่อให้เกิดความผูกพันต่อกันเป็นสัญญาต่างตอบแทนพิเศษนอกเหนือไปจากสัญญาเช่าธรรมดา ผู้เช่าจะอ้างว่ามีสิทธิเช่าที่ดินเกินกว่ากำหนดเวลาที่ระบุไว้ในสัญญาเช่าหาได้ไม่
การที่ผู้เช่าถมที่ดินที่เช่าเพื่อปลูกสร้างห้องแถว เป็นการถมเพื่อประโยชน์ในการค้าของผู้เช่า มิใช่เพื่อประโยชน์แก่ผู้ให้เช่า จึงไม่เป็นสัญญาต่างตอบแทน
การที่ผู้เช่ายอมให้เงินกินเปล่าแก่ผู้ให้เช่าในการทำสัญญาเช่าที่ดินซึ่งมีกำหนดระยะเวลาสามปี ไม่ก่อให้เกิดความผูกพันต่อกันเป็นสัญญาต่างตอบแทนพิเศษนอกเหนือไปจากสัญญาเช่าธรรมดา ผู้เช่าจะอ้างว่ามีสิทธิเช่าที่ดินเกินกว่ากำหนดเวลาที่ระบุไว้ในสัญญาเช่าหาได้ไม่
การที่ผู้เช่าถมที่ดินที่เช่าเพื่อปลูกสร้างห้องแถว เป็นการถมเพื่อประโยชน์ในการค้าของผู้เช่า มิใช่เพื่อประโยชน์แก่ผู้ให้เช่า จึงไม่เป็นสัญญาต่างตอบแทน