พบผลลัพธ์ทั้งหมด 225 รายการ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 949/2515 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ขอบเขตคำพิพากษาชั้นอุทธรณ์เฉพาะคู่ความที่อุทธรณ์ในคดีผู้จัดการมรดก
ในคดีร้องขอเป็นผู้จัดการมรดก ซึ่งมีผู้คัดค้านหลายคน และผู้คัดค้านเหล่านั้นต่างร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกด้วย ผู้ร้องขอถอนคำร้องไม่ติดใจดำเนินคดี ศาลชั้นต้นสั่งอนุญาตให้ถอนคำร้องได้ และสั่งจำหน่ายคดีทั้งหมด ให้ผู้คัดค้านไปดำเนินคดีใหม่ เมื่อผู้คัดค้านคนหนึ่งอุทธรณ์ขอให้ศาลชั้นต้นไต่สวนคำร้องของคนต่อไป หากศาลอุทธรณ์เห็นว่าคำสั่งศาลชั้นต้นยังไม่ถูกต้อง ก็ชอบที่จะพิพากษายกคำสั่งศาลชั้นต้น ให้ดำเนินการไต่สวนคำร้องเฉพาะของผู้คัดค้านที่อุทธรณ์ จะให้ดำเนินคดีไต่สวนคำร้องของผู้คัดค้านอื่น ซึ่งมิได้อุทธรณ์ด้วยหาได้ไม่ เพราะกรณีไม่เกี่ยวด้วยการชำระหนี้อันไม่อาจแบ่งแยกได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1987/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจทำพินัยกรรมเกี่ยวกับสินเดิมของคู่สมรส: ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าสินเดิมเป็นของสามีแต่ผู้เดียว จึงมีอำนาจทำพินัยกรรมได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1625 บัญญัติให้แบ่งทรัพย์ของคู่สมรสที่ตายอย่างหย่า และมาตรา 1513(1)(2) ก็ให้คืนสินเดิมแก่คู่สมรส หากขาดไปก็ยังต้องเอาสินสมรสใช้สินเดิมเสียก่อน ด้วยเหตุนี้ ทรัพย์อันได้ความว่าเป็นสินเดิมของ ช. จึงเป็นของ ช. ผู้เดียว โดยโจทก์หามีส่วนเป็นเจ้าของอยู่ด้วยไม่ ช. ย่อมมีอำนาจจัดการกับทรัพย์ของตนโดยทำพินัยกรรมยกให้แก่พวกจำเลยไปทั้งหมดได้ เพราะไม่เป็นการเกินส่วนของตนตามมาตรา 1477
โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งห้า ขอให้ศาลสั่งว่าทรัพย์สินที่ ช. ทำพินัยกรรมยกให้จำเลยทั้งห้าเป็นสินบริคณห์ของโจทก์กึ่งหนึ่ง ให้เพิกถอนพินัยกรรมในส่วนที่เกี่ยวกับสินบริคณห์ของโจทก์ จำเลยที่ 1, 4 และ 5 มิได้ต่อสู้คดีและขาดนัดพิจารณา ดังนี้ มูลความแห่งคดีเป็นการชำระหนี้ซึ่งแบ่งแยกจากกันมิได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 59 ดังนี้ เมื่อศาลพิพากษาให้ยกฟ้องโจทก์ในทรัพย์ส่วนที่เป็นสินเดิมของ ช. ย่อมไม่พิพากษาแบ่งให้โจทก์ตามคำให้การยินยอมของจำเลยที่ 1, 4 และ 5
โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งห้า ขอให้ศาลสั่งว่าทรัพย์สินที่ ช. ทำพินัยกรรมยกให้จำเลยทั้งห้าเป็นสินบริคณห์ของโจทก์กึ่งหนึ่ง ให้เพิกถอนพินัยกรรมในส่วนที่เกี่ยวกับสินบริคณห์ของโจทก์ จำเลยที่ 1, 4 และ 5 มิได้ต่อสู้คดีและขาดนัดพิจารณา ดังนี้ มูลความแห่งคดีเป็นการชำระหนี้ซึ่งแบ่งแยกจากกันมิได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 59 ดังนี้ เมื่อศาลพิพากษาให้ยกฟ้องโจทก์ในทรัพย์ส่วนที่เป็นสินเดิมของ ช. ย่อมไม่พิพากษาแบ่งให้โจทก์ตามคำให้การยินยอมของจำเลยที่ 1, 4 และ 5
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1987/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจทำพินัยกรรมของคู่สมรส: สินเดิม vs. สินสมรส และสิทธิของคู่สมรสเมื่อคู่สมรสเสียชีวิต
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1625 บัญญัติให้แบ่งทรัพย์ของคู่สมรสที่ตายอย่างหย่า และมาตรา 1513(1)(2)ก็ให้คืนสินเดิมแก่คู่สมรส หากขาดไปก็ยังต้องเอาสินสมรสใช้สินเดิมเสียก่อน ด้วยเหตุนี้ ทรัพย์อันได้ความว่าเป็นสินเดิมของ ช.จึงเป็นของช. ผู้เดียว โดยโจทก์หามีส่วนเป็นเจ้าของอยู่ด้วยไม่ ช. ย่อมมีอำนาจจัดการกับทรัพย์ของตนโดยทำพินัยกรรมยกให้แก่พวกจำเลยไปทั้งหมดได้ เพราะไม่เป็นการเกินส่วนของตนตามมาตรา 1477
โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งห้า ขอให้ศาลสั่งว่าทรัพย์สินที่ช. ทำพินัยกรรมยกให้จำเลยทั้งห้าเป็นสินบริคณห์ของโจทก์กึ่งหนึ่ง ให้เพิกถอนพินัยกรรมในส่วนที่เกี่ยวกับสินบริคณห์ของโจทก์ จำเลยที่ 1,4 และ 5 มิได้ต่อสู้คดีและขาดนัดพิจารณา ดังนี้ มูลความแห่งคดีเป็นการชำระหนี้ซึ่งแบ่งแยกจากกันมิได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 59 ดังนี้ เมื่อศาลพิพากษาให้ยกฟ้องโจทก์ในทรัพย์ส่วนที่เป็นสินเดิมของ ช.ย่อมไม่พิพากษาแบ่งให้โจทก์ ตามคำให้การยินยอมของจำเลยที่ 1,4และ 5
โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งห้า ขอให้ศาลสั่งว่าทรัพย์สินที่ช. ทำพินัยกรรมยกให้จำเลยทั้งห้าเป็นสินบริคณห์ของโจทก์กึ่งหนึ่ง ให้เพิกถอนพินัยกรรมในส่วนที่เกี่ยวกับสินบริคณห์ของโจทก์ จำเลยที่ 1,4 และ 5 มิได้ต่อสู้คดีและขาดนัดพิจารณา ดังนี้ มูลความแห่งคดีเป็นการชำระหนี้ซึ่งแบ่งแยกจากกันมิได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 59 ดังนี้ เมื่อศาลพิพากษาให้ยกฟ้องโจทก์ในทรัพย์ส่วนที่เป็นสินเดิมของ ช.ย่อมไม่พิพากษาแบ่งให้โจทก์ ตามคำให้การยินยอมของจำเลยที่ 1,4และ 5
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1987/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อำนาจทำพินัยกรรมยกทรัพย์สิน: การแบ่งสินเดิมและสินสมรสเมื่อคู่สมรสถึงแก่กรรม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1625 บัญญัติให้แบ่งทรัพย์ของคู่สมรสที่ตายอย่างหย่า. และมาตรา 1513(1)(2) ก็ให้คืนสินเดิมแก่คู่สมรส หากขาดไปก็ยังต้องเอาสินสมรสใช้สินเดิมเสียก่อน. ด้วยเหตุนี้ ทรัพย์อันได้ความว่าเป็นสินเดิมของ ช.จึงเป็นของช. ผู้เดียว โดยโจทก์หามีส่วนเป็นเจ้าของอยู่ด้วยไม่. ช. ย่อมมีอำนาจจัดการกับทรัพย์ของตนโดยทำพินัยกรรมยกให้แก่พวกจำเลยไปทั้งหมดได้. เพราะไม่เป็นการเกินส่วนของตนตามมาตรา 1477.
โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งห้า ขอให้ศาลสั่งว่าทรัพย์สินที่ช. ทำพินัยกรรมยกให้จำเลยทั้งห้าเป็นสินบริคณห์ของโจทก์กึ่งหนึ่ง. ให้เพิกถอนพินัยกรรมในส่วนที่เกี่ยวกับสินบริคณห์ของโจทก์. จำเลยที่ 1,4 และ 5 มิได้ต่อสู้คดีและขาดนัดพิจารณา. ดังนี้ มูลความแห่งคดีเป็นการชำระหนี้ซึ่งแบ่งแยกจากกันมิได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 59. ดังนี้ เมื่อศาลพิพากษาให้ยกฟ้องโจทก์ในทรัพย์ส่วนที่เป็นสินเดิมของ ช.. ย่อมไม่พิพากษาแบ่งให้โจทก์.ตามคำให้การยินยอมของจำเลยที่ 1,4 และ 5.
โจทก์ฟ้องจำเลยทั้งห้า ขอให้ศาลสั่งว่าทรัพย์สินที่ช. ทำพินัยกรรมยกให้จำเลยทั้งห้าเป็นสินบริคณห์ของโจทก์กึ่งหนึ่ง. ให้เพิกถอนพินัยกรรมในส่วนที่เกี่ยวกับสินบริคณห์ของโจทก์. จำเลยที่ 1,4 และ 5 มิได้ต่อสู้คดีและขาดนัดพิจารณา. ดังนี้ มูลความแห่งคดีเป็นการชำระหนี้ซึ่งแบ่งแยกจากกันมิได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 59. ดังนี้ เมื่อศาลพิพากษาให้ยกฟ้องโจทก์ในทรัพย์ส่วนที่เป็นสินเดิมของ ช.. ย่อมไม่พิพากษาแบ่งให้โจทก์.ตามคำให้การยินยอมของจำเลยที่ 1,4 และ 5.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1525/2511 เวอร์ชัน 3 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
ทุนทรัพย์คดีแพ่งแต่ละโจทก์, ข้อจำกัดการฎีกา, การนำสืบพยานจำเลย
คดีที่โจทก์แต่ละคนต่างใช้สิทธิเฉพาะตัวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55 โจทก์แต่ละคนชอบที่จะเสนอคดีของตนต่อศาลโดยลำพัง ฉะนั้น แม้โจทก์จะฟ้องมาในคดีเดียวกัน ก็ต้องพิจารณาทุนทรัพย์ของคดีสำหรับโจทก์แต่ละคนแยกกัน เมื่อปรากฏว่าราคาทรัพย์สินที่โจทก์แต่ละคนเรียกร้องมีจำนวนไม่เกิน 5,000 บาท และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น โจทก์แต่ละคนจึงฎีกาในข้อเท็จจริงไม่ได้ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 22/2511)
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิมิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบหรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิมิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบหรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1525/2511 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาทุนทรัพย์ของโจทก์แต่ละคนในคดีที่ฟ้องร่วมกัน และสิทธิในการนำสืบพยานของจำเลย
คดีที่โจทก์แต่ละคนต่างใช้สิทธิเฉพาะตัวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55 โจทก์แต่ละคนชอบที่จะเสนอคดีของตนต่อศาลโดยลำพัง ฉะนั้น แม้โจทก์จะฟ้องมาในคดีเดียวกัน ก็ต้องพิจารณาทุนทรัพย์ของคดีสำหรับโจทก์แต่ละคนแยกกัน เมื่อปรากฏว่าราคาทรัพย์สินที่โจทก์แต่ละคนเรียกร้องมีจำนวนไม่เกิน 5,000 บาทและศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น โจทก์แต่ละคนจึงฎีกาในข้อเท็จจริงไม่ได้ (ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 22/2511)
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิ มิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบหรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิ มิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบหรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1525/2511
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การพิจารณาทุนทรัพย์ของคดีแต่ละโจทก์แยกกัน และการไม่มีผลเสียจากการไม่เบิกความของจำเลย
คดีที่โจทก์แต่ละคนต่างใช้สิทธิเฉพาะตัวตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55. โจทก์แต่ละคนชอบที่จะเสนอคดีของตนต่อศาลโดยลำพัง. ฉะนั้น แม้โจทก์จะฟ้องมาในคดีเดียวกัน ก็ต้องพิจารณาทุนทรัพย์ของคดีสำหรับโจทก์แต่ละคนแยกกัน. เมื่อปรากฏว่าราคาทรัพย์สินที่โจทก์แต่ละคนเรียกร้องมีจำนวนไม่เกิน 5,000 บาท.และศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น. โจทก์แต่ละคนจึงฎีกาในข้อเท็จจริงไม่ได้.(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 22/2511).
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน. ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิ.มิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบ.หรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้.
การที่จำเลยที่ 2 ไม่เข้าเบิกความเป็นพยาน. ไม่มีกฎหมายตัดสิทธิ.มิให้จำเลยที่ 2 นำพยานเข้าสืบ.หรือบัญญัติว่าจะเอาคำเบิกความของพยานนั้นหรือคำเบิกความของจำเลยด้วยกันมาฟังเป็นประโยชน์แก่จำเลยที่ 2 ไม่ได้.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 351/2510 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความคดีชำระหนี้จากการส่งมอบช้างของกลาง เริ่มนับแต่วันที่สั่งให้ส่งมอบ ชำระหนี้แบ่งแยกไม่ได้ ผลกระทบต่อจำเลยอื่น
จำเลยยื่นคำให้การต่อสู้คดีว่า คดีโจทก์ขาดอายุความแล้ว แม้ในชั้นอุทธรณ์จำเลยจะอุทธรณ์ว่าโจทก์หมดสิทธิเรียกร้องตามมาตรา 1374, 1375 และ 1382 ศาลอุทธรณ์ก็ชอบที่จะยกมาตรา 164 ขึ้นมาปรับแก่คดีได้ เพราะจำเลยได้บรรยายข้อเท็จจริงในอุทธรณ์ไว้โดยชัดแจ้งแล้ว การจะปรับบทกฎหมายมาตราใดเป็นหน้าที่ของศาล
ผู้ว่าราชการจังหวัดตัวแทนโจทก์สั่งให้จำเลยส่งมอบข้างของกลางให้แก่อำเภอเพื่อขาดทอดตลาดตามพระราชบัญญัติรักษาช้างป่า พ.ศ. 2464 อายุความต้องเริ่มนับแต่ พ.ศ. 2494 อันเป็นวันที่สั่งให้จำเลยส่งมอบ เพราะตั้งแต่วันที่สั่งให้ส่งนั้น โจทก์มีสิทธิที่จะฟ้องร้องบังคับจำเลยได้แล้ว
โจทก์ฟ้องให้จำเลยร่วมกันส่งมอบช้างคืน มูลแห่งคดีเป็นการชำระหนี้ซึ่งแบ่งแยกจากกันมิได้ การที่จำเลยคนอื่นยื่นคำให้การต่อสู้เรื่องอายุความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 59(1) ให้ถือว่าจำเลยทำแทนซึ่งกันและกัน จำเลยอื่นจึงได้รับผลแห่งอายุความด้วย
ผู้ว่าราชการจังหวัดตัวแทนโจทก์สั่งให้จำเลยส่งมอบข้างของกลางให้แก่อำเภอเพื่อขาดทอดตลาดตามพระราชบัญญัติรักษาช้างป่า พ.ศ. 2464 อายุความต้องเริ่มนับแต่ พ.ศ. 2494 อันเป็นวันที่สั่งให้จำเลยส่งมอบ เพราะตั้งแต่วันที่สั่งให้ส่งนั้น โจทก์มีสิทธิที่จะฟ้องร้องบังคับจำเลยได้แล้ว
โจทก์ฟ้องให้จำเลยร่วมกันส่งมอบช้างคืน มูลแห่งคดีเป็นการชำระหนี้ซึ่งแบ่งแยกจากกันมิได้ การที่จำเลยคนอื่นยื่นคำให้การต่อสู้เรื่องอายุความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 59(1) ให้ถือว่าจำเลยทำแทนซึ่งกันและกัน จำเลยอื่นจึงได้รับผลแห่งอายุความด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 351/2510
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
อายุความคดีชำระหนี้ช้างป่า: เริ่มนับแต่วันที่ผู้ว่าฯ สั่งให้ส่งมอบ, จำเลยที่ขาดนัดยื่นคำให้การได้รับผล
จำเลยยื่นคำให้การต่อสู้คดีว่า คดีโจทก์ขาดอายุความแล้วแม้ในชั้นอุทธรณ์จำเลยจะอุทธรณ์ว่าโจทก์หมดสิทธิเรียกร้องตามมาตรา 1374, 1375 และ1382 ศาลอุทธรณ์ก็ชอบที่จะยกมาตรา 164 ขึ้นมาปรับแก่คดีได้ เพราะจำเลยได้บรรยายข้อเท็จจริงในอุทธรณ์ไว้โดยชัดแจ้งแล้ว การจะปรับบทกฎหมายมาตราใดเป็นหน้าที่ของศาล
ผู้ว่าราชการจังหวัดตัวแทนโจทก์สั่งให้จำเลยส่งมอบช้างของกลางให้แก่อำเภอเพื่อขายทอดตลาดตามพระราชบัญญัติรักษาช้างป่า พ.ศ. 2464อายุความต้องเริ่มนับแต่ พ.ศ. 2494 อันเป็นวันที่สั่งให้จำเลยส่งมอบเพราะตั้งแต่วันที่สั่งให้ส่งนั้น โจทก์มีสิทธิที่จะฟ้องร้องบังคับจำเลยได้แล้ว
โจทก์ฟ้องให้จำเลยร่วมกันส่งมอบช้างคืน มูลแห่งคดีเป็นการชำระหนี้ซึ่งแบ่งแยกจากกันมิได้ การที่จำเลยคนอื่นยื่นคำให้การต่อสู้เรื่องอายุความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 59(1) ให้ถือว่าจำเลยทำแทนซึ่งกันและกัน จำเลยอื่นจึงได้รับผลแห่งอายุความด้วย
ผู้ว่าราชการจังหวัดตัวแทนโจทก์สั่งให้จำเลยส่งมอบช้างของกลางให้แก่อำเภอเพื่อขายทอดตลาดตามพระราชบัญญัติรักษาช้างป่า พ.ศ. 2464อายุความต้องเริ่มนับแต่ พ.ศ. 2494 อันเป็นวันที่สั่งให้จำเลยส่งมอบเพราะตั้งแต่วันที่สั่งให้ส่งนั้น โจทก์มีสิทธิที่จะฟ้องร้องบังคับจำเลยได้แล้ว
โจทก์ฟ้องให้จำเลยร่วมกันส่งมอบช้างคืน มูลแห่งคดีเป็นการชำระหนี้ซึ่งแบ่งแยกจากกันมิได้ การที่จำเลยคนอื่นยื่นคำให้การต่อสู้เรื่องอายุความตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 59(1) ให้ถือว่าจำเลยทำแทนซึ่งกันและกัน จำเลยอื่นจึงได้รับผลแห่งอายุความด้วย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 362/2507 เวอร์ชัน 2 คำพิพากษาฎีกานี้ มีเนื้อหาจากเว็บทางการหลายรูปแบบ
ชื่อเรื่องฎีกานี้ถูกสร้างโดย Ai ทางเว็บขอไม่รับรองความถูกต้อง โปรดตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำไปใช้
การยอมเสียสิทธิในการฟ้องจำเลยที่ 1 หลังศาลชั้นต้นตัดสินแล้ว ไม่อาจฎีกาใหม่ได้
โจทก์ฟ้องขอบังคับให้จำเลยที่ 1 (ตัวแทน) จำเลยที่ 2 (ตัวการ) ร่วมกันและแทนกันใช้เงินค่าสินค้าที่จำเลยที่ 1 ซื้อไปจากโจทก์ พร้อมด้วยดอกเบี้ยแก่โจทก์ ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จำเลยที่ 2 เท่านั้นใช้เงินค่าสินค้าแก่โจทก์พร้อมทั้งดอกเบี้ยส่วนฟ้งอของโจทก์สำหรับจำเลยที่ 1 ให้ยกเสียจำเลยที่ 2 เท่านั้นอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ให้ยกฟ้องของโจทก์สำหรับจำเลยที่ 2 ด้วย นอกจากที่แก้คงให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นดังนี้ โจทก์จะฎีกาขอให้จำเลยที่ 1 รับผิดตามฟ้องอีกหาได้ไม่ ต้องถือว่าคดีสำหรับจำเลยที่ 1 เป็นอันยุติลงตามกระบวนความเพียงแค่ศาลชั้นต้นไปแล้ว โจทก์คงฎีกาได้เฉพาะที่เกี่ยวกับจำเลยที่ 2 เท่านั้น